สาระสาคญั เริ่มแรกในระบบการพิมพ์จะใช้ช่างศิลป์ ช่างทาแม่พิมพ์ที่มีทักษะและความชานาญในการผลิต โดยเริ่มแรกเป็นการสลักตัวอักษรลงหิน จากนั้นเริ่มเขียนบนผ้าไหม หนังสัตว์และได้มีการพัฒนาเป็นการเขียนกระดาษ ปัจจุบันมีการนาเทคโนโลยีมาใช้ ทาให้ง่ายต่อการผลิตมากย่ิงขึ้นและมีโปรแกรมสาเร็จรูปมากมาย ปัจจุบันสื่อสิ่งพิมพ์ประเภทต่างๆ มีความสาคัญเป็นอย่างมากในการนาเสนอข้อมูลข่าวสาร ภาพ ความคิดเห็น การโฆษณา การประกาศ ใบปลิว ซึ่งเป็นวิธีที่ทาให้บุคคลอื่นได้รับทราบ สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายและประวัติของส่ือส่ิงพิมพ์ 2. ประเภทและบทบาทของสื่อสิ่งพิมพ์ 3. รูปแบบของส่ือสิ่งพิมพ์ 4. ประเภทของโปรแกรมสาเร็จรปู ทