1 ระเบยี บการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ตามหลักสตู รโรงเรยี นปางศลิ าทองศึกษา พทุ ธศกั ราช 2552 (ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2562) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาช้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 โรงเรยี นปางศลิ าทองศกึ ษา สำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 41 สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
2 คำนำ โรงเรียนปางศิลาทองศึกษา เปน็ โรงเรยี นที่จดั ทำหลักสูตรสถานศึกษาขึ้นใชใ้ นปกี ารศึกษา 2552 โดยยึดหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ซง่ึ เป็นหลกั สูตรทใี่ ช้แน วคิดหลักสูตร อิงมาตรฐาน (Standard – based Curriculum) ระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรี ยน รู้ ของสถานศกึ ษา เป็นเอกสารประกอบหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 ทีจ่ ะช่วย ขบั เคล่อื นกระบวนการนำหลกั สตู รไปสู่การปฏิบัติใหเ้ ปน็ ไปอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ โรงเรยี นจงึ ไดจ้ ัดทำระเบยี บวา่ ด้วยการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ของโรงเรียนปางศลิ าทองศึกษา เพื่ออธิบายขยายความใหผ้ ู้เกี่ยวข้องทกุ ฝา่ ยตงั้ แต่ผู้บริหาร ครูผสู้ อน ผเู้ รยี นและผเู้ ก่ยี วข้อง มี ความเข้าใจท่ี ชัดเจน ตรงกันรวมทงั้ ร่วมกนั รบั ผดิ ชอบ และทำงานร่วมกันอยา่ งเป็นระบบ ประกอบด้วย 3 ตอน คือ ตอนท่ี 1 ระเบยี บสถานศกึ ษาวา่ ด้วยการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรโรงเรียน ปางศิลาทองศึกษา พทุ ธศักราช 2552 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2562) ตอนที่ 2 แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ตามหลักสูตร โรงเรียนปา งศิ ลาทอง ศกึ ษา พุทธศักราช 2552 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2562) ตอนท่ี 3 ตวั อย่างเอกสารหลักฐานทส่ี ถานศึกษาจัดทำ คณะผูจ้ ัดทำหวังเป็นอย่างย่งิ วา่ เอกสารระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ โร งเรียน ปางศลิ าทองศกึ ษา พุทธศกั ราช 2552 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2562) จะเปน็ ประโยชน์ตอ่ ผู้ท่ีเก่ียวข้องทุกฝ่ายท่ี จะช่วยสรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจ และปฏิบตั กิ ารวดั และประเมินผลผู้เรยี นเป็นแนวทางเดี ยวกัน และเป็น มาตรฐานเดียวกัน ส่งผลให้พัฒนาผู้เรียนได้ตามหลักการ เจตนารมย์ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร แกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ตอ่ ไป คณะผจู้ ดั ทำ
3 สารบัญ คำนำ 1 สารบญั 13 ตอนท่ี 1 ระเบยี บวา่ ดว้ ยการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสตู รโรงเรยี นปางศิลาทองศึกษา พุทธศักราช 2552 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2562) ตอนที่ 2 แนวปฏบิ ตั กิ ารวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ ตามหลกั สตู รโรงเรียนปางศิลาทองศกึ ษา พุทธศักราช 2552 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2562) ภาคผนวก - แบบฟอรม์ ต่างๆ
1 ระเบยี บว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ ตามหลักสูตรโรงเรยี นปางศลิ าทองศกึ ษา พุทธศกั ราช 2552 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2562)
2 ระเบยี บว่าด้วยการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ตามหลกั สูตรโรงเรยี นปางศลิ าทองศึกษา พุทธศกั ราช 2552 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2562) โดยที่โรงเรยี นปางศลิ าทองศึกษา ไดป้ ระกาศใชห้ ลกั สูตรโรงเรยี นปางศิลาทองศึกษา พทุ ธศักราช 2552 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2562) ตามคำสง่ั กระทรวงศึกษาธิการ ที่ สพฐ 293/2551 ลงวันท่ี 11 กรกฎาคม 2551 เรอ่ื ง ใหใ้ ชห้ ลักสูตร แกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และกระจายอำนาจให้ สถานศึกษากำหนดหลักสตู รสถานศึกษาขน้ึ ใช้เอง เพ่ือให้สอดคลอ้ งกบั คำสงั่ ดงั กลา่ ว ฉะน้นั อาศยั อำนาจตามความในมาตรา 21 และมาตรา 15 แหง่ พระราชบัญญตั ิระเบียบบรหิ าร ราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546 และคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โรงเรยี น ปางศลิ าทองศึกษา จงึ วางระเบยี บไวด้ ังตอ่ ไปนี้ ข้อ 1 ระเบยี บน้ีเรียกว่า “ระเบยี บว่าดว้ ยการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสตู รโรงเรยี น ปางศิลาทองศกึ ษา พุทธศักราช 2552 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2562) ขอ้ 2 ระเบียบนีใ้ ห้ใชบ้ งั คับต้งั แต่ปีการศกึ ษา 2562 เปน็ ตน้ ไป ข้อ 3 ใหย้ กเลกิ ระเบียบขอ้ บังคับหรอื คำส่ังอืน่ ใดในส่วนทกี่ ำหนดไวใ้ นระเบียบนี้ หรือซง่ึ ขดั หรือ แย้ง กับระเบยี บนี้ ใหใ้ ช้ระเบยี บนีแ้ ทน ข้อ 4 ระเบยี บน้ีให้ใชค้ วบคกู่ ับหลักสูตรโรงเรียนปางศิลาทองศึกษา พุทธศกั ราช 2552 (ปรบั ปรุง พ.ศ. 2562) ข้อ 5 ใหป้ ระธานคณะกรรมการสถานศกึ ษารักษาการใหเ้ ป็นไปตามระเบยี บน้ี หมวดท่ี 1 หลักการวดั และประเมินผลการเรียน ข้อ 6 การประเมินผลการเรียนใหเ้ ปน็ ไปตามหลกั การในตอ่ ไปน้ี 6.1 สถานศึกษาเป็นผู้รบั ผดิ ชอบประเมินผลการเรยี นของผูเ้ รยี นโดยความเหน็ ชอบของ คณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู รและวิชาการ 6.2 การวัดและประเมนิ ผลการเรียนต้องสอดคล้องและครอบคลุมมาตรฐานการเรยี นร้แู ละ ตวั ชว้ี ัดทก่ี ำหนดในหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และที่แก้ไขปรบั ปรุง 2561 6.3 การประเมนิ ผลการเรยี นตอ้ งประกอบดว้ ย การประเมินเพ่ือปรบั ปรุงพฒั นาผ้เู รยี น การ จัดการเรยี นการสอน และการประเมนิ ผลเพอ่ื ตัดสินผลการเรียน 6.4 การประเมินผลเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการจัดการเรียนการสอนต้องดำเนนิ การ ดว้ ยวธิ ีการท่ีหลากหลาย เหมาะสมกับสงิ่ ทต่ี ้องการวัด ธรรมชาติของรายวิชา และระดับชัน้
3 6.5 ใหม้ ีการประเมินความสามารถของผู้เรยี นในการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และ เขียนในแตล่ ะ ชั้น 6.6 ให้มกี ารประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคข์ องผเู้ รยี นในแต่ละช้นั 6.7 ให้มกี ารประเมนิ คณุ ภาพผเู้ รยี นในระดบั ชาตใิ นแตล่ ะชว่ งช้ัน 6.8 เปดิ โอกาสให้ผเู้ รียนตรวจสอบผลการประเมนิ การเรียนได้ 6.9 ใหม้ ีการเทยี บโอนผลการเรียนระหวา่ งสถานศกึ ษาและรูปแบบการศึกษาตา่ ง ๆ หมวดที่ 2 วิธีการวดั และประเมินผลการเรียน ข้อ 7 การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ เปน็ กระบวนการทใี่ หผ้ สู้ อนใชพ้ ฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี น เพอื่ ให้ ได้ขอ้ มลู สารสนเทศ ท่ีแสดงพฒั นาการความกา้ วหนา้ และความสำเรจ็ ทางการเรยี นของผ้เู รยี น ให้ เป็นการ ประเมนิ เพือ่ ปรับปรงุ การเรยี นมากกวา่ การตดั สนิ ผลการเรยี น ประกอบด้วย 7.1 การประเมนิ ผลระดับช้ันเรียนเป็นการวดั ความกา้ วหน้าทั้งด้านความรู้ ทักษะ กระบวนการ คุณธรรม จริยธรรม และคา่ นิยมท่พี ึงประสงค์ 7.2 การประเมินผลระดบั สถานศึกษาเพือ่ ตรวจสอบความกา้ วหนา้ การเรียนรู้เปน็ รายปี และชว่ งชั้น สำหรับสถานศึกษานำข้อมลู ที่ไดใ้ ช้เปน็ แนวทางในการปรบั ปรงุ และการพฒั นาการเรยี นการ สอน และคณุ ภาพของผ้เู รยี นใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐานการเรยี นรู้ รวมทั้งพจิ ารณาตดั สินการเลอ่ื นช่วงช้นั 7.3 การประเมินผลระดับเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษา เป็นการประเมินด้วยแบบประเมนิ ผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรยี นที่เปน็ มาตรฐาน เพือ่ ตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาและคุณภาพ การศึกษาของ ชาติ สำหรับนำผลการประเมนิ ไปวางแผนดำเนินการปรับปรุงแก้ไขการจัดการเรยี นการสอน และพัฒนาการ ผู้เรียนให้ไดม้ าตรฐาน 7.4 การประเมนิ ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นระดับชาติ เป็นการประเมนิ ดว้ ยแบบประเมิน ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนที่เปน็ มาตรฐานระดบั ชาติ เพอ่ื ตรวจสอบคุณภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษาและ คุณภาพการศึกษาของชาติ สำรับนำผลการประเมินไปวางแผนดำเนนิ การปรับปรุงแก้ไขการจดั การเรียน การ สอน และพัฒนาการเรียนใหไ้ ด้มาตรฐาน 7.5 การประเมินเพือ่ ตดั สินผลการเรยี น เปน็ การประเมนิ เพื่อสรุปความสำเรจ็ ในการเรยี นรู้ ของผู้เรยี นในการจบช่วงชน้ั และจบหลกั สตู รการศกึ ษาในระดบั ตา่ ง ๆ ซึง่ จะทำใหผ้ เู้ รียนได้รบั การรบั รอง ความรแู้ ละวฒุ กิ ารศึกษาจากสถานศกึ ษา ข้อ 8 แนวดำเนินการประเมนิ ผลการเรยี นของสถานศกึ ษา เพอ่ื ให้การวดั และประเมินผลการเรยี นของสถานศึกษาสอดคล้องกับหลกั สูตรแกนกลาง การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 มีการดำเนินการตามหลักการกระจายอำนาจมกี ารประเมินผเู้ รียน ตามหลักการวัดและประเมนิ ผลการเรียน มีการตรวจสอบและกำกบั ติดตามประเมินคุณภาพการประเมนิ ผล การเรียนอยา่ งเป็นระบบและมปี ระสทิ ธภิ าพ จึงกำหนดแนวดำเนนิ การวัดและประเมนิ ผลการเรียนของ สถานศึกษา ดงั น้ี 8.1 สถานศึกษาโดยคณะกรรมการบรหิ ารหลกั สูตรและวชิ าการของสถานศึกษา โดย
4 ความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน กำหนดรปู แบบ ระบบและระเบยี บ ประเมนิ ผลของ สถานศกึ ษา เพ่อื ใชเ้ ปน็ แนวปฏิบัติในการประเมินผลการเรยี นของสถานศึกษา 8.2 สถานศึกษาโดยคณะกรรมการบริหารหลกั สูตรและวชิ าการของสถานศกึ ษา กำหนด ตัวช้วี ัดในแตล่ ะรายวชิ า และแต่ละกลุม่ สาระการเรยี นรูโ้ ดยวิเคราะหจ์ ากมาตรฐานการเรยี นรู้ คุณลักษณะ อันพงึ ประสงคแ์ ละมาตรฐานการอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขยี นและหลกั สูตรระดบั ทอ้ งถิน่ เพ่อื ใชเ้ ปน็ เป้าหมายในการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้รายภาค 8.3 คณะอนุกรรมการระดบั กลุม่ วชิ าให้ความเหน็ ชอบของรูปแบบ วธิ กี าร เครือ่ งมือ สำหรับ การประเมนิ และผลการตดั สนิ การประเมินผลการเรียนรายวชิ าของผสู้ อน 8.4 ผูส้ อนจดั การเรียนการสอน ตรวจสอบพฒั นาการของผู้เรยี น และประเมินสรุป ผลสัมฤทธิข์ องผู้เรียนด้วยวธิ ีการหลากหลายตามสภาพจรงิ โดยนำตัวช้ีวดั ไปใชเ้ ป็นขอ้ มูลรวมกบั การ ประเมนิ ปลายภาค 8.5 หัวหน้าสถานศกึ ษาอนมุ ตั ผิ ลการเรียนปลายภาค และการผา่ น จบการศึกษา 8.6 สถานศกึ ษาจัดทำรายงานผลการดำเนนิ การประเมินผลการเรียนประจำปี โดยความ เหน็ ชอบของคณะกรรมการบรหิ ารหลกั สูตรและวชิ าการของสถานศึกษา เสนอต่อคณะกรรมการสถานศึกษา ขน้ั พ้ืนฐาน ขอ้ 9 ให้มีการประเมินผลการเรยี นในดา้ นตา่ ง ๆ ประกอบดว้ ย 9.1 การประเมนิ ผลการเรียนในแต่ละรายวิชาของแต่ละกลุ่มสาระการเรยี นรู้ซึ่งสถานศึกษา วเิ คราะห์จากมาตรฐานการเรยี นรู้ และตวั ชว้ี ัด การประเมนิ รายวชิ าให้ตดั สนิ ผลการประเมินเปน็ ระดับผล การ เรยี น 8 ระดับ ดังน้ี “4” หมายถึง ผลการเรยี นดีเยี่ยม “3.5” หมายถึง ผลการเรียนดมี าก “3” หมายถึง ผลการเรยี นดี “2.5” หมายถงึ ผลการเรยี นคอ่ นขา้ งดี “2” หมายถึง ผลการเรียนนา่ พอใจ “1.5” หมายถึง ผลการเรยี นพอใช้ “1” หมายถึง ผลการเรียนผา่ นเกณฑข์ ัน้ ต่ำทก่ี ำหนด “0” หมายถึง ผลการเรยี นตำ่ กว่าเกณฑ์ข้นั ตำ่ ที่กำหนด 9.2 การประเมนิ กิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี น ประกอบด้วย กจิ กรรมแนะแนว กจิ กรรมนักเรยี น และกจิ กรรมบำเพญ็ เพ่อื สาธารณประโยชน์ การรว่ มกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น เป็นการประเมินความสามารถ และพฒั นาการของผู้เรยี น ในการเขา้ รว่ มกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี นในแต่ละภาคเรียนตาม เกณฑ์ของแตล่ ะ กจิ กรรม และตัดสนิ ผลการประเมนิ เป็น 2 ระดบั ดังน้ี “ผา่ น” หมายถงึ ผ่านเกณฑ์ท่ีสถานศกึ ษากำหนด “ไม่ผา่ น” หมายถงึ ไมผ่ ่านเกณฑท์ ีส่ ถานศึกษากำหนด 9.3 การประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ เปน็ การประเมินพฒั นาทางดา้ นคณุ ธรรม
5 จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงคข์ องผเู้ รียน ตามคุณลกั ษณะท่ีสถานศกึ ษากำหนด การ ประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงคจ์ ะประเมนิ เป็นรายคุณลักษณะทุกภาคเรียน และตดั สนิ ผลการประเมิน เป็น 4 ระดบั ดงั น้ี ดีเย่ยี ม หมายถงึ ผเู้ รียนมพี ฤตกิ รรมตามตวั บง่ ชี้ผ่านเกณฑ์ รอ้ ยละ 80 - 100 ของจำนวนตวั บง่ ช้ีคณุ ลักษณะนัน้ ๆ แสดงวา่ ผเู้ รยี นมคี ุณลกั ษณะนนั้ ๆ จนสามารถเป็นแบบอย่างแก่ผอู้ ่นื ได้ ดี หมายถงึ ผู้เรยี นมพี ฤติกรรมตามตวั บง่ ช้ีผา่ นเกณฑ์ รอ้ ยละ 65 – 79 ของจำนวนตวั บ่งช้คี ณุ ลักษณะนนั้ ๆ แสดงว่าผเู้ รียนมีคณุ ลกั ษณะ นัน้ ๆ ด้วยการปฏิบตั ดิ ว้ ยความเตม็ ใจ ผ่าน หมายถงึ ผ้เู รยี นมพี ฤตกิ รรมตามตวั บ่งช้ผี ่านเกณฑ์ ร้อยละ 50 – 64 ของจำนวนตวั บ่งชคี้ ุณลกั ษณะนนั้ ๆ ได้ปฏบิ ตั ิตนด้วยความ พยายามปฏบิ ตั ิตนตามคำแนะนำ ไม่ผ่าน หมายถึง ผเู้ รยี นมพี ฤติกรรมตามตวั บง่ ช้ีผ่านเกณฑ์ ต่ำกวา่ ร้อยละ 50 ของจำนวนตัวบง่ ช้ใี นคุณลกั ษณะนั้น แสดงว่าผเู้ รียนมีคณุ ลกั ษณะ น้ัน ๆ ตอ้ งมผี ู้อ่ืนคอยกระตนุ้ เตือน เมื่อเลื่อนช้นั จะพจิ ารณาจากผลการประเมนิ ดีเย่ียม, ดี, ผา่ น โดยตอ้ งมผี ลการ ประเมนิ อย่ใู นระดบั “ผา่ น” ข้ึนไป 9.4 การประเมินความสามารถอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียน เปน็ การประเมนิ ทกั ษะการ คิด และการถา่ ยทอดความคดิ ดว้ ยทกั ษะการอา่ น การคดิ วเิ คราะห์ ตามเงอ่ื นไข และวธิ ีการท่สี ถานศกึ ษา กำหนดและตัดสนิ ผลการประเมินเปน็ 4 ระดบั ดงั นี้ ระดับ 3 หมายถงึ ดเี ยีย่ ม ระดับ 2 หมายถึง ดี ระดบั 1 หมายถึง ผ่าน ระดับ 0 หมายถงึ ไม่ผ่าน เมื่อเลือ่ นชัน้ จะพิจารณาจากผลการประเมนิ ดีเยี่ยม, ดี, ผ่าน โดยต้องมีผลการ ประเมินอยู่ในระดับ “ผ่าน”ข้ึนไป 9.5 การตัดสนิ ผลการเรยี นเลื่อนชน้ั เปน็ การนำผลการประเมินในด้านตา่ ง ๆ มาประมวล สรปุ เพอ่ื ตดั สนิ ใหผ้ ูเ้ รียนผ่านระดบั ต่าง ๆ ตามเกณฑก์ ารตดั สนิ ผลการเรยี นแต่ละระดบั ช้นั ขอ้ 10 เกณฑ์การตัดสนิ ผลการเรียนจบหลักสตู รสถานศึกษาเพ่อื ใหผ้ เู้ รียนหลักสตู รการศึกษา ขั้นพืน้ ฐานทผี่ า่ นการศึกษาแตล่ ะช้นั และจบหลกั สูตรสถานศกึ ษาครบถ้วนตามโครงสร้างของหลักสูตรของ สถานศกึ ษา และมีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษา จึงกำหนดเกณฑ์การตดั สนิ ผลการเรยี น การจบหลักสูตร การศึกษาภาคบงั คบั ไว้ดังนี้ 10.1 เกณฑก์ ารจบระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น (1) ผเู้ รยี นเรียนรายวชิ าพ้นื ฐานและเพมิ่ เตมิ โดยเป็นรายวชิ าพน้ื ฐาน 66 หน่วยกติ
6 และรายวชิ าเพม่ิ เติมไม่น้อยกวา่ 15 หนว่ ยกติ (2) ผเู้ รียนต้องได้หนว่ ยกิต ตลอดหลักสูตรไม่นอ้ ยกว่า 77 หนว่ ยกิต โดยเป็น รายวชิ าพื้นฐาน 66 หนว่ ยกิต และรายวิชาเพ่ิมเติม ไมน่ อ้ ยกวา่ 11 หนว่ ยกิต (3) ผู้เรียนมผี ลการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขยี น ในระดับ \"ผา่ น\" หรอื \"ดี\" หรือ \"ดีเยี่ยม\" (4) ผเู้ รียนมผี ลการประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับ \"ผ่าน\" หรือ \"ด\"ี หรอื \"ดีเย่ยี ม\" (5) ผู้เรยี นเขา้ ร่วมกิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี นและมผี ลการประเมนิ เปน็ \"ผ\" ทกุ กิจกรรม 10.2 เกณฑก์ ารจบระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย (1) ผเู้ รยี นเรียนรายวิชาพ้นื ฐานและเพม่ิ เติม โดยเปน็ รายวิชาพื้นฐาน 41 หนว่ ยกิต และรายวิชาเพ่มิ เติม ไม่นอ้ ยกว่า 40 หน่วยกติ (2) ผเู้ รียนตอ้ งไดห้ น่วยกิต ตลอดหลกั สตู รไมน่ อ้ ยกวา่ 77 หนว่ ยกิต โดยเป็น รายวิชาพ้ืนฐาน 41 หนว่ ยกติ และรายวิชาเพ่ิมเตมิ ไม่นอ้ ยกวา่ 36 หน่วยกิต (3) ผู้เรยี นมผี ลการประเมนิ การอา่ น คิดวเิ คราะหแ์ ละเขยี น ในระดบั \"ผ่าน\" หรอื \"ด\"ี หรอื \"ดีเยี่ยม\" (4) ผเู้ รยี นมผี ลการประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ในระดับ \"ผา่ น\" หรือ \"ดี\" หรือ \"ดเี ยี่ยม\" (5) ผู้เรยี นเข้าร่วมกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียนและมผี ลการประเมินเปน็ \"ผ\" ทุกกจิ กรรม หมวดท่ี 3 เกณฑ์การวัดและประเมนิ ผลการเรียน ขอ้ 11 การตัดสนิ ผลการเรยี นให้ถอื ปฏบิ ัติดังน้ี 11.1 พจิ ารณาตดั สินวา่ ผเู้ รยี นผา่ นเกณฑ์การประเมินรายวิชาตามกลมุ่ สาระการเรยี นรทู้ ั้ง 8 กลมุ่ และไดร้ ับผลการเรยี น 1 ถึง 4 11.2 การตดั สนิ พจิ ารณาวา่ ผ้เู รียนจะนบั จำนวนช่วั โมง / จำนวนหนว่ ยกติ จะตอ้ งได้รบั ผล การเรียน 1 ถึง 4 11.3 ไดร้ บั การประเมินการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขยี น เปน็ รายภาค และนำไปตดั สิน การเลื่อนชั้น โดยถ้าผา่ นเกณฑ์ท่สี ถานศึกษากำหนดใหไ้ ด้ผลการประเมินเปน็ ดีเยยี่ ม ดี และผ่าน ถา้ ไม่ ผ่าน เกณฑ์การประเมนิ ใหไ้ ดผ้ ลการประเมนิ “ไมผ่ า่ น” 11.4 ไดร้ บั การประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนเป็นรายภาค และนำไป ตดั สิน การเลอ่ื นชน้ั โดยถ้าผา่ นเกณฑท์ ี่สถานศึกษากำหนดใหไ้ ด้ผลการประเมินเป็นดเี ยย่ี ม ดี และผ่าน ถ้า ไม่ผา่ น เกณฑ์การประเมนิ ให้ได้ผลการประเมินเปน็ “ไม่ผา่ น” 11.5 ไดร้ บั การตดั สนิ การเข้ารว่ มกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียนเปน็ รายภาคโดยถา้ ผ่านเกณฑ์การ ประเมนิ ให้ได้ผลประเมินเปน็ “ผ” และถา้ ไมผ่ า่ นเกณฑใ์ ห้ผลประเมินได้ “มผ” 11.6 วดั ผลปลายภาคเฉพาะผ้มู เี วลาเรียนตลอดภาคเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลา
7 เรียนในรายวิชานน้ั ให้อยู่ในดุลพินิจของคณะกรรมการกลุ่มสาระการเรียนรู้ เสนอผ่านคณะ กรรมการบริหาร หลกั สตู รและวิชาการเหน็ ชอบ และเสนอผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาอนุมัติ 11.7 ผู้เรียนทมี่ เี วลาเรียนไม่ถงึ ร้อยละ 80 ของเวลาเรียนในรายวชิ านั้น และไม่ได้รับการ ผอ่ นผนั ใหเ้ ขา้ รับการวดั ผลปลายภาคเรยี นใหไ้ ด้ผลการเรียน “มส” 11.8 ผเู้ รยี นท่มี ีผลการเรยี นต่ำกว่าเกณฑท์ ่สี ถานศกึ ษากำหนดให้ได้ระดับผลการเรียน “0” 11.9 ผ้เู รียนทที่ จุ รติ ในการสอบหรือทุจรติ ในงานที่มอบหมายใหท้ ำในรายวิชาใด ครั้งใด ก็ ตาม ใหไ้ ด้คะแนน “0” ในคร้งั นั้น 11.10 ผเู้ รียนท่ีไมไ่ ดว้ ดั ผลรายภาค ไมไ่ ดส้ ง่ งานทไี่ ด้รบั มอบหมายใหท้ ำ หรือมเี หตุ สุดวิสยั ที่ ทำใหป้ ระเมินผลการเรยี นไมไ่ ด้ ใหไ้ ดผ้ ลการเรียน “ร” กรณีทผ่ี ้เู รียนได้ผลการเรยี น “ร” เพราะไม่ส่งงานนัน้ จะต้องได้รบั ความเหน็ ชอบจาก คณะอนุกรรมการกลุ่มสาระการเรียนรู้ ขอ้ 12 การเปลีย่ นผลการเรยี นให้ถอื ปฏบิ ัติดังน้ี 12.1 การเปลยี่ นผลการเรียน “0” ควรจดั ใหม้ ีการสอนซ่อมเสรมิ ในตวั ชว้ี ดั ท่ผี เู้ รยี นสอบไม่ผ่านกอ่ น แล้วจงึ สอบแกต้ ัวให้ และ ให้สอบแกต้ วั ไดไ้ มเ่ กนิ 2 คร้งั ทงั้ น้ีตอ้ งดำเนนิ การให้เสร็จสิ้นภายในปกี ารศึกษานัน้ ถ้าผู้เรียนไมด่ ำเนนิ การสอบแก้ตวั ตามระยะเวลาทีก่ ำหนดไว้น้ี ให้อยู่ในดุลยพนิ จิ ของ สถานศึกษาท่ีจะพิจารณาขยายเวลาออกไปอีกไมเ่ กิน 1 ภาคเรียน ถา้ สอบแกต้ ัว 2 คร้ังแล้ว ยงั ไดร้ ะดบั ผลการเรียน “0” อีกให้แต่งตง้ั คณะกรรมการ ดำเนินการเกยี่ วกับการแก้ผลการเรียนของผู้เรียนโดยปฏบิ ตั ิดงั น้ี 1) ให้เรียนซ้ำรายวชิ าถา้ เป็นรายวชิ าพื้นฐาน 2) ใหเ้ รียนซ้ำหรอื เปลย่ี นรายวชิ าเรยี นใหม่ ถ้าเปน็ รายวชิ าเพ่มิ เติม โดยใหอ้ ย่ใู น ดลุ ยพนิ จิ ของสถานศกึ ษา ในกรณที ีเ่ ปลยี่ นรายวิชาเรยี นใหม่ ให้หมายเหตใุ นระเบยี นแสดงผลการเรยี นวา่ เรียนแทน รายวิชาใด 12.2 การเปลีย่ นผลการเรยี น “ร” การเปลีย่ นผลการเรยี น “ร” มี 2 กรณี ดงั น้ี 1) มเี หตุสดุ วสิ ยั ทำให้ ประเมินผลการเรยี นไม่ได้ เช่น เจ็บปว่ ย เมอื่ ผเู้ รียนไดเ้ ข้า สอบ หรอื สง่ ผลงานท่ตี ดิ คา้ งอยู่เสร็จเรยี บร้อย หรือแก้ปญั หาเสร็จส้นิ แล้ว ใหไ้ ดร้ ะดับผลการเรยี นตามปกติ (ต้งั แต่ 0 – 4) 2) ถา้ สถานศึกษาพิจารณาแลว้ เหน็ ว่า ไมใ่ ชเ่ หตสุ ุดวสิ ยั เมือ่ ผเู้ รียนได้เข้าสอบ หรือ สง่ ผล งานทตี่ ดิ ค้างอย่เู สรจ็ เรียบร้อย หรอื แกป้ ัญหาเสร็จสน้ิ แลว้ ใหไ้ ดร้ ะดบั ผลการเรียนไมเ่ กนิ “1” การเปลีย่ นผลการเรยี น “ร” ให้ดำเนนิ การแก้ไขตามสาเหตุใหเ้ สร็จสิน้ ภายในปกี ารศึกษา นน้ั ถ้าผเู้ รียนไม่มา ดำเนนิ การแก้ “ร” ตามระยะเวลาท่ีกำหนดไว้ใหเ้ รียนรายวชิ า ยกเว้นมเี หตุสุดวสิ ัย ใหอ้ ย่ใู นดุลยพนิ จิ ของ สถานศึกษาท่จี ะขยายเวลาการแก้ “ร” ออกไปอกี ไม่เกนิ 1 ภาคเรียนแต่เม่ือพ้น กำหนดนี้แล้วใหป้ ฏบิ ตั ิดงั นี้ (1) ใหเ้ รียนซ้ำรายวชิ า ถา้ เป็นรายวิชาพน้ื ฐาน
8 (2) ให้เรยี นซ้ำหรือเปลย่ี นรายวชิ าเรียนใหม่ ถ้าเป็นรายวิชาเพ่ิมเติม โดยให้อยูใ่ น ดุลย พินิจของสถานศกึ ษา ในกรณที เี่ ปลย่ี นรายวิชาเรียนใหม่ ให้หมายเหตุในระเบียนแสดงผลการเรยี นว่า เรียนแทน รายวิชาใด 12.3 การเปล่ยี นผลการเรียน “มส” การเปลยี่ นผลการเรียน “มส” มี 2 กรณี ดังน้ี 1) กรณผี เู้ รียนไดผ้ ลการเรยี น “มส” เพราะมีเวลาเรียนไมถ่ ึงรอ้ ยละ 80 แตม่ เี วลา เรยี นไม่ น้อยกว่าร้อยละ 60 ของเวลาเรียนท้ังหมด ให้สถานศกึ ษาจดั ให้เรยี นเพมิ่ เตมิ โดยใช้ช่ัวโมงสอนซ่อม เสรมิ หรือเวลาวา่ ง หรือวนั หยดุ หรือมอบหมายงานให้ทำ จนมเี วลาเรยี นครบตามทกี่ ำหนดไวส้ ำหรบั รายวชิ า น้ันแลว้ จงึ ให้สอบเปน็ กรณีพิเศษ ผลการสอบแก้ “มส” ให้ได้ระดับผลการเรียนไม่เกนิ “1” การแก้ “มส” กรณีนใ้ี หก้ ระทำใหเ้ สร็จส้นิ ในปกี ารศึกษานัน้ ถ้าผูเ้ รยี นไมม่ าดำเนินการแก้ “มส” ตามระยะเวลาทกี่ ำหนด ไว้ น้ีใหเ้ รยี นซำ้ ยกเว้น มเี หตุสุดวสิ ัย ใหอ้ ย่ใู นดลุ ยพินจิ ของสถานศกึ ษาทจ่ี ะขยายเวลาการแก้ “มส” ออกไปอีก ไมเ่ กิน 1 ภาคเรียน แตเ่ มื่อพ้นกำหนดนี้แลว้ ใหป้ ฏิบตั ิดงั น้ี - ใหเ้ รยี นซ้ำรายวชิ า ถ้าเป็นรายวิชาพน้ื ฐาน - ให้เรียนซำ้ หรือเปลย่ี นรายวิชาเรียนใหม่ ถา้ เปน็ รายวชิ าเพ่ิมเติมโดยให้ อย่ใู นดลุ ยพินิจของสถานศกึ ษา 2) กรณผี ู้เรียนได้ผลการเรียน “มส” และมีเวลาเรียนนอ้ ยกว่าร้อยละ 60 ของเวลา เรียนทั้งหมด ให้สถานศกึ ษาจดั ให้เรยี นซำ้ ในรายวิชาพน้ื ฐานและรายวิชาเพ่มิ เตมิ หรือเปล่ียนรายวชิ าใหมไ่ ด้ สำหรับรายวิชาเพิ่มเติมเท่านัน้ ในกรณีทีเ่ ปลี่ยนรายวิชาเรียนใหม่ ใหห้ มายเหตุในระเบียนแสดงผลการเรยี นว่าเรียนแทน รายวิชาใด ในกรณีภาคเรียนที่ 2 หากผเู้ รยี นยังมผี ลการเรยี น “0” “ร” “มส” ให้ดำเนนิ การใหเ้ สรจ็ ส้ิน ก่อนเปดิ เรียนปีการศึกษาถดั ไป สถานศกึ ษาอาจเปดิ การเรียนการสอนในภาคฤดรู อ้ นเพ่อื แก้ไขผลการ เรยี นของ ผเู้ รยี นได้ ท้ังนี้ โดยสำนกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาต้นสังกดั ควรเป็นผูพ้ ิจารณาประสานให้มกี าร ดำเนนิ การ เรยี นการสอนในภาคฤดรู ้อนเพื่อแกไ้ ขผลการเรยี นของผู้เรียน 12.4 การเปล่ียนผลการเรียน “มผ” หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 กำหนดให้ผู้เรยี นเขา้ ร่วม กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น 3 กิจกรรม คือ 1) กจิ กรรมแนะแนว 2) กิจกรรมนกั เรยี น ซงึ่ ประกอบดว้ ย กิจกรรม ลกู เสือ เนตรนารี ยวุ กาชาด ผู้บำเพญ็ ประโยชน์ หรอื กิจกรรมชมรม โดยผ้เู รยี นเลือกอย่างใด อยา่ งหนงึ่ 1
9 กจิ กรรมและเลือกเขา้ รว่ มกจิ กรรมชมุ นุม หรือชมรมอีก 1 กิจกรรม 3) กิจกรรมเพ่ือสังคมและ สาธารณประโยชน์ ในกรณที ีผ่ ูเ้ รียนได้ผลการเรียน “มผ” สถานศกึ ษาตอ้ งจัดซ่อมเสรมิ ให้ผู้เรียนทำกิจกรรมจนครบ ตาม เวลาทก่ี ำหนด หรอื ปฏิบตั กิ จิ กรรมเพ่อื พฒั นาคุณลักษณะท่ีต้องปรบั ปรงุ แกไ้ ข แล้วจงึ เปลีย่ นผลการ เรียน จาก “มผ” เป็น “ผ” ทั้งนด้ี ำเนินการให้เสรจ็ สิ้นภายในปีการศึกษาน้ี ยกเวน้ มีเหตสุ ดุ วสิ ยั ให้อยใู่ น ดุลยพนิ ิจ ของสถานศกึ ษา 12.5 การเปล่ียนแปลงผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดบั “ไม่ผา่ น” ให้ คณะกรรมการประเมนิ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงคด์ ำเนินการจดั กิจกรรมซ่อมเสริม ปรับปรุงแกไ้ ข หรือ ตาม วธิ ีการที่คณะกรรมการกำหนด เพอ่ื ให้ผ้เู รยี นผ่านเกณฑ์ทสี่ ถานศึกษากำหนด ขอ้ 13. การตัดสินให้ผูเ้ รียนเลอื่ นชนั้ ซำ้ ช้นั ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น 1) ตัดสินผลการเรยี นเป็นรายวิชา ผเู้ รียนต้องมีเวลาเรียนตลอดภาคเรียนไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 80 ของเวลาเรยี นทั้งหมดในรายวิชานั้น ๆ 2) ผู้เรียนต้องไดร้ ับการประเมินทุกตวั ชีว้ ดั และผ่านตามเกณฑ์ทส่ี ถานศึกษากำหนด คือ ตวั ชี้วัด ท่ตี ้องผ่าน ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 60 ของแต่ละรายวชิ า 3) ผู้เรียนตอ้ งไดร้ ับการตัดสินผลการเรียนทุกรายวิชา 4) ผู้เรียนต้องไดร้ ับการประเมนิ และมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ทส่ี ถานศกึ ษากำหนด ในการ อา่ น คดิ วเิ คราะห์และเขียน คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ และกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น ถา้ ผเู้ รยี นไม่ผ่านให้ ดำเนนิ การสอนซอ่ มเสริม แลว้ ทำการประเมินจนผู้เรยี นสามารถผา่ นเกณฑก์ ารประเมินทีส่ ถานศกึ ษากำหนด 13.1 การเลอ่ื นชนั้ ผเู้ รียนจะได้รบั การตดั สินผลการเรยี นทุกภาคเรยี นและไดร้ บั การเลือ่ นชน้ั เม่อื สนิ้ ปี การศึกษาโดยมีคณุ สมบตั ติ ามเกณฑ์ ดังนี้ 1) รายวิชาพน้ื ฐาน ไดร้ ับการตัดสนิ ผลการเรยี นผา่ นทกุ รายวิชา 2) รายวชิ าเพิ่มเตมิ ไดร้ ับการตัดสินผลการเรยี นผ่านตามเกณฑท์ ีส่ ถานศกึ ษกำหนด 3) ผ้เู รยี นตอ้ งรบั การประเมนิ และมีผลการประเมนิ ผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษา กำหนดในการอา่ น คดิ วเิ คราะห์และเขยี น คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคแ์ ละกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น 4) ระดบั ผลการเรยี นเฉลี่ยในปกี ารศกึ ษานน้ั ควรไดไ้ ม่ตำ่ กว่า 1.00 ทั้งนี้รายวิชาใด ท่ีไม่ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ สถานศึกษาสามารถซอ่ มเสริมผเู้ รยี นใหไ้ ด้รับ การแกไ้ ขในภาคเรยี นถัดไป 13.2 การเรยี นซ้ำ สถานศกึ ษาจะจดั ใหผ้ เู้ รยี นเรียนซ้ำใน 2 กรณี ดังนี้ กรณที ี่ 1 เรยี นซ้ำรายวิชา หากผเู้ รียนได้รบั การสอนซ่อมเสริมและสอบแก้ตัว 2 ครงั้ แล้ว ไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ให้เรยี นรายวิชาน้นั ทัง้ น้ีให้อยู่ในดุลยพินจิ ของสถานศกึ ษาในการจดั ให้ เรียน ซ้ำในชว่ งใดช่วงหนึง่ ทสี่ ถานศกึ ษาเห็นว่าเหมาะสม เชน่ พักกลางวัน วันหยุด ช่ัวโมงว่างหลงั เลกิ เรียน ภาคฤดูร้อน เป็นต้น
10 กรณีท่ี 2 เรยี นซ้ำชัน้ มี 2 ลักษณะ คือ 1) ผูเ้ รียนมรี ะดับผลการเรียนเฉล่ียในปกี ารศึกษาน้ันตำ่ กว่า 1.00 และมี แนวโนม้ ว่าจะเปน็ ปัญหาตอ่ การเรยี นในระดับชน้ั ทสี่ ูงข้ึน 2) ผเู้ รยี นมผี ลการเรียน 0, ร, มส เกินครึ่งหน่ึงของรายวชิ าท่ลี งทะเบียน เรียนในปีการศึกษานน้ั ท้งั นหี้ ากเกดิ ลกั ษณะใดลักษณะหนง่ึ หรือท้งั 2 ลักษณะใหส้ ถานศึกษาแต่งตัง้ คณะกรรมการการพิจารณา หากเห็นวา่ ไม่มีเหตผุ ลอนั สมควรกใ็ หซ้ ้ำช้ัน โดยยกเลิกผลการเรยี นเดมิ และให้ ใช้ ผลการเรียนใหม่แทน หากพจิ ารณาแลว้ ไมต่ อ้ งเรียนซ้ำชนั้ ให้อยู่ในดุลยพินจิ ของสถานศกึ ษาในการแกไ้ ขผล การเรยี น 13.3 การสอนซอ่ มเสริม การสอนซ่อมเสริม เปน็ ส่วนหน่ึงของกระบวนการจัดการเรียนรแู้ ละเป็นการให้ โอกาสแก่ ผเู้ รยี นให้มีเวลาเรยี นรสู้ ิ่งต่าง ๆ เพิ่มขน้ึ จนสามารถบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ตัวชวี้ ดั ทก่ี ำหนด ไว้ การสอนซอ่ มเสรมิ เป็นการสอนกรณีพิเศษนอกเหนอื ไปจากการสอนตามแผนจดั การเรียนร้ปู กติเพือ่ แก้ไข ขอ้ บกพรอ่ งทพี่ บในผ้เู รยี น โดยจัดกระบวนการเรียนร้ทู ี่หลากหลายและคำนงึ ถึงความแตกต่างระหวา่ ง บุคคล ของผเู้ รียน การสอนซ่อมเสรมิ สามารถดำเนินการได้ในกรณีดงั ต่อไปนี้ 1) ผเู้ รยี นมีความรู้ ทักษะพ้ืนฐานไม่เพยี งพอท่จี ะศึกษาในแต่ละรายวชิ านน้ั ควร จัดการซ่อมเสรมิ ปรบั ความรู้ทักษะพ้ืนฐาน 2) การประเมนิ ระหว่างเรียน ผูเ้ รียนไม่สามารถแสดงความรู้ ทกั ษะกระบวนการ หรอื เจตคติ คณุ ลักษณะท่กี ำหนดไวต้ ามมาตรฐานการเรียนรู้ตวั ช้วี ดั 3) ผลการเรียนไม่ถึงเกณฑ์ และ/หรอื ตำ่ กว่าเกณฑ์การประเมนิ โดยผู้เรียนได้ระดบั ผล การเรยี น “0” ต้องจัดการสอนซอ่ มเสริมกอ่ นจะใหผ้ เู้ รยี นสอบแกต้ ัว 4) ผเู้ รียนมผี ลการเรียน ไมผ่ ่าน สามารถจดั สอนซ่อมเสรมิ ในภาคฤดรู ้อน ทัง้ น้ใี ห้ อยใู่ นดลุ ยพินิจของสถานศกึ ษา หมวดที่ 4 การเทียบโอนผลการเรียน ข้อ 14 การเทียบโอนผลการเรยี น เป็นการนำผลการเรยี นซ่งึ เป็นความรู้ ทกั ษะ และประสบการณ์ ของผูเ้ รียนทเี่ กดิ จากการศกึ ษาในระบบ การศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย มาประเมินเป็น ส่วนหนึง่ ของการศึกษาตามหลักสูตรใดหลักสูตรหน่ึง แนวการดำเนนิ การเทียบโอนผลการเรียนใหเ้ ป็นไปตาม ระเบยี บสถานศกึ ษาวา่ ดว้ ยการเทยี บโอนผลการเรยี น ดงั นี้ 14.1 ผ้ขู อเทียบโอนตอ้ งข้ึนทะเบยี นเปน็ นักเรียนของสถานศึกษา ท้ังนี้ โดยผู้ขอเทียบโอน จะต้องไม่เปน็ ผู้ท่ีกำลงั ศึกษาอยู่ในระบบ โดยสถานศกึ ษาดังกลา่ วดำเนนิ การเทียบโอนผลการเรียน ในภาค เรียนแรกทขี่ ึ้นทะเบียนเปน็ นกั เรยี น ยกเว้นกรณีมเี หตุจำเป็น
11 14.2 จำนวนสาระการเรียนรู้ รายวชิ า จำนวนหนว่ ยกติ ทจ่ี ะรบั เทยี บโอน และอายุของผล การเรียนที่จะนำมาเทยี บโอนใหอ้ ยใู่ นดุลพินิจของคณะกรรมการบริหารหลกั สตู รและวชิ าการของสถานศึกษา ทัง้ นเ้ี มอ่ื เทียบโอนแล้วต้องมเี วลาเรียนอย่ใู นสถานศึกษาทีจ่ ะรบั เทยี บโอนไมน่ อ้ ยกว่า 1 ภาคเรยี น 14.3 การเทยี บโอนผลการเรยี นใหด้ ำเนนิ การในรปู ของคณะกรรมการการเทยี บโอนผล การ เรยี นจำนวนไม่น้อยกวา่ 3 คนแต่ไม่เกิน 5 คน ข้อ 15 การเทียบโอนใหด้ ำเนนิ การดังนี้ 15.1 การเทียบระดับการศกึ ษา หมายถงึ การนำผลการเรยี น ความรแู้ ละประสบการณ์ที่ได้ จากการศกึ ษาตามอธั ยาศัย และการศกึ ษานอกระบบ ไม่แบ่งระดบั มาประเมนิ เพ่อื เทียบเท่าการศกึ ษาระดบั ใดระดับหนงึ่ มีแนวทางการเทยี บระดับการศกึ ษาดงั น้ี 1) ผขู้ อเทียบระดบั การศึกษาจะต้องไม่เปน็ ผ้ทู ่กี ำลังศึกษาอยู่ในสถานศึกษาใน ระบบ หรือสถานศึกษานอกระบบทีจ่ ัดการศึกษาเป็นระบบเดียวกันกบั การศึกษาในระบบ และเปน็ ผู้สำเรจ็ การศกึ ษาตามหลกั สตู รของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ในระดับท่ีต่ำกวา่ ระดบั การศกึ ษาทข่ี อเทียบ 1 ระดบั ผู้ไม่ เคยมวี ฒุ กิ ารศกึ ษาใด ๆ จะขอเทียบระดบั การศกึ ษาได้ไม่เกนิ ระดบั ประถมศึกษา 2) ใหส้ ถานศึกษาซ่ึงเปน็ ทีท่ ำการเทยี บระดับการศกึ ษา ดำเนินการเทียบระดบั ด้วย การประเมนิ ความรู้ความสามารถ และประสบการณข์ องผู้ขอเทยี บระดบั ด้วยวิธกี ารทห่ี ลากหลายท้ัง ดว้ ย การทดสอบ การประเมินแฟ้มผลงาน การสังเกตพฤตกิ รรมตา่ ง ๆ ใหค้ รอบคลมุ คุณลักษณะของผู้เรยี น ทงั้ ด้านพุทธิพสิ ัย จิตพิสัย และทักษะพสิ ัย ตามเกณฑม์ าตรฐานของหลกั สูตรที่ขอเทียบระดบั 3) ผ้ผู ่านการประเมนิ จะได้รบั หลกั ฐานแสดงผลการประเมนิ เทยี บระดับความรู้ และใบประกาศนียบัตรรบั รองระดบั ความร้ขู องกระทรวงศึกษาธกิ าร 15.2 การเทยี บโอนผลการเรียน หมายถงึ การนำผลการเรยี นซึ่งเปน็ ความรู้ทักษะ และ ประสบการณ์ของผู้เรยี นท่เี กิดจากการศกึ ษาในระบบ การศึกษานอกระบบ การศกึ ษาตามอัธยาศัย และผล การศกึ ษา จากต่างสถานศกึ ษามาประเมนิ เปน็ สว่ นหนง่ึ ของการศึกษา ตามหลกั สูตรใดหลักสูตรหนงึ่ ที่ กำลงั ศึกษา มีแนวการดำเนินการดงั นี้ 1) คณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตรและวิชาการของสถานศกึ ษากำหนดจำนวน รายวิชา จำนวนหนว่ ยกิต ทสี่ ถานศึกษาจาํ กดั ใหผ้ ู้เรียนสามารถขอเทยี บโอนไดใ้ นการศกึ ษาตามหลักสตู ร ของ สถานศกึ ษาแตล่ ะช่วงช้นั ทง้ั นผ้ี ้เู รยี นจะตอ้ งเหลือรายวชิ าที่จะตอ้ งศกึ ษาในสถานศึกษาอกี อยา่ งน้อย 1 ภาค เรียน พร้อมกบั การกำหนดแนวทางและวิธกี ารเทียบโอน ทั้งกรณเี ทียบโอนผลการเรยี นเดมิ ทผ่ี ู้เรียนศึกษา ก่อนเข้าศึกษาในสถานศกึ ษา และกรณเี ทยี บโอนผลการเรยี นทผี่ ้เู รยี นขออนญุ าตไปศึกษาตา่ งสถานศึกษา จะต้องจัดทำเปน็ ระเบยี บการเทียบโอนผลการเรยี นของสถานศกึ ษาใหส้ อดคล้องกับ กฎกระทรวงวา่ ดว้ ยการ เทียบโอนผลการเรียนดว้ ย 2) สถานศึกษาแต่งต้ังคณะกรรมการดำเนนิ การเทียบโอนผลการเรียนของ สถานศึกษาให้ปฏบิ ัตหิ น้าทก่ี ำหนดสาระ จดั สรา้ งเครื่องมือ สำหรับการเทียบโอนผลการเรียน และ ดำเนินการเทียบโอนผลการเรียน
12 3) คณะกรรมการดำเนนิ การเทียบโอนผลการเรียน ทำการเทียบโอนผลการเรยี น ให้ผู้เรียนในกรณตี อ่ ไปน้ี กรณกี ารเทียบโอนผลการเรยี นเดมิ ทเี่ รยี นศกึ ษามากอ่ นเข้าศกึ ษาในสถานศกึ ษา ใหด้ ำเนินการดังน้ี 1) ให้ดำเนินการใหเ้ สร็จในภาคเรียนแรกท่ผี เู้ รยี นเขา้ ศึกษาในสถานศึกษา 2) ใหเ้ ทียบโอนผลการเรียนเปน็ รายวิชา 3) ผเู้ รียนย่ืนคำรอ้ งเป็นลายลักษณอ์ ักษรขอเทียบความรู้ตามรายวิชาในหลักสูตร ของสถานศึกษา ตามจำนวนรายวชิ าทีส่ ถานศกึ ษากำหนดไวใ้ นระเบยี บการเทียบโอนผลการเรยี นของ สถานศึกษาให้ผู้เรียนย่ืนคำร้อง พร้อมเอกสารหลักสตู รทนี่ ำมาขอเทยี บ และเอกสารการศึกษาท่ีไดร้ บั มา (ถา้ ผเู้ รยี นม)ี 4) คณะกรรมการดำเนนิ การเทียบโอนผลการเรยี นพิจารณาหลักสตู รและหลักฐาน เอกสารเดิมของผูเ้ รยี น เพอื่ เปรียบเทยี บหลักสตู รทเ่ี รียนมากบั หลกั สตู รของสถานศึกษาในรายวชิ า ทข่ี อเทียบ ถา้ มจี ุดประสงคแ์ ละเนอ้ื หาสาระตรงกนั ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 60 ใหร้ บั เทียบโอนได้ และใหไ้ ด้ระดับผลการเรียน ตามที่ได้มาในกรณีทีผ่ ู้เรียนยา้ ยสถานศกึ ษา แต่ถ้าเปน็ กรณเี ทียบโอนผลการเรียนจากสถานศกึ ษาตา่ งระบบ ใหค้ ณะกรรมการดำเนินการเทียบโอนพิจารณาว่าควรยอมรบั ผลการเรยี นเดมิ หรือไม่ ถา้ ไม่ยอมรับก็ตอ้ ง ประเมนิ ให้ใหมด่ ้วยวธิ กี ารตา่ ง ๆ ท่ีเหมาะสม 5) คณะกรรมการดำเนินการเทียบโอนผลการเรียน จดั ใหม้ กี ารประเมินความรู้ ความสามารถ และประสบการณข์ องผ้เู รยี นใหม่ ตามตวั ช้วี ดั ของรายวชิ าทีผ่ ู้เรยี นขอเทียบในกรณีท่ีผ้เู รยี น ไม่ มเี อกสาร หลักฐานการศึกษาเดมิ มาแสดง หรอื หลกั สูตรทผ่ี ูเ้ รียนนำมาขอเทยี บโอนมคี วามสอดคลอ้ งกบั ตัวช้วี ดั และเนอ้ื หาสาระของหลกั สตู รทีข่ อเทยี บไมถ่ งึ ร้อยละ 60 ผ้เู รยี นท่ีผ่านการประเมนิ จะไดร้ บั การ เทยี บ โอนผลการเรยี นได้ โดยไดร้ ะดบั ผลการเรียนตามท่ีประเมินได้ สว่ นผู้ทีไ่ มผ่ า่ นการประเมนิ จะไม่ได้ รบั การ เทยี บโอนผลการเรยี น กรณีผูเ้ รียนขออนุญาตไปศกึ ษารายวชิ าใดรายวชิ าหนง่ึ ตา่ งสถานศกึ ษาหรือขอ ศึกษาด้วยตนเองใหด้ ำเนินการดังนี้ 1) ใหด้ ำเนินการโดยผ้เู รยี นย่ืนคำรอ้ งไปศกึ ษาต่างสถานที่หรอื ตา่ งรูปแบบต่อ คณะกรรมการเทียบโอนผลการเรียน ซ่งึ จะพจิ ารณาผลการเรยี นและความจำเปน็ ของผเู้ รียนตามระเบยี บการ จดั การศึกษา 3 รูปแบบ ของสถานศึกษาทจ่ี ะจดั การศึกษาในระบบ 2) รายวิชาที่ผู้เรียนขอไปศึกษาตา่ งสถานท่ี หรอื ตา่ งรูปแบบตอ้ งมจี ุดประสงค์ และ เนอื้ หาสาระสอดคล้องกบั รายวชิ าในหลกั สูตรของสถานศกึ ษาทจ่ี ะนำมาเทียบโอนไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 60 3) กรณผี เู้ รยี นขอไปศกึ ษาต่างสถานศึกษาหรอื ระบบที่มสี ถานศึกษาจัดการเรียน การสอนแน่นอน ถ้าเห็นควร อนุญาตใหไ้ ปเรียนได้ให้มกี ารประสานงาน เร่อื งการจดั การเรยี นการสอน การ ประเมนิ ผล และการรับโอนผลการเรียนกอ่ น เมือ่ ได้ตกลงรว่ มกนั เรียบร้อยแลว้ จึงจะอนญุ าตเม่ือศึกษาสำเร็จ ใหร้ บั โอนผลการเรียนไดท้ นั ที
13 4) กรณีผเู้ รยี นขออนุญาตศึกษาดว้ ยตนเอง หรือศกึ ษาในสถานศึกษาทไ่ี ม่สามารถ ติดต่อประสานได้ ถ้าคณะกรรมการพจิ ารณาความจำเปน็ แล้ว เหน็ ควรอนญุ าต เมอื่ ผเู้ รียนมารายงานผล การ เรียน ใหค้ ณะกรรมการดำเนินการเทียบโอนผลการเรยี นทำการเทียบโอนผลการเรียนให้ผู้เรียน เช่นเดยี วกนั กรณกี ารเทียบโอนผลการเรียนเดมิ ทีผ่ เู้ รยี นศกึ ษามาก่อนเข้าศกึ ษาในสถานศกึ ษา 5) คณะกรรมการดำเนนิ การเทยี บโอนผลการเรียน รายงานผลการเทียบโอนให้ คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สูตรและวชิ าการของสถานศึกษาใหค้ วามเห็นชอบ และเสนอผบู้ ริหาร สถานศึกษา อนมุ ตั ิผลการเทียบโอนผลการเรียน หมวดท่ี 5 เอกสารหลักฐานการศึกษา ขอ้ 16 ใหส้ ถานศกึ ษาจดั ให้มีเอกสารหลกั ฐานการประเมินผลการเรยี นตา่ ง ๆ ดังนี้ 16.1 ระเบียนแสดงผลการเรียน (Transcript) (ปพ. 1) เปน็ เอกสารบนั ทึกผลการเรยี นของ ผเู้ รยี นตามสาระการเรยี นรกู้ ลุ่มวิชาและกจิ กรรมตา่ ง ๆ ทีไ่ ด้เรียนในแต่ละชัน้ ของหลกั สตู รการศกึ ษาขั้น พื้นฐานเพื่อใหเ้ ปน็ หลกั ฐานแสดงสถานภาพและความสำเรจ็ ในการศึกษาของผูเ้ รียนแต่ละคนใชเ้ ป็น หลกั ฐาน ในการสมคั รเขา้ ศึกษาต่อทำงานหรือดำเนินการในเร่ืองอนื่ ทเี่ กย่ี วข้อง 16.2 หลักฐานแสดงวุฒกิ ารศึกษา (ใบประกาศนยี บัตร) (ปพ. 2) เป็นเอกสารทีส่ ถานศกึ ษา ออกใหก้ บั ผู้สำเร็จการศึกษาและรบั รองวฒุ ิการศกึ ษาของผเู้ รียน ให้ผูเ้ รยี นนำไปใชเ้ ป็นหลักฐาน แสดงระดบั วฒุ กิ ารศกึ ษาของตน 16.3 แบบรายงานผูส้ ำเร็จการศึกษา (ปพ.3) เปน็ แบบรายงานรายชือ่ ขอ้ มลู ของผูส้ ำเร็จ การศกึ ษาภาคบังคบั หลกั สูตรการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน เพ่ือใชเ้ ป็นหลกั ฐานสำหรับตรวจสอบยนื ยันและรบั รอง ความสำเร็จและวฒุ ิการศึกษาของผูส้ ำเร็จการศึกษาแต่ละคน ตอ่ เขตพนื้ ที่การศึกษาและกระทรวงศึกษาธิการ 16.4 แบบแสดงผลการพฒั นาคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ (ปพ.4) เปน็ เอกสารรายงาน พัฒนาการดา้ นคุณลกั ษณะของผเู้ รียนเกย่ี วกบั คุณธรรมจรยิ ธรรม ค่านิยม และคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคท์ ี่ สถานศกึ ษากำหนดขนึ้ เพอื่ พัฒนาผเู้ รียนเป็นพิเศษ เพ่อื การแก้ปญั หาหรือสร้างเอกลกั ษณ์ใหผ้ ู้เรยี นตาม วสิ ยั ทัศน์ของสถานศกึ ษา เปน็ การรายงานผลการประเมินท่ีแสดงถึงสภาพหรือระดับคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม หรอื คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ของผ้เู รียนในแต่ละชั้น สถานศึกษาตอ้ งจดั ทำเอกสารนใ้ี หผ้ ู้เรยี นทกุ ๆ คน ควบคกู่ บั ระเบียนแสดงผลการเรียนของผู้เรียน เพ่อื นำไปใช้เปน็ หลักฐานแสดงคณุ ลกั ษณะของ ผูเ้ รยี น เพ่อื ประกอบในการสมัครศกึ ษาตอ่ หรอื สมคั รทำงาน 16.5 แบบแสดงผลการพฒั นาคณุ ภาพของผู้เรยี น (ปพ. 5) เปน็ เอกสารสำหรับผู้สอนใช้ บนั ทึกเวลาเรียน ขอ้ มลู ผลการวัดและประเมนิ ผลการเรยี น ขอ้ มูลการพฒั นาคุณลกั ษณะอันพึงประสงคข์ อง ผู้เรียนแตล่ ะคนทีเ่ รยี นในหอ้ งเรยี นกลุม่ เดยี วกนั เพอ่ื ใช้เป็นข้อมูลในการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน ปรับปรุง แกไ้ ข ส่งเสริม และตดั สนิ ผลการเรยี นของผู้เรียน รวมท้งั ใชเ้ ปน็ หลกั ฐานสำหรับตรวจสอบ ยืนยนั สภาพการเรยี น การมีส่วนร่วมในกจิ กรรมต่าง ๆ และผลสมั ฤทธ์ิของผเู้ รยี นแต่ละคน
14 16.6 แบบรายงานผลการพฒั นาคุณภาพผเู้ รียนรายบุคคล (ปพ. 6) เปน็ เอกสารสำหรับ บันทกึ ขอ้ มูลเก่ยี วกับผลการเรยี น พัฒนาการในดา้ นต่าง ๆ และข้อมูลอ่ืน ๆ ของผ้เู รียน 16.7 ใบรบั รองผลการศึกษา (ปพ. 7) เปน็ เอกสารท่ีสถานศกึ ษาออกใหผ้ ูเ้ รยี นเปน็ การ เฉพาะกจิ เพ่อื รับรองสถานภาพทางการศึกษาของผ้เู รยี นเป็นการชัว่ คราว ทั้งกรณีผเู้ รยี นยงั ไมส่ ำเร็จ การศึกษาและสำเร็จการศึกษาแล้ว 16.8 ระเบยี นสะสม (ปพ. 8) เป็นเอกสารสำหรบั บนั ทึกขอ้ มลู เกย่ี วกบั พัฒนาการและ ผลงานด้านต่าง ของผู้เรียนท้ังที่สถานศกึ ษาและทบ่ี ้าน เพ่ือประโยชน์ในการแนะแนวผู้เรยี นในทุก ๆ ด้าน หมวดท่ี 6 บทเฉพาะกาล ขอ้ 17 ใหป้ ระธานคณะกรรมการบริหารหลกั สูตรและวิชาการของสถานศึกษารักษาการใหเ้ ปน็ ไป ตามระเบียบนี้ ข้อ 19 กรณมี ีการเปลี่ยนแปลงแก้ไข ให้เสนอคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐานอนุมัตแิ ละให้ ความ เห็นชอบกอ่ นนำไปใช้ ประกาศ ณ วันท่ี 10 เดอื น กันยายน พ.ศ. 2562 (นายชำนาญ แกว้ ทองดี) ประธานคณะกรรมการสถานศึกษา โรงเรยี นปางศิลาทองศึกษา
15 แนวปฏิบัตกิ ารวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ ตามหลักสตู ร โรงเรยี นปางศลิ าทองศกึ ษา พทุ ธศกั ราช 2552 (ปรบั ปรงุ 2562) สว่ นที่ 1 การประเมินผลการเรยี นรู้ 8 กลมุ่ สาระ ส่วนที่ 2 การประเมินกิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี น ส่วนที่ 3 การประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ส่วนที่ 4 การประเมนิ การอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียน ส่วนที่ 5 เกณฑก์ ารตดั สนิ การเล่อื นช้นั และจบหลกั สตู ร สว่ นท่ี 6 การประเมินผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นระดับชาติ
16 แนวปฏบิ ัติการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ เป้าหมายสำคญั ของการประเมินผลการเรียนหลกั สตู รสถานศกึ ษาตามแนวทางหลกั สูตรแกนกลาง การศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 คอื เพ่ือนำผลการประเมนิ ไปพัฒนาผเู้ รยี นใหบ้ รรลุมาตรฐานการ เรยี นรใู้ นแต่ละรายวิชา ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ โดยการนำผลการประเมนิ ไปใชเ้ ป็นข้อมลู ในการ ปรบั ปรุง แกไ้ ข สง่ เสรมิ การเรยี นรแู้ ละพัฒนาการของผูเ้ รียนโดยตรง นำผลไปปรับปรงุ แกไ้ ขผลการจัด กระบวนการเรยี นร้ใู ห้มีประสทิ ธภิ าพยิ่งขึ้น รวมทั้งนำไปใชใ้ นการพจิ ารณาตดั สินความสำเรจ็ ทางการ ศึกษา ของผเู้ รียน ตลอดจนความสำเร็จของผู้สอนอีกด้วย การวดั และประเมินผลการเรียนรตู้ ามหลกั สตู รโรงเรยี นปางศลิ าทองศกึ ษา พุทธศักราช 2552 (ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2562) ประกอบดว้ ย ส่วนท่ี 1 การประเมินผลการเรียนรตู้ ามกลุม่ สาระการเรยี นรู้ 8 กลุ่ม การประเมนิ ผลการเรียนรู้ตามกล่มุ สาระการเรยี นรทู้ ัง้ 8 กลมุ่ โรงเรยี น ไดด้ ำเนนิ การประเมนิ ผล ในลักษณะต่าง ๆ ดงั ต่อไปนี้ 1. การประเมนิ ผลก่อนเรยี น การประเมนิ ผลกอ่ นเรียน กำหนดใหค้ รผู สู้ อนในแตล่ ะรายวชิ าทุกกลมุ่ สาระการเรียนรทู้ ตี่ อ้ ง ประเมินผลก่อนเรียน เพ่อื หาสารสนเทศของผู้เรียนในเบือ้ งต้น สำหรบั นำไปจัดกระบวนการเรยี นร้ใู ห้ สอดคลอ้ งกบั พืน้ ฐานของผูเ้ รียน ตามแนวทางการจดั กระบวนการเรียนรทู้ ่ีเนน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคัญ แตจ่ ะไม่นำ ผลการประเมนิ นไ้ี ปใชใ้ นการพิจารณาตดั สนิ ผลการเรยี น การประเมนิ ผลก่อนเรียนประกอบด้วยการ ประเมิน ดังตอ่ ไปน้ี 1.1 การประเมนิ ความพร้อมและพื้นฐานของผูเ้ รียน เป็นการตรวจสอบความรู้ ทกั ษะ และความพรอ้ มตา่ ง ๆ ของผู้เรยี นทเ่ี ปน็ พ้ืนฐาน ของเร่อื งใหมๆ่ ที่ผู้เรยี นต้องเรียนโดยใช้วธิ ีการที่เหมาะสม เพอื่ จะได้ทราบวา่ ผเู้ รียนมคี วามพร้อมและพนื้ ฐาน ทจี่ ะเรียนทุก คนหรอื ไม่ แลว้ นำผลการประเมินมาปรบั ปรุง ซอ่ มเสริม หรอื เตรียมผเู้ รียนใหม้ คี วามพร้อมและ พืน้ ฐาน พอเพยี งทุกคนซงึ่ จะช่วยใหผ้ ้เู รยี นประสบความสำเรจ็ ในการเรียนไดเ้ ป็นอย่างดี การประเมินพ้นื ฐาน และความพร้อมของผเู้ รียนก่อนเรยี น จึงมคี วามสำคญั และจำเปน็ ที่ผสู้ อนทุกคนจะต้องดำเนินการ เพอ่ื เตรยี ม ผ้เู รยี นให้มีความพร้อมในการเรยี นทกุ ครั้งจะทำใหก้ ารเรียนการสอนเปน็ ไปอย่างมีประสทิ ธิภาพ และสามารถ คาดหวงั ความสำเร็จได้อย่างแนน่ อน การประเมินความพรอ้ มและพ้นื ฐานของผู้เรยี นกอ่ นเรียนมีแนวปฏบิ ตั ิ ดงั นี้ 1) วเิ คราะห์ความรู้และทกั ษะทเี่ ปน็ พ้ืนฐานก่อนเรยี น 2) เลอื กวธิ ีการและจดั ทำเคร่อื งมือสำหรบั ประเมินความรู้ และทักษะพ้ืนฐานอยา่ ง เหมาะสมและมี ประสทิ ธิภาพ
17 3) ดำเนินการประเมินความร้แู ละทักษะพน้ื ฐานของผู้เรียน 4) นำผลการประเมนิ ไปดำเนินการปรบั ปรงุ ผูเ้ รียนใหม้ ีความรู้และทักษะพนื้ ฐาน อย่างพอเพียงก่อน ดำเนนิ การสอน 5) จดั การเรียนการสอนในเรื่องทีจ่ ัดเตรยี มไว้ 1.2 การประเมินความรอบรใู้ นเรอ่ื งท่จี ะเรียนก่อนการเรยี น เป็นการประเมนิ ผู้เรียนในเรื่องที่จะทำการสอน เพือ่ ตรวจสอบว่าผ้เู รียนมีความรู้ และทักษะในเรอื่ ง ที่จะเรียนน้ันมากน้อยเพยี งไร เพื่อนำไปเปน็ ข้อมูลเบ้อื งต้นของผูเ้ รยี นแตล่ ะคนว่า เร่มิ ต้น เรียนเร่ืองน้ัน ๆ โดยมคี วามรู้เดิมอยู่เทา่ ไรเพอื่ จะได้นำไปเปรยี บเทียบกับผลการเรยี นภายหลงั การเขา้ รว่ ม กจิ กรรมการเรยี น ตามแผนการเรยี นร้แู ล้ว ว่าเกดิ พฒั นาการหรือเกดิ การเรียนร้เู พ่มิ ขนึ้ หรอื ไม่เพยี งไร ซ่ึงจะ ทำใหท้ ราบถงึ ศกั ยภาพในการเรียนรู้ของผู้เรยี น และประสทิ ธภิ าพในการจดั กจิ กรรมการเรียน ซงึ่ จะใช้เปน็ ประโยชนใ์ น การสนองตอบการเรียนรู้ของผู้เรยี นแต่ละคนแต่ละกล่มุ ต่อไป แตป่ ระโยชนท์ ่ีเกิดขึ้นในเบอ้ื งต้น ของการ ประเมินผลกอ่ นเรียน ก็คือผูส้ อนสามารถนำผลการประเมนิ ไปใช้เปน็ ขอ้ มูลในการจดั เตรยี ม วิธกี าร จดั กิจกรรมการเรยี นใหส้ อดคล้องกับความรู้เดิมของผู้เรยี นว่าต้องจัดอยา่ งเข้มข้นหรอื มากน้อยเพยี งไร จงึ จะ ทำใหแ้ ผนการเรยี นรมู้ ีประสทิ ธิภาพ สามารถทำให้ผเู้ รียนเกดิ การเรยี นรแู้ ละพัฒนาการตา่ ง ๆ ตามตวั ชวี้ ัด ด้วยกนั ทกุ คน ในขณะที่ไม่ทําให้ผ้เู รยี นมพี นื้ ความรู้เดิมอยู่แล้วเกิดความรู้สึกเบือ่ หน่าย และเสียเวลาเรยี น ใน สง่ิ ทต่ี นรแู้ ล้ว การประเมนิ ความรอบรู้กอ่ นเรียนมขี นั้ ตอนการปฏิบตั เิ หมือนกบั การประเมินความพรอ้ ม และ พน้ื ฐานของผเู้ รียนต่างกันเฉพาะความรู้ ทกั ษะท่จี ะประเมินเทา่ น้นั 2. การประเมนิ ระหว่างเรยี น การประเมินระหว่างเรยี นเปน็ การประเมนิ ท่มี ุ่งตรวจสอบพัฒนาการของผเู้ รียนว่าบรรลุ จุดประสงค์ การเรยี นร้ตู ามแผนการจัดการเรียนรทู้ ค่ี รไู ดว้ างแผนไวห้ รอื ไม่ เพือ่ นำสารสนเทศทไ่ี ด้จากการ ประเมินไปสู่ การปรับปรุงแก้ไขข้อบกพรอ่ งของผเู้ รยี น และส่งเสรมิ ผู้เรียนใหม้ คี วามรู้ความสามารถและเกดิ พัฒนาการ สูงสุดตามศกั ยภาพ การประเมนิ ผลระหวา่ งเรียนมแี นวทางในการปฏบิ ตั ติ ามข้ันตอน ดงั น้ี 2.1 วางแผนการเรียนรู้และการประเมนิ ผลระหว่างเรียน ผู้สอนจดั ทำแผนการเรียนรู้ กำหนด แนวทางการประเมนิ ผลใหส้ อดคลอ้ งกับตัวช้ีวัด ซง่ึ ในแผนการเรยี นรจู้ ะระบุภาระงานท่จี ะทำให้ ผู้เรยี น บรรลตุ ามตวั ชวี้ ัดอย่างเหมาะสม 2.2 เลือกวิธกี ารประเมินทสี่ อดคล้องกบั ภาระงานหรือกิจกรรมหลักทีก่ หนดใหผ้ ู้เรยี น ปฏิบตั ิ ทงั้ นี้ วิธกี ารประเมินทีเ่ หมาะสมอย่างย่งิ สำหรับการประเมนิ ระหว่างเรียน ได้แก่ การประเมินจากส่ิงท่ี ผู้เรียนไดแ้ สดงให้เหน็ วา่ มีความรู้ ทักษะ และความสามารถ ตลอดจนมีคณุ ลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์อันเปน็ ผล จากการ เรยี นรู้ ตามท่ีผูส้ อนไดจ้ ัดกระบวนการเรียนรใู้ หว้ ิธกี ารประเมินทผ่ี สู้ อนสามารถเลือกใชใ้ นการ ประเมิน ระหว่างเรยี น มดี งั น้ี 1) การประเมินด้วยการส่ือสารสว่ นบุคคล ได้แก่ (1) การถามตอบระหวา่ งทำกิจกรรมการเรยี น (2) การพบปะสนทนาพูดคุยกับผูเ้ รียน (3) การพบปะสนทนาพูดคยุ กบั ผู้เกยี่ วขอ้ งกบั ผู้เรียน
18 (4) การสอบปากเปลา่ เพ่ือประเมนิ ความรู้ ความเขา้ ใจ และทัศนคติ (5) การอ่านบนั ทึกเหตกุ ารณต์ ่าง ๆ ของผเู้ รยี น (6) การตรวจแบบฝกึ หดั และการบ้าน พรอ้ มใหข้ อ้ มลู ปอ้ นกลับ 2) การประเมินจากการปฏิบตั ิ (Performance Assessment) เป็นวธิ ีการประเมนิ งานหรอื กจิ กรรมทผ่ี ูส้ อนมอบหมายให้ผู้เรยี นปฏบิ ตั ิเพือ่ ใหไ้ ด้ ข้อมลู สารสนเทศวา่ ผเู้ รยี นเกิดการเรยี นรมู้ ากนอ้ ยเพียงใด การประเมินการปฏิบัตผิ ู้สอนต้องเตรียมการในส่งิ สำคญั 2 ประการ คอื (1) ภาระงานหรอื กิจกรรมท่จี ะให้ผเู้ รยี นปฏิบตั ิ (Tasks) (2) เกณฑ์การให้คะแนน (Rubrics) วิธกี ารประเมินการปฏิบัตจิ ะเป็นไปตามลกั ษณะงาน ดงั นี้ ก. ภาระงานหรอื กิจกรรมที่ผ้สู อนกำหนดใหผ้ ูเ้ รยี นทำเป็นรายบุคคล/กลุ่ม จะประเมนิ วธิ ีการทำงานตามขนั้ ตอนและผลงานของผู้เรียน ข. ภาระงานหรอื กจิ กรรมท่ีผ้เู รียนปฏบิ ัติเป็นปกตใิ นชีวิตประจำวันจะประเมนิ ดว้ ยวธิ ีการ สังเกต จดบันทึกเหตกุ ารณ์เกย่ี วกบั ผู้เรียน ค. การสาธิต ได้แก่ การให้ผูเ้ รยี นแสดงหรอื ปฏิบัตกิ จิ กรรมตามทีก่ ำหนด เช่น การใช้ เคร่ืองมือปฏิบตั ิงาน การทำกายบริหาร การเล่นดนตรี จะประเมนิ วธิ กี ารและขนั้ ตอนในการสาธิตของ ผู้เรยี น ดว้ ยวิธีการสังเกต ง. การทำโครงงาน การจดั การเรียนรูต้ ามหลกั สูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน กำหนดใหผ้ สู้ อน ตอ้ งมอบหมายใหผ้ เู้ รียนได้ปฏบิ ัติโครงงานอยา่ งน้อย 1 โครงงานในทกุ ช่วงชนั้ ดังนัน้ ผสู้ อนจงึ ต้องกำหนด ภาระงานในลักษณะของโครงงานใหผ้ ูเ้ รยี นปฏิบตั ิในรปู แบบหนึ่ง ใน 4 รูปแบบตอ่ ไปน้ี (1) โครงงานสำรวจ (2) โครงงานส่งิ ประดิษฐ์ (3) โครงงานแกป้ ญั หาหรือการทดลองศกึ ษาค้นควา้ (4) โครงงานอาชีพ วธิ ีการประเมินผลโครงงาน ใช้การประเมิน 3 ระยะ คือ 1) ระยะก่อนทำโครงงาน โดยประเมินความพรอ้ มด้านการเตรียมการ และความเป็นไป ได้ ในการปฏิบัติงาน 2) ระยะทำโครงงาน โดยประเมนิ การปฏิบตั จิ ริงตามแผน วิธกี ารและขัน้ ตอนกำหนดไว้ และ การปรับปรุงงานระหวา่ งปฏิบัติงาน 3) ระยะสนิ้ สุดการทำโครงงาน โดยประเมินผลงานและวธิ กี ารนำเสนอผลการดำเนนิ โครงงานการกำหนดใหผ้ เู้ รียนทำโครงงาน สามารถทำได้ 3 แบบ คอื 1) โครงงานรายบคุ คล เปดิ โอกาสใหผ้ เู้ รยี นได้เลือกปฏบิ ตั ิงานตามความสามารถ ความ ถนดั และความสนใจ
19 2) โครงงานกลุ่ม เป็นการทำโครงงานขนาดใหญ่และซบั ซ้อนต้องให้ผู้เรยี นที่มี ความสามารถต่างกนั หลายด้านชว่ ยกนั ทำ การประเมนิ โครงงานควรเน้นการประเมนิ กระบวนการกลุ่ม 3) โครงงานผสมระหว่างรายบุคคลกบั กล่มุ เปน็ โครงงานทผี่ เู้ รยี นทำร่วมกัน แตเ่ มื่อ เสรจ็ งานแลว้ ใหแ้ ต่ละคนรายงานผลด้วยตนเอง โดยไม่ตอ้ งได้รับการชว่ ยเหลือจากสมาชิกในกล่มุ ในการประเมนิ การปฏบิ ัติงานดงั กลา่ วมาขา้ งตน้ ผู้สอนจำเปน็ ต้องสรา้ งเคร่ืองมือเพอ่ื ใช้ ประกอบการประเมนิ การปฏิบตั ิ เชน่ - แบบวดั ภาคปฏบิ ัติ - แบบสังเกตพฤตกิ รรม - แบบตรวจสอบรายการ - เกณฑ์การใหค้ ะแนน (Rubrics) เปน็ ตน้ 3) การประเมนิ ตามสภาพจริง (Authentic Assessment) การประเมนิ สภาพจริง เป็นการประเมินจากการปฏิบัตงิ านหรือกิจกรรมอย่างใด อย่างหนง่ึ โดยงานหรอื กิจกรรมท่มี อบหมายใหผ้ เู้ รียนปฏิบัติจะเปน็ งาน หรือสถานการณท์ ่ีเป็นจริง (Real life) หรอื ใกลเ้ คียงกับชีวติ จริง จึงเปน็ งานที่มสี ถานการณซ์ บั ซอ้ น (Complexity) และเปน็ องคร์ วม (Holistic) มากกวา่ งานปฏบิ ตั ใิ นกจิ กรรมการเรียนทั่วไป วิธกี ารประเมนิ สภาพจริงไม่มคี วามแตกต่างจากการปฏิบัติ (Performance Assessment) เพียงแต่อาจมีความยุ่งยากในการประเมินมากกวา่ เนื่องจากเปน็ สถานการณ์จรงิ หรือต้องจดั สถานการณ์ให้ ใกลจ้ ริง แตจ่ ะเกดิ ประโยชน์กบั ผู้เรียนมาก เพราะจะทำใหท้ ราบความสามารถทแ่ี ทจ้ รงิ ของ ผเู้ รียนว่า มี จดุ เดน่ และข้อบกพร่องในเรือ่ งใด อนั จะนำไปสกู่ ารแก้ไขทต่ี รงประเดน็ ทส่ี ุด 4) การประเมินด้วยแฟม้ สะสมงาน (Portfolio Assessment) การประเมินดว้ ยแฟม้ สะสมงาน เปน็ วธิ กี ารประเมินที่ช่วยสง่ เสรมิ ให้การประเมิน ตาม สภาพจริงมคี วามสมบรู ณ์สะท้อนศักยภาพที่แท้จรงิ ของผู้เรยี นมากขนึ้ โดยการใหผ้ ูเ้ รียนได้เก็บรวบรวม (Collect) ผลงานจากการปฏบิ ัตจิ รงิ ท้งั ในชน้ั เรียนหรือในชีวติ จริงท่ีเกย่ี วข้องกับการเรียนรู้ตามสาระการ เรยี นร้ตู า่ ง ๆ มาจัดแสดงอยา่ งเป็นระบบ (Organized) โดยมีจุดประสงคเ์ พ่ือสะท้อนให้เห็น (Reflect) ความ พยายาม เจตคติ แรงจูงใจ พฒั นาการ และความสัมฤทธิ์ผล (Achievement) ของการเรียนร้ขู อง ผูเ้ รียน การ วางแผนดำเนินงาน การประเมินด้วยแฟ้มผลงานทีส่ มบรู ณจ์ ะช่วยใหผ้ ู้สอนสามารถประเมิน จากแฟม้ สะสม งานแทนการประเมนิ จากการปฏิบัติจริง การประเมนิ ด้วยแฟม้ สะสมงานมแี นวทางในการดำเนินงานดังน้ี 1) กำหนดโครงสร้างของแฟม้ สะสมงานจากวัตถปุ ระสงค์ของแฟ้มสะสมงานว่า ต้องการ สะทอ้ นสง่ิ ใดเก่ยี วกับความสามารถและพัฒนาการของผู้เรยี น ทั้งน้ีอาจพจิ ารณาจากตัวชีว้ ดั ตาม สาระการ เรยี นร้ทู ่ีสะท้อนไดจ้ ากการใหผ้ ู้เรยี นจัดทำแฟ้มสะสมงาน 2) กำหนดวธิ ีการเก็บรวบรวมผลงานให้สอดคลอ้ งกบั วตั ถุประสงคข์ องแฟ้มสะสม งาน เพอ่ื ให้ผู้เรยี นไดท้ ำแฟม้ สะสมงาน 3)กำหนดใหว้ ิธีการประเมินงานเพอ่ื พฒั นาชิ้นงาน ซึง่ ส่งผลถงึ การพัฒนาผูเ้ รยี นใหม้ ี
20 ความสามารถสูงสุด ทัง้ นี้ครคู วรจดั ทำเกณฑ์การใหค้ ะแนน (Rubrics) สำหรับให้ผู้เรียนนำไปใชเ้ ปน็ ข้อ ชนี้ ำ ในการพัฒนางาน 4)สง่ เสรมิ ให้เกดิ ความรว่ มมือในการพัฒนางาน โดยมีส่วนรว่ มในการประเมนิ จาก ทุกฝา่ ยแลว้ นำขอ้ มลู ทส่ี อดคล้องกันไปเป็นสารสนเทศหลัก ในการให้ข้อมูลป้อนกลับ (Feedback) สำหรับ ให้ ผเู้ รยี นใชใ้ นการปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่อง 5) จดั ใหม้ ีการนำเสนอผลงานทไี่ ด้สะสมไว้ โดยใชว้ ิธกี ารท่ีเหมาะสม ซงึ่ ผ้สู อนและ ผเู้ รียนควรวางแผนร่วมกันในการคัดเลือกช้นิ งานทีด่ ที ่สี ดุ ท้ังนีก้ ารนำเสนอช้นิ งานแตล่ ะชิ้นควรมหี ลกั ฐาน การพฒั นางานและการประเมนิ ผลงานด้วยตนเอง เกณฑก์ ารประเมนิ ผลงานประกอบไวด้ ว้ ย ในการใช้ วิธีการ ประเมินโดยแฟ้มสะสมงาน ผู้สอนควรคำนึงดว้ ยวา่ แฟ้มสะสมงานมีหลายประเภท การเลือกใช้แฟ้ม สะสม งานประเภทใด ควรคำนงึ ถึงรูปแบบและแนวทางในการพฒั นาแฟ้มสะสมงานให้เหมาะสม เพ่อื ให้ แฟ้มสะสม งานชว่ ยพฒั นาความคดิ สร้างสรรค์ของผเู้ รยี นด้วย 2.3 กำหนดสัดสว่ นการประเมนิ ระหว่างเรยี นกับการประเมินผลปลายภาคเรยี น หรอื ปลายปี การ ประเมนิ ระหว่างเรยี นมีวัตถุประสงค์สำคญั เพ่อื ม่งุ นำสารสนเทศ มาพัฒนาผู้เรียนและปรับปรงุ กระบวนการจดั การเรยี นของผู้เรียน การประเมินระหว่างเรียนที่ดำเนนิ การอยา่ งถกู ต้อง เข้มงวด และ จริงจงั จะให้ผลการประเมนิ ทสี่ ะท้อนภาพความสำเรจ็ และศักยภาพของผู้เรียนไดถ้ ูกตอ้ ง สมบูรณ์ และ น่าเช่ือถือ ดังนน้ั ควรใหน้ ำ้ หนักความสำคญั ของการประเมินระหว่างเรยี นในสัดสว่ นทีม่ ากกว่าการ ประเมินตอน ปลายภาคเรยี นหรอื ปลายปี ทง้ั น้โี ดยคำนงึ ถึงธรรมชาติของรายวชิ าและตัวช้วี ดั เป็นสำคัญ แต่ อยา่ งไรก็ตาม ในการประเมินเพ่ือตดั สนิ ผลการเรยี นรายวชิ าปลายภาคเรียนหรอื ปลายปี ต้องนำผลการ ประเมินระหว่างเรยี นไปใชใ้ นการตดั สินผลการเรียนดว้ ย ทั้งนีใ้ ห้เป็นไปตามสดั ส่วนและแนวดำเนินการ ใน ระเบียบท่ีสถานศกึ ษาผู้กำหนด 2.4 จัดทำเอกสารบันทกึ ข้อมูลสารสนเทศของผเู้ รียน ผู้สอนตอ้ งจัดทำเอกสารบนั ทกึ ขอ้ มลู สารสนเทศเกี่ยวกบั การประเมนิ ผลระหว่างเรียนอยา่ งเป็นระบบชัดเจน เพ่อื ใช้เป็นแหลง่ ข้อมลู ในการ ปรบั ปรุง แกไ้ ข ส่งเสรมิ ผเู้ รียน ใช้เป็นหลักฐานสำหรบั การสือ่ สารกบั ผ้เู กยี่ วขอ้ งและใชเ้ ปน็ หลกั ฐาน สำหรับ ตรวจสอบการปฏิบตั งิ านของผ้สู อน ซ่งึ แสดงใหเ้ หน็ ถึงความโปรง่ ใสและความยุตธิ รรมในการ ประเมนิ ทงั้ นใี้ ห้ เป็นไปตามระเบียบทสี่ ถานศกึ ษากำหนด ขอ้ มูลหลกั ฐานการประเมนิ ระหวา่ งทีพ่ งึ แสดง ไดแ้ ก่ 1) วิธีการและเคร่อื งมอื ท่ีใชใ้ นการเก็บขอ้ มลู 2) ข้อมูลเก่ียวกบั ความสามารถของผ้เู รยี นตามวธิ ีการประเมิน เชน่ บันทึกการสังเกต พฤติกรรม บันทกึ คะแนนจากผลการประเมนิ ชิ้นงาน บันทกึ คะแนนการประเมนิ โครงงาน บันทึกเกยี่ วกับ การ ประเมินแฟ้มสะสมงาน เปน็ ตน้ 3. การประเมนิ เพือ่ สรุปผลการเรียน การประเมนิ เพ่ือสรุปผลการเรยี นเปน็ การประเมนิ เพื่อมุง่ ตรวจสอบความสำเรจ็ ของผเู้ รียนเมื่อ ผ่าน การเรยี นร้ใู นช่วงเวลาหน่งึ หรือสิ้นสดุ การเรียนรายวชิ าปลายป/ี ปลายภาคประกอบดว้ ย 3.1 การประเมินหลงั เรยี น
21 เปน็ การประเมินผู้เรยี นในเร่อื งที่ไดเ้ รียนจบแล้ว เพือ่ ตรวจสอบวา่ ผู้เรยี นเกดิ การ เรียนรตู้ าม ตัวชว้ี ัดทคี่ าดหวงั หรอื ไม่ เมือ่ นำไปเปรยี บเทยี บกบั ผลการประเมนิ ก่อนเรยี นว่าผูเ้ รยี นเกดิ พัฒนาการขน้ึ มาก น้อยเพยี งไร ทำให้สามารถประเมินได้วา่ ผ้เู รียนมศี ักยภาพในการเรยี นรู้เพียงไร และ กจิ กรรมการเรียนทจี่ ัด ข้นึ มปี ระสิทธภิ าพในการพฒั นาผเู้ รียนอยา่ งไร ข้อมูลจากการประเมินภายหลังการ เรียน สามารถนำไปใช้ ประโยชนไ์ ดม้ ากมาย ได้แก่ 1) ปรบั ปรุงแก้ไขซ่อมเสริมผเู้ รยี นใหบ้ รรลุตัวชว้ี ดั หรอื จุดประสงค์ของการเรยี น 2) ปรับปรุงแก้ไขวิธเี รียนของผ้เู รยี นให้มีประสทิ ธภิ าพย่งิ ขน้ึ 3) ปรับปรงุ แก้ไขและพฒั นาการจดั กิจกรรมการเรียน การประเมินหลังเรียนน้ี ถา้ จะให้สอดคลอ้ งกบั การประเมินกอ่ นเรยี นเพ่ือการ เปรยี บเทียบพัฒนาการของผเู้ รยี นสำหรับการวจิ ยั ในชัน้ เรียน ควรใชว้ ธิ ีการและเครื่องมอื ประเมนิ ชุด เดียวกัน หรอื คู่ขนานกัน 3.2 การประเมินผลการเรียนปลายภาค เปน็ การประเมนิ ผลเพื่อตรวจสอบผลสัมฤทธ์ิของผ้เู รยี นในการเรยี นรายวิชาตา่ ง ๆ ตาม ตัวชีว้ ัด การประเมินผลนนี้ อกจากจะมจี ุดประสงค์เพอ่ื การสรุปตัดสินความสำเร็จของผู้เรียน ในแต่ละรายวิชา รายภาค เป็นสำคัญแล้ว ยงั ใชเ้ ปน็ ข้อมูลสำหรบั ปรบั ปรงุ แก้ไข ซอ่ มเสริมผเู้ รียนทไี่ ม่ผา่ นการประเมนิ ตัวช้ีวัด ของแต่ละรายวิชา ใหเ้ กดิ พัฒนาการและมผี ลการเรยี นตามตวั ชี้วัดอยา่ งครบถ้วน สมบรู ณ์ด้วย การประเมินผลการเรียนปลายภาค สามารถใชว้ ิธกี ารและเครื่องมือการประเมิน ไดอ้ ยา่ ง หลากหลาย ใหส้ อดคล้องกับตวั ช้วี ดั เนื้อหาสาระ กิจกรรมและช่วงเวลาในการประเมนิ อยา่ งไรก็ ดีเพือ่ ให้ การประเมนิ ผลการเรียนดงั กลา่ วมสี ่วนทเี่ ก่ยี วขอ้ งสัมพันธ์และสนบั สนนุ การเรยี นการสอน จึงให้ นำผลการ ประเมนิ ผลระหว่างเรียนไปใชเ้ ปน็ ข้อมลู ในการประเมินผลการเรยี นปลายภาค โดยสดั ส่วนการ ประเมนิ ผล ระหวา่ งเรยี นมากกวา่ การประเมินผลปลายภาคเรียน วิธีการปฏบิ ตั ิการประเมินผลตามกล่มุ สาระการเรียนรู้ 8 กลมุ่ การดำเนินการประเมนิ ผลตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลมุ่ โรงเรียน ได้กำหนดวธิ กี ารปฏิบัติดังน้ี คณะกรรมการบริหารหลกั สูตรและวิชาการร่วมกันกำหนดหลกั การประเมินผล 8 กลมุ่ สาระ ดงั น้ี 1. ทกุ กลุม่ สาระให้มกี ารประเมินผลทกุ รายวิชาให้ครอบคลุมทัง้ ด้านความรู้ ทักษะ กระบวนการ และคณุ ลักษณะ โดยมกี ารประเมนิ ผลดังนี้ 1.1 การประเมนิ ผลก่อนเรียน 1.1.1 ประเมนิ ผลกอ่ นเรียนเพอ่ื ตรวจสอบความพร้อมและพืน้ ฐานของ ผ้เู รยี นและจดั กจิ กรรมซ่อมเสริมเพือ่ ให้มคี วามรูพ้ น้ื ฐานเพยี งพอทจ่ี ะเรยี น 1.1.2 ประเมนิ ก่อนเรยี นเพอ่ื ตรวจสอบความรอบรใู้ นเน้อื หา และทกั ษะท่ี จะเรม่ิ เรยี น เพอ่ื เป็นขอ้ มูลเปรียบเทียบผลการเรียนหลงั เรียน แสดงการพัฒนาการของผู้เรียน 1.1.3 การประเมินผลระหว่างเรียน ให้มีการประเมนิ ผลเป็นระยะ ๆ และ สอดคล้องกับตวั ช้ีวดั โดยใชก้ ารประเมินผลตามสภาพจรงิ ดว้ ยวธิ ีการทห่ี ลากหลายท้ังวธิ กี ารวดั เครอื่ งมอื และ แหล่งขอ้ มลู เพอื่ มุง่ ตรวจสอบพัฒนาการของผเู้ รียน และนำผลการประเมนิ ไปปรบั ปรุงแก้ไขจนผูเ้ รยี น
22 สามารถบรรลตุ ามเกณฑ์ข้นั ต่ำที่กำหนดไว้ โดยใชว้ ธิ กี ารทห่ี ลากหลายเหมาะสมกับศกั ยภาพของแตล่ ะ บคุ คล ในกรณที ี่ผู้เรียนต้องการพฒั นาปรบั ปรุงผลการเรยี นใหส้ งู ขึ้น ใหผ้ สู้ อนเปิดโอกาสให้ผเู้ รียนได้ พัฒนาปรับปรงุ แกไ้ ขผลงานชิ้นงานตนเองจนเต็มศักยภาพของผู้เรียนภายในเวลาทก่ี ำหนดให้ 1.1.4 การประเมนิ รายภาค ในการประเมนิ ผลปลายภาคสามารถประเมนิ จากการปฏิบตั ิการสอ่ื สาร เชน่ การสัมภาษณจ์ ากผลงาน / ชน้ิ งาน โครงงานหรอื แบบทดสอบ ท้ังนใี้ ห้ สอดคลอ้ งกับตวั ชี้วัด 2. การกำหนดสดั สว่ นระหว่างเรยี นกบั การประเมนิ ปลายภาค ให้กลมุ่ สาระการเรียนรแู้ ตล่ ะ กล่มุ รว่ มกนั กำหนดตามหลกั การทคี่ ณะกรรมการการบรหิ ารหลักสูตรและวิชาการดังนี้ 2.1 การประเมนิ ผลระหวา่ งเรียน ใหม้ ีการประเมนิ ผล ไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 60 ของ การประเมินผลท้ังหมด ยกเวน้ กลุ่มสาระการเรียนร้ศู ลิ ปะ และกลุ่มสาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพและ เทคโนโลยี ใหม้ ีการประเมนิ ผล ไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 70 2.2 การประเมินผลระหว่างเรยี นและการประเมนิ ผลปลายภาค ใหม้ ีการประเมิน ท้ังดา้ น ความรู้ ทกั ษะ กระบวนการ และคณุ ลักษณะ 2.3 ในรายวชิ าเดยี วกนั ใหม้ กี ารกำหนดสดั ส่วนระหว่างเรยี นกบั ปลายภาค และ วางแผน ประเมนิ ผลตลอดภาคเรียนรว่ มกนั 2.4 ในกรณีทมี่ กี ารประเมินผลด้วยแบบทดสอบ ใหม้ ีการประเมนิ โดยใช้วธิ ีการให้ ผู้เรียน ตอบแบบทดสอบอัตนยั โดยมีการใหค้ ะแนนคิดเปน็ รอ้ ยละ 70 ของการทดสอบครง้ั นนั้ 3. การจดั ทำเอกสารบนั ทึกขอ้ มูลสารสนเทศของผ้เู รยี น ประกอบด้วย 3.1 ผู้สอนแต่ละรายวชิ าจัดทำแผนการประเมินผลในรายวิชาของตนเองตลอดภาค เรียน โดยมหี ัวข้อดงั นี้ 1) การประเมินผลกอ่ นเรียน 2) การประเมินระหว่างเรยี น 3) การประเมินปลายภาค 4) อตั ราสว่ นน้ำหนักคะแนนระหว่างความรู้ (K) ทกั ษะกระบวนการ (P) และ คุณลักษณะ (A) และรายละเอียดน้ำหนักคะแนนของแตล่ ะตัวชี้วดั พร้อมทงั้ ระบวุ ธิ กี ารวดั เครอื่ งมือวัด และประเมนิ ผลในแต่ละตัวช้วี ัด 5) กำหนดคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ ประกอบดว้ ย คุณลกั ษณะตาม ธรรมชาติ วชิ า และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงคข์ องสถานศกึ ษา ท้ังนใี้ หใ้ ชแ้ บบสรุปผลการประเมินตามแบบ บันทกึ ท่ี แนบท้ายคู่มอื น้ี 3.2 จัดทำแบบบนั ทกึ ข้อมูลผลการประเมนิ ที่แสดงสารสนเทศของผู้เรียน ทงั้ นเ้ี พ่ือ ใช้เป็น แหล่งขอ้ มลู ในการปรับปรุงแก้ไข ส่งเสริมผเู้ รียน และใช้เป็นหลกั ฐานสำหรบั สือ่ สารกับผเู้ กย่ี วข้อง และ ใช้เป็นหลักฐานสำหรบั ตรวจสอบการปฏบิ ัติงานของผู้สอน ดังน้นั ขอ้ มูลควรแสดงถึงร่องรอยการพัฒนา พร้อมระบุข้อสงั เกตทเ่ี นน้ ขอ้ ค้นพบท่ีเป็นจดุ เด่นและจุดด้อยของผูเ้ รียนเป็นรายบคุ คล ทง้ั ระหวา่ งเรียนและ ปลายภาค
23 3.3 จัดทำแบบบันทึกการประเมนิ ความสามารถในการอ่าน คิด วเิ คราะห์ และ เขยี น เพ่ือ แสดงร่องรอยหลักฐานการพัฒนาความสามารถในการอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขียน และสรปุ ผล การ ประเมินตามแบบสรุปผลการประเมินแนบท้ายคู่มอื นี้ 3.4 จดั ทำแบบบันทึกการประเมินคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ เพ่อื แสดงรอ่ งรอย หลกั ฐาน การพัฒนาคุณลักษณะผู้เรยี น และสรปุ ผลการประเมินตามแบบสรปุ ผลการประเมินแนบทา้ ยคู่มอื นี้ 3.5 นำผลการประเมินจากขอ้ 3.2,3.3 และ3.4 มาสรปุ และบันทกึ ลงในแบบ ปพ.5 4. การตดั สินผลการเรยี นกลุ่มสาระการเรยี นรู้ 8 กลมุ่ 4.1 การตัดสนิ ผลการเรียนให้นำผลการประเมนิ ระหวา่ งเรยี นรวมกับผลการ ประเมิน ปลายภาค โดยใช้เกณฑด์ ังน้ี ช่วงคะแนนเปน็ รอ้ ยละ ความหมาย ระดับผลการเรียน 80 - 100 ผลการเรยี นดเี ย่ียม 4 75 - 79 ผลการเรยี นดีมาก 3.5 70 - 74 ผลการเรียนดี 3 65 - 69 ผลการเรียนคอ่ นข้างดี 2.5 60 - 64 ผลการเรียนนา่ พอใจ 2 55 - 59 ผลการเรยี นพอใช้ 1.5 50 - 54 ผลการเรียนผ่านเกณฑ์ข้ันตำ่ ท่กี ำหนด 1 0 - 49 ผลการเรียนต่ำกวา่ เกณฑข์ นั้ ตำ่ ทกี่ ำหนด 0 เมอ่ื ครูผสู้ อนตัดสินผลการเรยี นแล้วให้ดำเนนิ การดังน้ี สง่ ผลการตัดสินให้อนุกรรมการกล่มุ สาระพิจารณาให้การเห็นชอบ / แกไ้ ข แลว้ ส่งให้ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการพจิ ารณาเห็นชอบ เพือ่ นำเสนอผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาอนุมัติผล การ เรียน สง่ ผลการเรยี นให้ ครทู ่ีปรกึ ษากรอกผลการเรยี นลงในแบบ ปพ.6 และนายทะเบยี นวัดผล กรอกในแบบ ปพ.1 5. การใหผ้ ลการเรียน “ร” 5.1 การให้ผลการเรยี น “ร” หมายถึง ผเู้ รียนท่ีมีลักษณะดังนี้ 1) ผู้เรียนไมไ่ ดร้ ับการประเมิน หรือประเมนิ แลว้ ไมผ่ ่านเกณฑ์ระหว่าง เรยี น 2) ผู้เรียนไมไ่ ดร้ ับการประเมนิ ปลายภาค 5.2 วิธีการให้ผลการเรียน “ร” เมื่อผสู้ อนพบว่าผ้เู รียนไม่ไดเ้ ข้ารบั การประเมินผล ระหวา่ งเรยี นหรอื ปลายภาค ให้ผู้สอนรายงานพรอ้ มหลักฐานประกอบการพจิ ารณาเสนอผบู้ รหิ ารเพือ่ อนมุ ตั ิ ผลการ เรียน “ร” แลว้ ประกาศผลให้นกั เรียนทราบ
24 6. การใหผ้ ลการเรยี น “มส” 6.1 การใหผ้ ลการเรียน “มส” หมายถงึ ผูเ้ รยี นมเี วลาเรียนไมถ่ งึ รอ้ ยละ 80 ของ เวลาทง้ั หมด 6.2 วิธกี ารให้ผลการเรียน “มส” ให้ผสู้ อนรายงานพรอ้ มแนบเวลาเรยี นของผ้เู รยี น เสนอ ผู้บรหิ ารเพื่ออนมุ ตั ผิ ลการเรียน “มส” ก่อนประเมนิ ผลปลายภาค 2 สปั ดาห์ 7. การแกไ้ ข “0” 7.1 ผเู้ รยี นนำใบแจง้ ความจำนงการแก้ไข “0” พบครผู สู้ อนประจำวชิ า 7.2 ผู้สอนดำเนนิ การพฒั นาผ้เู รยี นในผลการเรียนรู้ทีไ่ ม่ผ่านเกณฑ์ จนผ้เู รยี น สามารถ บรรลผุ ลตามเกณฑ์ท่กี ำหนดไว้ โดยให้ผลการเรยี นไมเ่ กิน “1” 7.3 ผ้สู อนรวบรวมและสรปุ ผลการแกไ้ ข “0” ไปยังงานวัดผลของโรงเรยี นเพอ่ื เสนอต่อ ผ้บู ริหารอนุมตั ิ และแจง้ ผู้เกย่ี วขอ้ ง 8. การแกไ้ ข “ร” 8.1 ผเู้ รยี นนำใบแจ้งความจำนงการแก้ไข “ร” พบครผู ู้สอนประจำวิชา 8.2 ผ้สู อนดำเนนิ การตามสาเหตขุ องผลการเรยี น “ร” นัน้ ๆ โดยให้ผลการเรยี น ตาม เกณฑ์ขอ้ 4 8.3 ผูส้ อนรวบรวมและสรปุ ผลการแกไ้ ข “ร” ไปยังงานวดั ผลของโรงเรยี นผา่ น คณะกรรมการบริหารหลักสตู รและวชิ าการเห็นชอบ เพอื่ เสนอตอ่ ผู้บริหารอนุมัติ แล้วแจง้ ผู้เกยี่ วข้อง 9. การแก้ไข “มส” 9.1 ผู้เรียนนำใบแจง้ ความจำนงไปพบครผู สู้ อนประจำวชิ า 9.2 ผ้สู อนพจิ ารณาวา่ ผ้เู รยี นมขี อ้ บกพรอ่ งอะไร ให้ดำเนนิ การพฒั นาแก้ไขในสง่ิ น้นั จน บรรลุเกณฑข์ ้นั ต่ำทีก่ ำหนดไว้ โดยใหผ้ ลการเรียนไม่เกิน “1” 9.3 ผู้สอนรวบรวมและสรุปผลการแก้ไข “มส” สง่ งานวดั ผลของโรงเรยี นผา่ นคณะ กรรมการบรหิ ารหลักสูตรและวิชาการเห็นชอบ เพือ่ เสนอผบู้ รหิ ารอนุมตั ิ แล้วแจง้ ผเู้ กยี่ วข้อง 10. การแกไ้ ข “0” “ร” และ “มส” ใหด้ ำเนนิ การแกไ้ ขใหเ้ สรจ็ สนิ้ ภายใน 2 สปั ดาห์ หลงั จาก ได้รบั แจ้งประกาศของงานวัดผลโรงเรียน ส่วนท่ี 2 การประเมินกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี นเป็นกิจกรรมที่สถานศึกษาได้ใหผ้ ูเ้ รียนในทกุ ระดับช้ันการศึกษาได้พฒั นา ความสามารถของตนเองตามความถนัดและความสนใจให้เต็มศักยภาพ โดยมุ่งเนน้ การพัฒนาองคร์ วมของ ความเปน็ มนุษย์ทงั้ ด้านร่างกาย สตปิ ัญญา อารมณ์ และสังคม การจัดกิจกรรมพัฒนาผ้เู รียนโดยรวมของ สถานศึกษา มีการดำเนนิ การอย่างมีเปา้ หมายชดั เจน มรี ูปแบบ และวิธกี ารทค่ี รทู ่ีปรกึ ษากิจกรรมและ ผ้เู รียน รว่ มกันกำหนด ผู้เรียนต้องผ่านเกณฑก์ ารประเมินกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี นตามท่ีสถานศึกษากำหนด จงึ จะผา่ น เกณฑ์การประเมนิ ระดบั ช้ัน 1. ลักษณะกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน แบง่ เปน็ 3 ลักษณะ คือ
25 1.1 กจิ กรรมแนะแนว เปน็ กจิ กรรมท่ีส่งเสริมและพฒั นาความสามารถของผู้เรียนใหเ้ หมาะสมตาม ความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล สามารถคน้ พบและพฒั นาศักยภาพของตนเสริมสร้างทกั ษะชวี ิต วุฒภิ าวะทาง อารมณ์ การเรียนรูใ้ นเชิงพหุปัญญา และการสรา้ งสัมพันธภาพท่ดี ี ซง่ึ ครูทุกคนตอ้ งทำหนา้ ที่ แนะแนวให้ คำปรึกษาดา้ นชวี ิต การศกึ ษาต่อและการพัฒนาตนเองสู่โลกอาชีพและการมีงานทำ 1.2 กจิ กรรมนักเรียน เปน็ กิจกรรมทผี่ ู้เรียนเป็นผู้ปฏบิ ตั ิด้วยตนเองอยา่ งครบวงจรตัง้ แต่ ศกึ ษาวิเคราะห์ วางแผน ปฏิบตั ิตามแผน ประเมิน และปรบั ปรงุ การทำงาน โดยเน้นการทำงานร่วมกนั อยา่ ง เปน็ กล่มุ ได้แก่ โครงงาน กจิ กรรมตามความสนใจชมุ นุมวชิ าการ กิจกรรมพัฒนานิสยั รักการอา่ น การคิด วเิ คราะห์ และเขียน กิจกรรมสาธารณประโยชน์ ลกู เสือ เนตรนารี ยวุ กาชาด และ ผ้ำไเพ็ญประโยชน์ และ กจิ กรรมพัฒนาคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ของผู้เรยี น 1.3 กจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ เปน็ กิจกรรมท่ีสง่ เสริมใหผ้ ู้เรียนบำเพญ็ ตน ใหเ้ ปน็ ประโยชนต์ ่อสังคม ชุมชน และท้องถิ่นตามความสนใจในลกั ษณะอาสาสมัครเพอื่ แสดงถึงความ รับผิดชอบ ความดีงาม ความเสียสละตอ่ สังคม มจี ติ สาธารณะ เช่น กจิ กรรมอาสาพัฒนาต่าง ๆ กิจกรรม สร้างสรรคส์ ังคม 2. การประเมินกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี นรายกิจกรรม 1) ผู้รับผดิ ชอบกจิ กรรมประเมนิ การปฏบิ ัติกิจกรรมของผู้เรียนตามจดุ ประสงค์ของแตล่ ะ กิจกรรม โดยประเมินจากพฤตกิ รรมการปฏบิ ตั ิกิจกรรมและผลการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมด้วยวิธีการทห่ี ลากหลาย ตามสภาพจริง 2) ผูร้ บั ผดิ ชอบกจิ กรรมตรวจสอบเวลาเขา้ ร่วมกจิ กรรมของผู้เรยี นว่าเป็นไปตามเกณฑ์ที่ สถานศกึ ษากำหนดไว้หรอื ไม่ 3) ตัดสนิ ให้ผ้เู รียนทีผ่ า่ นจุดประสงคส์ ำคญั ของกจิ กรรม มผี ลงานชน้ิ งานหรือหลกั ฐาน ประกอบและมเี วลาเข้าร่วมกจิ กรรมครบตามเกณฑ์ ให้เป็นผูผ้ า่ นการประเมินผลการรว่ มกจิ กรรม ผู้เรียนที่ มี ผลการประเมินบกพรอ่ งในเกณฑ์ใดเกณฑห์ นงึ่ จะเป็นผไู้ ม่ผ่านการประเมินผลการร่วมกิจกรรม จะตอ้ ง ซ่อม เสริมขอ้ บกพรอ่ งให้ผ่านเกณฑก์ ่อน จงึ จะได้รับการตัดสนิ ใหผ้ ่านกิจกรรม 3. การประเมินกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี นเลื่อนชัน้ จบหลักสตู ร เป็นการประเมนิ สรุปผลการผ่านกิจกรรมตลอดปีการศึกษาของผเู้ รยี นแตล่ ะคนเพ่ือนำผล ไป พจิ ารณาตัดสนิ การเลือ่ นช้นั โดยมีขน้ั ตอนปฏิบัติดังนี้ 1) คณะกรรมการที่ไดร้ บั แตง่ ตงั้ รวบรวมผลการประเมนิ แต่ละกจิ กรรมมาตัดสินตาม เกณฑ์ การตัดสินการประเมินกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน และรายงานผลตอ่ ผ้ปู กครอง 2) คณะกรรมการสรุปผลการประเมนิ กจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี น ใหค้ ณะกรรมการบริหาร หลกั สตู รและวิชาการเพื่อพิจารณาเห็นชอบ 3) ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาพิจารณาตัดสนิ อนมุ ตั ผิ ลการประเมนิ รายภาค
26 4) คณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตรและวิชาการ รวบรวมผลการประเมินรายภาค ตัดสิน ผล การเลื่อนชัน้ /จบหลักสตู ร เสนอผู้บรหิ ารอนมุ ตั ิ 4. เกณฑต์ ดั สินผลการประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน 1) เกณฑ์การตัดสินรายกิจกรรมพจิ ารณาสจาก 2) เข้ารว่ มกจิ กรรมไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 80 ของเวลาทัง้ หมด 3) ผู้เรยี นมีพฤติกรรมดา้ นการเรียนรู้ไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 70 4) ผเู้ รียนปฏบิ ัตกิ ิจกรรมและผ่านจุดประสงคส์ ำคญั ของแตล่ ะกจิ กรรมกำหนด ทุกข้อ 5) ผเู้ รยี นต้องผ่านเกณฑ์ ขอ้ 1) ถอื ว่าผา่ นรายกจิ กรรม 6) เกณฑก์ ารตัดสินกิจกรรมพฒั นาผ้เู รียน ผ้เู รยี นตอ้ งได้รับผลการประเมินผ่านทั้ง กิจกรรม แนะแนว กจิ กรรมนกั เรียนทุกกจิ กรรมและกจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชนถ์ ือวา่ ผ่าน กิจกรรม พฒั นาผูเ้ รยี น 7) เกณฑ์การผ่านเลอื่ นช้นั / จบหลกั สูตร ผู้เรียนต้องไดร้ บั ผลการประเมิน ผ่าน ทกุ กิจกรรม รายภาค 5. แนวทางการซ่อมเสริมกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน 1) กรณี ไม่ผ่านเนื่องจากเวลาเข้ารว่ มกจิ กรรมไม่ครบ คณะกรรมการพัฒนาและการ ประเมนิ กิจกรรมพัฒนาผ้เู รียนกำหนดกจิ กรรมใหผ้ ู้เรยี นไปปฏบิ ัตติ ามเวลาท่กี ำหนด ภายใต้การ ควบคมุ ดูแล ของทีป่ รึกษากิจกรรมนั้น ๆ จนกว่าผู้เรยี นปฏบิ ัตกิ ิจกรรมน้นั ได้ อาจารยป์ ระจำกิจกรรม สรปุ รายงานผลการ ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมใหค้ ณะกรรมการพิจารณาผลการประเมนิ กจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี น เพือ่ ตดั สนิ ผลการผา่ น กจิ กรรมรายภาค 2) กรณีไมผ่ า่ นจุดประสงคส์ ำคญั ของกิจกรรมใหค้ ณะกรรมการมอบหมายภาระงานที่ ผเู้ รียนไมผ่ ่านไปปฏบิ ตั ภิ ายใต้การดูแลของอาจารยท์ ปี่ รกึ ษากจิ กรรม จนกว่าผู้เรยี นจะปฏบิ ัติตามภาระงาน น้นั ได้ ใหท้ ่ปี รึกษาสรปุ ผลการปฏิบตั ิส่งให้คณะกรรมการพจิ ารณาผลการประเมนิ การซ่อมเสริม เพ่ือ ตัดสิน ผลการผ่านกิจกรรมเปน็ รายภาค 3) คณะกรรมการสรปุ ผลการประเมนิ ทั้งกรณีใน ขอ้ 5.1 และ ข้อ 5.2 ส่ง คณะกรรมการ บรหิ ารหลักสตู รและวิชาการ เหน็ ชอบและเสนอผู้บริหารอนุมัตติ อ่ ไป ส่วนท่ี 3 การพฒั นาและประเมินผลคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. ความสำคญั ของคุณลักษณะอนั พึงประสงคข์ องผูเ้ รียน การพัฒนาทรพั ยากรมนษุ ย์เป็นหวั ใจสำคัญในการพฒั นาประเทศ โดยทมี่ ีการจัดการศึกษา เปน็ วิธีการหลักทส่ี ำคัญท่สี ุด การจัดการศกึ ษาใหผ้ เู้ รยี นเป็นมนุษย์ทส่ี มบูรณ์ จึงจำเป็นตอ้ งมีการพฒั นา ผู้เรยี น ให้เป็นผู้ทม่ี กี ารพฒั นาการท้งั ด้านปัญญา จติ ใจ ร่างกาย และสงั คม การพฒั นาจิตใจจงึ ถอื เป็นสงิ่ ท่ี สำคัญ อย่างยง่ิ ดงั จะเห็นได้จากพระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตราท่ี 23 “การจดั การ ศึกษา ทัง้ การศกึ ษาในระบบ นอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศัยต้องเนน้ ทัง้ ความรู้ คุณธรรม
27 กระบวนการ เรยี นรู้ และบูรณาการตามความเหมาะสมของแต่ละระดับ” มาตรา 24 วรรค 4 “จัดการเรียน การสอนโดย ผสมผสานสาระความรู้ตา่ ง ๆ อยา่ งเป็นสัดสว่ นสมดุลกนั รวมทั้งปลูกฝังคณุ ธรรม คา่ นิยมที่ดีงาม และ คณุ ลักษณะที่พงึ ประสงคไ์ วใ้ นทุกวชิ า ด้วยเหตดุ งั กลา่ วข้างตน้ หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 จึงกำหนดไว้ ใน จุดหมายของหลักสตู รเปน็ ข้อแรก คือ มคี ณุ ธรรม จริยธรรม และคา่ นิยมทพี่ งึ ประสงค์ เห็นคุณคา่ ของ ตนเอง มวี ินยั และปฏิบัติตนตามหลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาทตี่ นนบั ถือ ยดึ หลกั ปรัชญา ของ เศรษฐกิจพอเพยี ง และกำหนดให้สถานศึกษาไดส้ รา้ งหลักสูตรสถานศกึ ษาด้วยตนเอง ท้งั นีเ้ พอื่ ให้เป็น หลกั สตู รท่ีตอบสนองต่อความเปลยี่ นแปลงทางเศรษฐกจิ และสังคม เป็นไปตามความตอ้ งการจำเป็นของ ชมุ ชนทอ้ งถนิ่ ของตนอง โดยทส่ี ถานศึกษาจะต้องร่วมกับชมุ ชนกำหนดเป้าหมายในการพัฒนาผเู้ รยี น ดา้ น คุณธรรม จริยธรรมคา่ นิยมที่สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความจำเป็นของชมุ ชน และท้องถิน่ และกำหนด เปน็ เกณฑก์ ารจบหลักสูตรขอ้ หน่งึ ในแตล่ ะระดับ คอื ผูเ้ รียนตอ้ งผ่านการประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ตาม เกณฑท์ ีส่ ถานศึกษากำหนด 2. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน มงุ่ พัฒนาผ้เู รยี นให้มคี ณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ เพอ่ื ใหส้ ามารถอยู่ร่วมกับผู้อืน่ ในสังคมไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข ในฐานะเปน็ พลเมอื งไทยและพลโลก ไดก้ ำหนดให้ สถานศกึ ษาทุกแหง่ พฒั นาผ้เู รยี น ดงั นี้ 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ 2. ซ่อื สัตยส์ ุจริต 3. มวี ินัย 4. ใฝเ่ รียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. ม่งุ มน่ั ในการทำงาน 7. รกั ความเปน็ ไทย 8. มจี ิตสาธารณะ ความหมายและตวั บ่งช้ีคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 2.1 คุณลักษณะ: รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ความหมาย รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ หมายถึง ลกั ษณะของบคุ คลท่แี สดงออก ด้วยกาย วาจาและใจ ตัวบง่ ชีค้ ณุ ลักษณะ รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2.1.1 มีความจงรักภกั ดีในสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ 2.1.2 ปฏิบัตติ นตามหลักธรรมศาสนา
28 2.2 คุณลักษณะ: ซอ่ื สัตย์สุจรติ ความหมาย ซ่ือสตั ยส์ จุ รติ หมายถงึ ลกั ษณะของบคุ คลทแ่ี สดงออกด้วยกาย วาจาและ ใจ ตัวบง่ ชคี้ ณุ ลกั ษณะ ซื่อสตั ยส์ ุจรติ 2.2.1 ไมน่ ำสิง่ ของผูอ้ ืน่ มาเป็นของตน 2.2.2 ไมพ่ ดู เท็จท้งั ต่อหน้าและลับหลัง 2.3 คุณลักษณะ: มวี ินยั ความหมาย มวี ินัย หมายถงึ ลักษณะของบคุ คลที่แสดงออกถึงความเอาใจใส่ จดจ่อ ตั้งใจ ม่งุ มัน่ ต่อหน้าท่ีการงาน การศกึ ษาเลา่ เรียน และการเป็นอยูข่ องตนเอง และผูอ้ ยใู่ นความดแู ล ตลอดจน สังคมอยา่ งเตม็ ความสามารถด้วยความผูกพนั เพ่ือใหบ้ รรลุผลสำเร็จตามความมงุ่ หมายในเวลาทีก่ ำหนด ยอมรบั ผลการกระทำทั้งผลดีและผลเสยี ท่เี กิดข้ึน รวมทั้งปรับปรงุ การปฏิบตั ิให้ดขี ึน้ ดว้ ย ตัวบง่ ชี้คณุ ลกั ษณะ มีวนิ ัย 2.3.1 มคี วามพยายามปฏบิ ตั ิภารกจิ หน้าทีก่ ารงาน การศึกษา หรือหนา้ ท่ที ไ่ี ด้รับ มอบหมายอย่างเต็มความสามารถ 2.3.2 ตรงตอ่ เวลา 2.3.3 ทำงานโดยคำนงึ ถงึ คุณภาพของงาน 2.3.4 ดูแลรกั ษาสาธารณสมบัติ 2.4 คณุ ลกั ษณะ: ใฝเ่ รียนรู้ ความหมาย ใฝเ่ รยี นรู้ หมายถึง ลกั ษณะของบุคคลที่แสดงออกถึงความใฝเ่ รียนใฝร่ ู้ ตวั บง่ ชคี้ ุณลักษณะ ใฝเ่ รยี นรู้ 2.4.1 มกี ารซกั ถามปญั หาในและนอกบทเรยี นสม่ำเสมอ 2.4.2 รจู้ ักใชแ้ หล่งเรียนรภู้ ายในและนอกโรงเรียนประกอบการเรยี นรู้ 2.5 คุณลกั ษณะ: อยอู่ ยา่ งพอเพียง ความหมาย อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง หมายถงึ ลักษณะของบุคคลท่ีแสดงถงึ การ ประพฤติ ปฏิบตั ิตนเป็นผปู้ ระหยัดเวลา ทรัพย์ และแรงงาน ท้งั ของตนเองและส่วนรวม ตลอดจนวางแผน ออมเพ่อื อนาคต ตัวบ่งช้คี ุณลกั ษณะ อยูอ่ ยา่ งพอเพียง 2.5.1 เลือกใชส้ ่ิงของทเี่ หมาะสมกับสถานภาพของตนและการใช้งาน 2.5.2 ใช้นำ้ ใชไ้ ฟ อยา่ งระมัดระวงั และเฉพาะส่วนท่จี ำเป็น 2.6 คณุ ลกั ษณะ: มุง่ มน่ั ในการทำงาน ความหมาย มุ่งม่ันในการทำงาน หมายถงึ ความสามารถทางร่างกาย ความคิด จิตใจ ที่จะปฏบิ ัติกิจกรรมต่าง ๆ ให้สำเรจ็ ลลุ ่วงตามเปา้ หมายที่กำหนด ไมย่ อ่ ท้อตอ่ ปัญหาอปุ สรรค ตัวบ่งช้ีคณุ ลกั ษณะ ม่งุ มัน่ ในการทำงาน
29 2.6.1 มคี วามเขม้ แข็ง พยายามเอาชนะปญั หาอุปสรรคโดยไมย่ อ่ ทอ้ 2.6.2 มีจติ ใจหนกั แน่น สามารถควบคมุ อารมณ์และพฤตกิ รรมให้เป็นปกตเิ มอ่ื พบ กับปญั หาหรอื ส่ิงยั่วยุต่าง ๆ 2.7 คณุ ลกั ษณะ: รักความเปน็ ไทย ความหมาย รักความเปน็ ไทย หมายถงึ ลกั ษณะของบคุ คลที่แสดงถึงการปฏบิ ัตติ นทัง้ กาย ใจ และความคิดท่คี ำนึงถงึ ความเป็นไทย ตวั บง่ ชี้คุณลักษณะ รักความเปน็ ไทย 2.7.1 ใช้สิ่งของที่ผลติ ในประเทศ 2.7.2 เขา้ รว่ มกจิ กรรมทเ่ี กยี่ วข้องกับวัฒนธรรม ประเพณีไทยและแตง่ กาย แบบ ไทย 2.7.3 ใชภ้ าษาไทยไดถ้ กู ต้อง 2.8 คุณลักษณะ: มีจติ สาธารณะ ความหมาย มจี ติ สาธารณะ หมายถึง ลกั ษณะของบคุ คลทแ่ี สดงถงึ การใช้วาจา ใจ และ กาย ต่อบคุ คลอ่นื ดว้ ยความเมตตา ใหค้ วามชว่ ยเหลอื โดยไม่หวังสิ่งตอบแทน ตวั บง่ ช้คี ุณลกั ษณะ มีจติ สาธารณะ 2.8.1 รว่ มกจิ กรรมการบำเพญ็ ประโยชนส์ าธารณะ เช่น วัด, โบราณสถาน 2.8.2 อาสาปฏบิ ัตกิ จิ กรรมสาธารณประโยชน์ 3. เกณฑ์การประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 3.1 เกณฑก์ ารประเมินตัวบง่ ชี้ 3.1.1 เกณฑร์ ะดับคุณภาพ ดีเยย่ี ม หมายถงึ ผเู้ รียนมพี ฤตกิ รรมตามตวั บ่งชี้ รอ้ ยละ 80 – 100 ของจำนวนครั้งของการประเมินทงั้ หมด ดี หมายถึง ผเู้ รียนมีพฤติกรรมตามตัวบง่ ช้ี ร้อยละ 65 – 79 ของจำนวนครงั้ ของการประเมนิ ทั้งหมด ผ่าน หมายถงึ ผ้เู รียนมีพฤตกิ รรมตามตัวบง่ ช้ี ร้อยละ 50 – 64 ของจำนวนครง้ั ของการประเมนิ ท้ังหมด ไมผ่ ่าน หมายถึง ผเู้ รียนมีพฤตกิ รรมตามตวั บง่ ช้ี รอ้ ยละต่ำ 50 ของจำนวนครั้งของการประเมินทั้งหมด 3.1.2 เกณฑก์ ารตดั สนิ การผ่านแตล่ ะตวั บง่ ชี้ ผ้เู รยี นต้องมีพฤตกิ รรมตามตวั บ่งชอ้ี ยูใ่ นระดับผา่ นข้ึนไป ถือวา่ ผ่านแต่ละตวั บง่ ช้ี 3.2 เกณฑก์ ารประเมินคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 3.2.1 ให้คิดค่าฐานนยิ ม (Mode) จากเกณฑก์ ารประเมนิ ตัวบง่ ชีม้ าเปน็ ระดับ คณุ ภาพของคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์แต่ละขอ้
30 3.2.2 ใหค้ ดิ ค่าฐานนยิ ม จากเกณฑ์การประเมนิ คณุ ลักษณะ 8 ข้อ สรปุ เปน็ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคข์ องรายวิชานัน้ ๆ 3.2.3 ให้คดิ ค่าฐานนยิ ม จากคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์รายวชิ า สรปุ เป็น คณุ ลักษณะอันพึงประสงคข์ องผู้เรยี นรายบคุ คล 3.3 เกณฑ์การตดั สินแต่ละคุณลกั ษณะ ผเู้ รยี นต้องได้รบั การประเมินอยู่ในระดับคณุ ภาพ ผ่านขึ้นไป ถอื วา่ ผา่ น แนวการพัฒนาและประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ระดับผปู้ ฏิบตั ิ ในการพฒั นาและประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงคน์ นั้ โรงเรียนกำหนดใหผ้ สู้ อน ทุกรายวชิ า ผูร้ บั ผดิ ชอบงาน / โครงการ กิจกรรม และกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียนท่ีนอกเหนือจากครผู ูส้ อน รายวิชาต่าง ๆ ไดด้ ำเนนิ การดงั นี้ 1.1 ครูผสู้ อนรายวชิ าตา่ ง ๆ ทกุ รายวชิ า ใหจ้ ัดกิจกรรมการเรยี นรู้ในรายวชิ าของ ตนโดยสอดแทรก คณุ ลักษณะอนั พึงประสงคข์ องสถานศกึ ษาในคณุ ลกั ษณะใดคุณลกั ษณะหนง่ึ ท่เี หมาะสม และสอดคล้องกบั การจัดกิจกรรมการเรียนร้นู ั้น ๆ โดยใหร้ ะบไุ ว้ในแผนการจัดกิจกรรมการเรยี นรทู้ ุกแผน 1.2 ผรู้ ับผดิ ชอบงาน / โครงการ / กิจกรรม และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนท้ังกจิ กรรม แนะแนว กิจกรรมชมุ นุมตา่ ง ๆ ซึง่ เป็นกิจกรรมทน่ี อกเหนือจากรายวิชาตา่ ง ๆ ให้ดำเนินการจดั กิจกรรม พฒั นา คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ โดยระบไุ วใ้ นแผนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 1.3 ผู้รบั ผิดชอบทัง้ ข้อ 1.1 และ 1.2 ดำเนินการพัฒนาพร้อมกับประเมินผลและ ปรบั ปรุงผู้เรียน เปน็ ระยะ ๆ เพือ่ แสดงพัฒนาการของผู้เรยี น บนั ทึกรอ่ งรอยหลกั ฐานการประเมนิ และ ปรับปรุงอยา่ งต่อเน่อื ง เมือ่ เสรจ็ สนิ้ ภาคเรยี น / ปลายปี หรือสน้ิ โครงการ กิจกรรม ใหม้ กี ารประเมินและ สรุปผลบันทกึ ลงใน แบบ ปพ. 5 และระบุ จุดเดน่ จดุ ดอ้ ย ของผูเ้ รยี นแต่ละคน ตามเกณฑ์ทก่ี ำหนดไว้ พร้อม แนบขอ้ มูล บนั ทกึ หลกั ฐานรอ่ งรอยการประเมนิ และปรับปรงุ ประกอบส่งให้คณะกรรมการของกล่มุ สาระการ เรยี นรู้ ของตนเอง ไดต้ รวจสอบความถูกตอ้ งสมบรู ณ์ 1.4 คณะกรรมการแตล่ ะกลุม่ สาระรวบรวมผลการประเมนิ ท้ังหมด และสรุปผลการ ประเมนิ ลงใน ใบ แบบ ปพ. 5 สง่ คณะกรรมการประเมนิ คณุ ลักษณะของสถานศกึ ษาท่ีไดร้ ับการแต่งตั้งเพื่อ ดำเนนิ การ ตอ่ ไป 2. ระดับคณะกรรมการประเมินคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคข์ องสถานศึกษา ใหม้ ีการประเมนิ และตดั สนิ ผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงคข์ องผู้เรียนทุก ภาคเรียน / ปี โดยสถานศึกษาแตง่ ตง้ั คณะกรรมการประเมินและตดั สินผลการประเมินคุณลักษณะอนั พึง ประสงค์ ระดบั ชั้นละ 3 - 5 คน ดำเนินการ ดังน้ี 2.1 คณะกรรมการทุกระดบั ชนั้ ศกึ ษาและทำความเขา้ ใจรว่ มกันในเรื่องของเกณฑ์
31 การประเมนิ ระดบั คุณภาพ ตลอดจนแนวทางการประเมินท่สี ถานศึกษากำหนดไว้ 2.2 คณะกรรมการประเมนิ แตล่ ะระดับช้นั นําผลการประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์จากผู้ ปฏิบัตใิ น ข้อ 1 มาร่วมกนั พจิ ารณาผลการประเมนิ และขอ้ มลู จากการบนั ทึกรอ่ งรอยหลักฐาน ทีแ่ นบมา เปน็ รายบุคคลเทยี บกบั เกณฑท์ ี่กำหนดไว้ แล้วตดั สินผลการประเมนิ สรุปผลการประเมิน บนั ทึกลง ใน แบบ ปพ. 5 ระบจุ ุดเด่นจุดดอ้ ยของผ้เู รยี นเป็นรายบุคคล สง่ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการ เห็นชอบ และเสนอผู้บรหิ ารอนุมตั ผิ ลการประเมนิ 2.3 กรณที ค่ี ณะกรรมการไมส่ ามารถตดั สนิ ผลการประเมนิ เน่ืองจากขอ้ มลู ไม่ เพยี งพอ ให้คณะกรรมการขอขอ้ มูลเพม่ิ เติมจากผูร้ บั ผดิ ชอบ จนสามารถตัดสนิ ผลการประเมินได้ 2.4 นายทะเบยี นนำผลการตดั สินมาดำเนินการจดั ทำ ปพ.4 และหลกั ฐาน การศึกษาอ่นื ท่ีเก่ียวขอ้ ง และประกาศใหผ้ ู้เกีย่ วขอ้ งรับทราบตอ่ ไป 3. การประเมินการเลอ่ื นช้นั / การจบหลักสตู ร คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู รและวิชาการ นําผลการประเมินรายภาค / รายปี มารว่ มพิจารณาและ ตดั สนิ ผลการเลื่อนชั้น 1 จบหลักสูตร แนวทางในการซอ่ มเสริมคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1.คณะกรรมการประเมนิ คณุ ลกั ษณะรว่ มกนั พิจารณาวา่ ผูเ้ รียนมีคณุ ลักษณะใดที่ ต้องพัฒนาปรับปรงุ 2. คณะกรรมการประเมินคุณลกั ษณะกำหนดแนวทางในการพัฒนาปรบั ปรุงพร้อม ระยะเวลาโดย มอบหมาย ให้ทป่ี รกึ ษาในระบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี น ดำเนินการตดิ ตามช่วยเหลอื แนะนำ การปฏบิ ตั งิ าน ตามแนวทางทีค่ ณะกรรมการกำหนด 3. กจิ กรรม ในการพัฒนาปรบั ปรงุ ผเู้ รยี น 3.1 กำหนดภาระงานหรอื กจิ กรรมทีส่ อดคลอ้ งกบั ตัวบ่งช้ขี องคุณลักษณะ ทีต่ ้องพฒั นา ปรับปรุง 3.2 ผเู้ รยี นร่วมกจิ กรรมท่ีสอดคลอ้ งกับคณุ ลกั ษณะที่ต้องพฒั นาปรับปรงุ ทง้ั ในและนอก โรงเรียน 3.3 ผู้เรยี นเสนอโครงงาน / งาน ทสี่ อดคล้องกบั คณุ ลักษณะทต่ี ้องพัฒนา ปรบั ปรุงใหค้ ณะกรรมการประเมินคุณลกั ษณะเห็นชอบ 4. ผู้เรียนปฏิบัตติ ามแนวทางทคี่ ณะกรรมการกำหนดหรือเห็นชอบ และรายงานผล การปฏบิ ตั ใิ หท้ ี่ ปรึกษาในระบบดูแลทราบเปน็ ระยะ ๆ พรอ้ มกับมผี รู้ ับรองผลการปฏบิ ตั โิ ดยท่ีปรึกษาบนั ทกึ ข้อคดิ เห็นใน การปฏบิ ตั ิกจิ กรรมจนเสรจ็ สิ้นกิจกรรม 5. ที่ปรกึ ษาในระบบดแู ล บนั ทกึ ผลแสดงพฒั นาการคณุ ลักษณะของผู้เรยี นทีแ่ สดง ร่องรอย หลกั ฐานการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมต่าง ๆ รวบรวมผลการปฏิบัตสิ ่งคณะกรรมการประเมนิ คุณลักษณะอนั พึง ประสงค์ 6. คณะกรรมการประเมนิ คณุ ลักษณะพจิ ารณารอ่ งรอยหลักฐานผลการปฏิบตั ิ
32 กิจกรรมเทยี บกับ เกณฑท์ กี่ ำหนด แลว้ ประเมินและตดั สินผลการซอ่ มเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์สรปุ ผล เสนอต่อคณะ กรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการเหน็ ชอบ เพือ่ เสนอตอ่ ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาอนมุ ัตติ ่อไป 7. นายทะเบยี นวดั ผลดำเนนิ การจดั ทำ ปพ.4 และแจง้ แก่ผเู้ ก่ยี วข้องตอ่ ไป สว่ นท่ี 4 การพฒั นาและประเมินความสามารถในการอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขยี น การอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขียน จำนวน 3 ขอ้ คอื 1. อา่ นและเข้าใจ สามารถคดิ วิเคราะห์ สังเคราะหไ์ ด้อย่างมเี หตุผลเป็นระบบ และเขียน เสนอความคิดได้ ตวั บง่ ชี้ที่ 1 เขยี นรายงานเร่ืองที่ศกึ ษาค้นควา้ ได้ ตวั บง่ ช้ีที่ 2 ตอบคำถามจากเรื่องทีศ่ ึกษาค้นคว้าได้ ตวั บ่งชี้ท่ี 3 เขียนแสดงความคดิ เห็นจากเร่ืองท่ีอา่ นได้ ตัวบง่ ช้ีที่ 4 เขยี นสรุปจากเรื่องท่ีอา่ นได้ 2. นำความรู้ความเขา้ ใจทไ่ี ดจ้ ากการอ่านไปใช้ในการแกป้ ัญหา ตดั สนิ ใจ คาดคะเน เรื่องราว หรือเหตกุ ารณ์ และสรุปเป็นแนวปฏบิ ตั ไิ ด้ ตัวบง่ ชี้ท่ี 1 ทำโครงงาน / รายงานในเรื่องท่ีสนใจไดต้ ามศกั ยภาพ ตัวบ่งช้ที ี่ 2 นำเสนอโครงงาน / รายงานไดต้ ามศักยภาพ ตัวบง่ ช้ีที่ 3 เนอื้ หาในการทำโครงงาน / รายงานสอดคล้องกบั เร่อื งที่เรียน ตวั บ่งช้ที ี่ 4 เขยี นขัน้ ตอนในการปฏิบตั ิงานได้ 3. มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ และสามารถเขียนถา่ ยทอดความคิดเพือ่ การสอื่ สารได้ ตัวบง่ ชท้ี ี่ 1 เขยี นเรอื่ งราวเชงิ สรา้ งสรรค์ได้ตามศกั ยภาพ ตวั บง่ ชท้ี ี่ 2 เขยี น / วาดภาพจากจนิ ตนาการในเรือ่ งทต่ี นสนใจได้ แนวทางและวิธีการประเมิน การประเมนิ ความสามารถในการอ่าน คิด วเิ คราะห์ และเขียน โรงเรียนจะใชแ้ นวทางการวัดและ การประเมินจากการปฏิบัติจรงิ (Authentic Performance Measurement) จึงกำหนดแนวทางและวธิ ีการ ประเมินใหค้ รผู ู้สอนทกุ กลุ่มสาระการเรยี นร้นู ำไปใช้ในการประเมินดังน้ี 1. วธิ กี ารประเมิน 1.1 ความสามารถจรงิ ของผ้เู รียนในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมทางการเรียนรายวชิ าตา่ ง ๆ ในส่วน ที่เก่ียวกับการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียน โดยการสงั เกตของครู 1.2 มอบหมายใหผ้ ้เู รียนไปศกึ ษาค้นควา้ แลว้ เขียนเปน็ รายงาน 1.3 ผลงานเชงิ ประจกั ษต์ ่าง ๆ เก่ยี วกบั การอา่ น การคิด การวิเคราะห์ และเขยี นที่ รวบรวม และนำเสนอในรูปของแฟม้ สะสมงาน 1.4 การทดสอบโดยใชแ้ บบทดสอบแบบเขียนตอบ หรือเขียนเรียงความ 1.5 การเขยี นรายงานจากการปฏบิ ัตโิ ครงงาน 2. เกณฑก์ ารประเมนิ ผลงานการเขยี นจากการอา่ น คิด วิเคราะห์ 2.1 การใชก้ ระบวนการอา่ นอย่างมีประสิทธิภาพ
33 2.2 การแสดงความคดิ เห็นอย่างมวี ิจารณญาณ 2.3 ใช้กระบวนการเขียนส่อื ความอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 3. เกณฑ์ระดับคณุ ภาพ ความสามารถในการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียน เกณฑ์ระดบั คุณภาพ : การอา่ น ดีเยยี่ ม ระบสุ าระของเร่อื งที่อา่ นได้ถูกต้องครบถว้ น ลำดบั เรอ่ื งทอ่ี า่ นไดถ้ กู ตอ้ ง ระบุ ประเดน็ สำคญั ของเรอ่ื งทอี่ ่านไดถ้ ูกตอ้ ง ระบจุ ดุ ม่งุ หมาย และเจตคติ ของผ้เู ขียน ดี ระบุสาระของเรือ่ งทอ่ี ่านได้ถกู ต้องครบถ้วน ลำดับเรื่องท่ีอา่ นไดถ้ ูกตอ้ ง ระบุ ประเด็นสำคญั ของเร่ืองท่ีอา่ นไดถ้ ูกตอ้ ง ระบจุ ดุ มุ่งหมาย และเจตคตขิ องผู้เขยี นไม่ ครบถว้ น ผ่าน ระบสุ าระของเรอ่ื งทีอ่ า่ นไดถ้ ูกต้องครบถ้วน ลำดับเร่ืองทอ่ี ่านคอ่ นข้างถูกต้อง ระบปุ ระเดน็ สำคญั ของเรอื่ งทอี่ ่านได้ไมส่ มบรู ณ์ ระบุจุดมุ่งหมาย และเจตคติ ของผ้เู ขยี นเพยี งเล็กนอ้ ย ไมผ่ ่าน ระบุสาระของเรื่องท่อี า่ นไดไ้ ม่ครบถว้ น ลำดับเรอ่ื งทอ่ี า่ นผดิ พลาดเลก็ นอ้ ย ระบปุ ระเดน็ สำคัญของเรอ่ื งทอ่ี ่านไมถ่ ูกตอ้ ง ไมร่ ะบุจุดมุง่ หมาย และเจตคติ ของผเู้ ขียน เกณฑ์ระดับคุณภาพ : การคดิ วเิ คราะห์ ดเี ยย่ี ม แสดงความคิดเห็นชัดเจน มเี หตผุ ลระบุข้อมลู สนบั สนนุ ท่นี า่ เชื่อถอื มคี วามคดิ ทแี่ ปลกใหม่ เป็นประโยชน์ตอ่ สังคมโดยสว่ นรวม ดี แสดงความคิดเห็นคอ่ นขา้ งชดั เจน มีเหตุผลระบุข้อมลู สนับสนนุ มีความคิด ท่เี ป็นประโยชนต์ อ่ สงั คมโดยสังคมรอบขา้ งตนเอง ผ่าน แสดงความคิดเห็นทมี่ ีเหตผุ ลระบุขอ้ มลู สนับสนุนทพ่ี อรบั ได้มคี วามคิดที่เป็น ประโยชนต์ ่อตนเอง ไมผ่ า่ น แสดงความคดิ เหน็ มีเหตผุ ล ไมช่ ดั เจน ขาดข้อมลู สนบั สนนุ มคี วามคิดทย่ี ัง มองไม่เหน็ ประโยชน์ท่ชี ดั เจน เกณฑ์ระดับคุณภาพ : การเขยี น ดเี ยยี่ ม มีจดุ ประสงคใ์ นการเขยี นชัดเจนไดเ้ น้อื หาสาระ รปู แบบการเขยี นถูกต้องมี ข้นั ตอนการเขยี นชดั เจนงา่ ยตอ่ การตดิ ตาม ใชไ้ วยากรณแ์ ละสะกดคำถูกต้อง พัฒนาสำนวนภาษาที่สอ่ื ความหมายไดช้ ัดเจนกะทัดรดั ดี มจี ดุ ประสงคใ์ นการเขยี นชัดเจนไดเ้ นือ้ หาสาระ รปู แบบการเขยี นถูกต้องมี ขัน้ ตอนการเขียนชัดเจนงา่ ยตอ่ การตดิ ตาม ใช้ไวยากรณ์และสะกดคำผดิ พลาดไม่ เกนิ 3 แหง่ พฒั นาสำนวนภาษาท่สี ือ่ ความหมายได้ชดั เจน ผ่าน มีจดุ ประสงคใ์ นการเขยี นชดั เจนและคอ่ นขา้ งไดเ้ นื้อหาสาระ รูปแบบการเขียน ถกู ตอ้ งมขี ้ันตอนการเขยี นชดั เจนง่ายต่อการติดตาม ใช้ไวยากรณ์และสะกดคำ ผดิ พลาดมากกวา่ 3 แห่ง ขาดการพฒั นาสำนวนภาษาที่สื่อความหมายไดช้ ัดเจน
34 ไมผ่ ่าน ขาดจดุ ประสงคใ์ นการเขียนและเนือ้ หาสาระน้อย ใชไ้ วยากรณแ์ ละสะกดคำ ผดิ พลาดมาก ขาดการพัฒนาสำนวนภาษาท่ีส่อื ความหมาย 4. การสรปุ ผลการประเมินความสามารถในการอ่าน คิด วเิ คราะห์ และเขียน 4.1 ให้คิดค่าฐานนิยม (Mode) จากเกณฑก์ ารประเมนิ การอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขียน มา เปน็ ระดบั คุณภาพของแต่ละรายวิชา 4.2 ใหค้ ดิ ค่าฐานนยิ ม จากเกณฑก์ ารประเมนิ การอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น ของแต่ ละ รายวชิ า สรปุ เป็นผลการประเมนิ การอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียน ของผูเ้ รียนรายบุคคล 5. เกณฑก์ ารตดั สนิ ความสามารถในการอา่ น คิด วิเคราะห์ และเขียน 5.1 ระดบั รายภาค ผเู้ รียนมีความสามารถในการอา่ น คิด วิเคราะห์ และเขยี น อยใู่ นระดับคณุ ภาพ ผา่ น ข้ึนไปถอื ว่าผา่ น 5.2 การเล่อื นชนั้ / จบหลกั สตู ร ผู้เรยี นมีความสามารถในการอ่าน คิด วเิ คราะห์ และเขยี น ผ่านทุกรายภาค แนวทางการพัฒนาและการประเมินการอา่ น คิด วเิ คราะห์ และเขยี น ระดบั ผูป้ ฏิบตั ิดังนี้ 1. กล่มุ ครผู ู้สอนแตล่ ะกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ 1.1 แต่ละกลุม่ สาระการเรียนรรู้ ่วมกนั กำหนดแนวทางในการพฒั นาความสามารถ ในการอ่าน คิด วเิ คราะห์ และเขยี น ทสี่ อดคล้องกับธรรมชาติของแต่ละกลุ่มสาระ และสอดคล้องกบั มาตรฐานการอา่ น คิด วิเคราะห์ และเขยี น ที่สถานศกึ ษากำหนด 1.2 ผู้สอนทกุ รายวิชานำแนวทางทกี่ ำหนดไวใ้ น ข้อ 1 วางแผนการจดั กจิ กรรมและ ดำเนินการจดั กิจกรรมการเรียนรู้สอดแทรกในการจดั การเรียนการสอนของตนเอง 1.3 ผู้สอนทุกรายวิชาดำเนนิ การประเมินและปรับปรงุ ความสามารถในการอา่ น คิด วิเคราะห์ และ เขียน เปน็ ระยะ ๆ เมื่อสน้ิ ภาคเรยี น / ปลายปี ประเมินผลพรอ้ มบันทกึ รอ่ งรอยหลักฐานใน การพฒั นา ปรับปรงุ และรวบรวมหลักฐานการประเมนิ ไว้ท่หี มวดวิชาเพือ่ ใชเ้ ปน็ หลกั ฐานสำหรบั ตรวจสอบ การ ปฏบิ ตั ิงานของผูส้ อน ซงึ่ จะแสดงใหเ้ หน็ ถึงความโปรง่ ใส และความยตุ ิธรรมในการประเมิน 1.4 บันทกึ สรุปผลการประเมนิ ความสามารถในการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขยี น ลงใน แบบ ปพ.5 แบบสรุปผลการประเมินการอา่ น คิด วิเคราะห์ และเขยี น 1.5 ผสู้ อนในแต่ละกลุม่ สาระรว่ มกนั ตรวจสอบความถูกตอ้ ง สมบรู ณข์ องผลการ ประเมินแต่ละ รายวชิ า แล้วสรปุ ผลการประเมนิ ในระดบั กล่มุ สาระลงใน แบบ ปพ.5 แบบสรปุ ผลการอ่าน คิด วเิ คราะห์ และเขยี น ส่งคณะกรรมการประเมนิ การอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขียน ในระดบั โรงเรยี นต่อไป 2. กลุ่มผู้รบั ผดิ ชอบกจิ กรรมพฒั นาเรียนรู้ และกลมุ่ ผู้รับผิดชอบงาน โครงการ กิจกรรม ในระดบั โรงเรียน 2.1 วางแผนกำหนดกิจกรรมพฒั นาความสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์ และ เขียนที่สอดคลอ้ ง กับกจิ กรรมในภาระงานทตี่ นเองรับผดิ ชอบ 2.2 ดำเนนิ การจัดกจิ กรรมพฒั นาตามแผนทว่ี างไว้ และประเมินพัฒนาปรบั ปรุง
35 ผเู้ รียนเป็นระยะ ๆ พร้อมบันทกึ ร่องรอยหลกั ฐาน 2.3 เม่อื สนิ้ ภาคเรยี น ใหม้ กี ารประเมินผล และสรุปผลการประเมินตามเกณฑ์ที่ สถานศึกษากำหนด ไว้ พรอ้ มให้ข้อสงั เกตท่เี ป็นจุดเดน่ จุดด้อย ของผู้เรียน บันทกึ ใน แบบ ปพ. 5 และ รวบรวมหลกั ฐาน ร่องรอยการพัฒนาปรบั ปรงุ ไว้ท่ผี ู้ปฏบิ ตั ิ เพื่อเป็นหลกั ฐานสำหรับตรวจสอบการปฏบิ ตั งิ าน ของผปู้ ฏิบัติ สง่ ผลการประเมินให้คณะกรรมการประเมนิ ระดบั โรงเรียนต่อไป 3. ระดบั คณะกรรมการประเมนิ การอา่ น คิด วเิ คราะห์ และเขยี น ของ สถานศกึ ษา 3.1 แตง่ ตงั้ คณะกรรมการประเมินการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียน จำนวน 3 – 5 คน ในแต่ละระดบั ช้ันเปน็ รายภาค 3.2 คณะกรรมการประเมนิ ฯ ศกึ ษาเกณฑก์ ารประเมิน เพื่อใหเ้ กิดความเขา้ ใจ ตรงกนั 3.3 นำผลการประเมนิ การอา่ นจากระดับผู้ปฏบิ ตั ริ ่วมกันประเมิน เพอ่ื ตดั สิน ความสามารถในการ อ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น ตามเกณฑท์ ีก่ ำหนดไว้ 3.4 กรณีท่คี ณะกรรมการ ไม่สามารถตัดสนิ ได้ คณะกรรมการขอข้อมลู จากผู้ปฏบิ ัติ เพิ่มเติม หรือทดสอบความสามารถซ้ำ แลว้ จงึ ตดั สนิ ผล 3.5 คณะกรรมการสรุปผลการประเมินเพื่อเสนอผบู้ รหิ ารโรงเรยี นอนมุ ัติผลการ ประเมิน 3.6 นายทะเบยี นวัดผลบันทึกลงใน ปพ.1 แล้วแจง้ ผลการประเมนิ การอ่าน คิด วิเคราะห์ และ เขียน ให้อาจารยท์ ่ปี รึกษาเพ่อื แจง้ ผู้ปกครอง 4. แนวทางในการซอ่ มเสรมิ และประเมนิ ผลการซ่อมเสริมการอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และ เขียน 4.1 คณะกรรมการประเมินการอา่ น คิด วิเคราะห์ และเขียน รว่ มกันพจิ ารณาว่า ผูเ้ รยี นมีจดุ ทตี่ อ้ ง พัฒนาปรับปรงุ ดา้ นใด แตง่ ต้ังท่ปี รกึ ษาโดยระบบดแู ลช่วยเหลอื นักเรียนเปน็ กรรมการ ดำเนนิ การซอ่ มเสรมิ 4.2 กำหนดภาระงานใหผ้ เู้ รยี นพัฒนา ปรับปรุง ในดา้ นที่ต้องพัฒนาปรับปรุงโดย 4.2.1 กรณี ไม่ผา่ นการประเมนิ การอา่ น 1) คณะกรรมการประเมินกำหนดภาระงานใหน้ ักเรียนอา่ น บันทกึ การอ่าน พร้อมส่งเอกสารท่ไี ดอ้ ่านไมน่ ้อยกว่า 5 เรื่อง หรือกรรมการกำหนดเร่อื ง 5 เร่ือง ให้อ่าน ภายในเวลาที่ กำหนด 2) คณะกรรมการประเมนิ ผลการอา่ นโดยตั้งประเด็นคำถามท่ี สอดคลอ้ งกบั เกณฑ์การประเมนิ ผูเ้ รียนตอบโดยการเขียนตอบหรอื ตอบปญั หาปากเปล่าก็ได้ หรืออยใู่ นดุลย พนิ จิ ของคณะกรรมการฯ
36 3) คณะกรรมการประเมินตัดสินผลการอา่ นให้ผ่าน และไดร้ ะดบั ไมเ่ กิน “ผา่ น” กรณีทซี่ ่อมเสริมไมผ่ า่ นใหค้ ณะกรรมการประเมนิ กำหนดใหผ้ เู้ รยี นพัฒนาตามวธิ ีการ ข้อ 1)-3) จนกว่าผู้เรียนจะไดร้ บั การตัดสิน ผ่าน 4.2.2 กรณีผูเ้ รยี นไมผ่ ่านการคดิ วิเคราะห์ 1) คณะกรรมการประเมนิ กำหนดภาระงานใหผ้ เู้ รียนไปฝึกคิด วิเคราะห์ ใน เร่อื งท่ีสนใจภายใน 1 สปั ดาห์ 2) คณะกรรมการประเมิน ประเมินการคิด วิเคราะห์ โดยตัง้ ประเด็นคำถามท่สี อดคล้องกับเกณฑ์การประเมนิ ผู้เรียนตอบโดยการเขียนตอบ หรือตอบปากเปล่า 3) คณะกรรมการประเมินตดั สนิ ผลการคดิ วเิ คราะห์ โดยให้ผล การประเมนิ ไม่เกิน “ผา่ น” 4) ในกรณที ผ่ี ลการประเมินไม่ผ่าน ให้คณะกรรมการประเมิน กำหนดให้ผเู้ รยี นพัฒนาตามวธิ ีการใน ขอ้ 1)-3) จนกว่าผ้เู รียนจะได้รบั การตดั สนิ ผ่าน 4.2.3 กรณีท่ีผเู้ รียน ไมผ่ ่านการประเมนิ การเขียน 1) คณะกรรมการประเมิน กำหนดภาระงานใหผ้ ้เู รยี นไปฝกึ เขียน ในเรอ่ื งที่ สนใจภายใน 1 สัปดาห์ ภายใต้การควบคุมดแู ลของครทู ีป่ รกึ ษาในระบบดแู ลชว่ ยเหลอื 2) ผู้เรียนสง่ ผลงานการเขียนทไี่ ด้พัฒนาแลว้ แก่คณะกรรมการ ประเมนิ 3) คณะกรรมการประเมินทำการประเมนิ ผลงานการเขียน ประกอบการสัมภาษณ์นักเรยี นเก่ยี วกบั กระบวนการพัฒนาการเขียน 4) คณะกรรมการตดั สนิ ผลการเขียนโดยใหผ้ ลการประเมนิ ไม่เกิน “ผา่ น” 5) ในกรณีทผ่ี ลการประเมินยังไม่ผา่ น ให้คณะกรรมการประเมนิ กำหนดให้ ผูเ้ รยี นพฒั นาตามวธิ กี าร ข้อ 1) – 4) จนกวา่ ผู้เรยี นจะไดร้ บั การตัดสนิ ผา่ น 4.3 คณะกรรมการประเมินการอ่านตดั สินผลการประเมนิ การอา่ น สง่ ผลการ ประเมนิ เสนอ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการของสถานศกึ ษาให้ความเห็นชอบ และรวบรวมส่ง ใหผ้ ้บู รหิ าร สถานศกึ ษาอนมุ ัติ นายทะเบียนวัดผลบันทึกลง ปพ.1 และแจ้งผเู้ กี่ยวขอ้ งต่อไป สว่ นที่ 5 เกณฑก์ ารตดั สนิ การเลอ่ื นชั้น และเกณฑ์การจบหลักสตู ร การตัดสินการเลอ่ื นชนั้ ในการตดั สนิ ผลการเรยี นของกล่มุ สาระการเรยี นรู้ การอ่าน คิด วิเคราะหแ์ ละเขียน คณุ ลักษณะ อนั พึงประสงค์ และกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี นนน้ั ผสู้ อนต้องคำนงึ ถงึ การพัฒนาผเู้ รียนแต่ละคนเปน็ หลัก และ ต้องเกบ็ ข้อมูลของผเู้ รียนทุกด้านอยา่ งสม่ำเสมอและตอ่ เน่ืองในแต่ละภาคเรียนรวมทั้งสอนซ่อมเสรมิ ผู้เรยี น ใหพ้ ัฒนาจนเต็มตามศกั ยภาพ ระดับมธั ยมศกึ ษา
37 1) ตดั สินผลการเรยี นเปน็ รายวชิ า ผเู้ รียนตอ้ งมีเวลาเรียนตลอดภาคเรียนไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมดในรายวชิ านน้ั ๆ 2) ผเู้ รียนตอ้ งไดร้ บั การประเมนิ ทุกตวั ชีว้ ดั และผา่ นตามเกณฑ์ทสี่ ถานศกึ ษากำหนด คือ ตวั ชวี้ ดั ท่ตี อ้ งผา่ น ไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 60 ของแตล่ ะรายวิชา 3) ผเู้ รียนต้องไดร้ ับการตัดสินผลการเรียนทุกรายวชิ า 4) ผู้เรียนต้องไดร้ ับการประเมิน และมผี ลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศกึ ษากำหนด ในการ อ่าน คิดวเิ คราะหแ์ ละเขยี น คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ และกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น การพจิ ารณาเล่ือนชัน้ ในระดับมัธยมศกึ ษา ถา้ หากผู้เรยี นมขี อ้ บกพรอ่ งเพียงเล็กนอ้ ย และ สถานศกึ ษา พจิ ารณาเห็นว่าสามารถพัฒนาและสอนซ่อมเสริมได้ ใหอ้ ยู่ในดุลพนิ จิ ของสถานศกึ ษาทีจ่ ะผอ่ น ผันใหเ้ ลอื่ นชั้น ได้ แต่หากผเู้ รียนไมผ่ า่ นรายวชิ าจำนวนมากและมีแนวโนม้ วา่ จะเปน็ ปัญหาต่อการเรียนใน ระดบั ช้ันท่ีสูงขน้ึ สถานศึกษาจะตั้งคณะกรรมการพจิ ารณาให้เรียนซำ้ ชน้ั ได้ โดยทง้ั น้จี ะคำนงึ ถึงวฒุ ภิ าวะ และความรู้ ความสามารถของผู้เรียนเป็นสำคัญ เกณฑ์การจบหลักสตู รระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น 1) ผเู้ รยี นเรียนรายวชิ าพน้ื ฐานและเพิม่ เติมไมเ่ กิน 81 หน่วยกติ โดยเปน็ รายวชิ าพ้นื ฐาน 66 หนว่ ยกติ และรายวิชาเพ่ิมเติมตามที่สถานศึกษากำหนด 2) ผู้เรียนต้องไดห้ นว่ ยกิตตลอดหลักสตู รไมน่ อ้ ยกวา่ 17 หนว่ ยกิต โดยเปน็ รายวิชาพ้ืนฐาน 66 หนว่ ยกติ และรายวิชาเพม่ิ เตมิ ไม่น้อยกวา่ 11 หนว่ ยกติ 3) ผเู้ รยี นมีผลการประเมิน การอา่ น คิดวเิ คราะห์และเขยี น ในระดบั ผ่าน เกณฑ์การ ประเมิน ตามทีส่ ถานศึกษากำหนด 4) ผู้เรียนมผี ลการประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดบั ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ตามที่ สถานศึกษากำหนด 5) ผู้เรยี นเขา้ รว่ มกิจกรรมพฒั นาผู้เรียนและมผี ลการประเมินผา่ นเกณฑ์การประเมินตามที่ สถานศึกษากำหนด ส่วนท่ี 6 การประเมนิ ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นระดับชาติ (National test) ในการประเมนิ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนด้วยแบบประเมนิ ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นท่เี ป็นระดบั มาตรฐานระดบั ชาติ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ไดก้ ำหนดให้มีการประเมินเพ่ือตรวจสอบคุณภาพการศึกษาทกุ ระดบั ชั้น เพือ่ ให้การดำเนินงานเปน็ ไปอย่างมีประสิทธภิ าพ โรงเรยี นจงึ ได้กำหนดแนวทางปฏบิ ตั ิไว้ดังนี้ 1. ผแู้ ทนสถานศกึ ษาเขา้ รบั การประชุมชี้แจงวิธีการดำเนินการทดสอบร่วมกับสำนกั งานเขต พนื้ ท่ี
38 2. จัดสง่ รายชอ่ื คณะกรรมการดำเนนิ งานประเมนิ คุณภาพการศึกษา ประกอบดว้ ยประธาน กรรมการ คณะกรรมการกลาง กรรมการควบคุมห้องสอบ คณะกรรมการตรวจคำตอบชนิดเขยี นตอบ และ กรรมการรบั – ส่งขอ้ สอบ ส่งไปให้สำนักงานเขตพน้ื ทเี่ พ่อื แตง่ ตงั้ 3. คณะกรรมการบริหารหลักสตู รและวิชาการของสถานศึกษาประชุมชแี้ จงคณะกรรมการ ดำเนนิ การประเมนิ คุณภาพตามคำส่ังจากขอ้ 2 ถึงวิธีการดำเนินการสอบเพือ่ ให้เกดิ ความเขา้ ใจและปฏิบตั ิได้ ตรงกนั ตามแนว ปฏบิ ตั ิในคู่มอื การประเมินผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนของนกั เรียนเพ่ือใหเ้ กิดความยตุ ธิ รรม และเปน็ ไปตาม การดำเนินการสอบแบบทดสอบมาตรฐานอย่างเครง่ ครดั 4. คณะกรรมการกลางจัดพมิ พ์รายช่อื พร้อมกำหนดรหัส / เลขทน่ี กั เรียนตามจำนวน นักเรยี น / หอ้ งเรียนทีก่ ำหนดไว้ในคมู่ ือนำไปประกาศไว้หน้าห้องสอบแต่ละห้อง เพื่อให้นกั เรียนได้ทราบว่า ตนเอง เลขทเี่ ทา่ ไร สอบหอ้ งที่เทา่ ใด พรอ้ มติดเลขทข่ี องนักเรยี นไวบ้ นโต๊ะทนี่ ่ังสอบ 5. คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการประชมุ ชี้แจงนักเรียนให้ตระหนกั ถึง ความสำคญั ของ การประเมินผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนระดบั ชาติ ทั้งในดา้ นสว่ นตวั ระดบั โรงเรียน ระดับเขต และ ระดับชาติ ควรให้ความร่วมมือ ตั้งใจในการสอบอยา่ งเต็มความสามารถ 6. กรณีท่นี กั เรียนไมไ่ ดร้ ับการประเมินตามวันเวลาทกี่ ำหนด ให้สถานศึกษาแต่งตั้ง ผรู้ บั ผิดชอบ ติดตาม และประสานงานกบั เขตพื้นท่ีดำเนนิ การประเมินใหเ้ สร็จสน้ิ ภายใน 2 สปั ดาห์ หลงั จาก ทราบ รายชื่อนกั เรียนท่ยี ังไม่ได้รบั การประเมนิ 7. เม่ือสำนักงานเขตพนื้ ที่แจ้งผลการประเมนิ มายังสถานศกึ ษา ให้นำผลการประเมนิ มา ทบทวน คณุ ภาพร่วมกันระหวา่ งคณะกรรมการบริหารหลกั สูตรและวิชาการ กบั คณะกรรมการสถานศึกษา และแจง้ ผลการประเมนิ ใหผ้ เู้ กยี่ วข้องทราบผลและดำเนินการต่อไป โดยเฉพาะผเู้ รยี นและครผู ูส้ อนนำไป พจิ ารณา ในการพฒั นาปรับปรุงตนเองต่อไป
39 ภาคผนวก - คำสั่งแตง่ ตัง้ คณะกรรมการ - แบบฟอรม์ ต่างๆในงานวัดผล
40
41
42
Search
Read the Text Version
- 1 - 45
Pages: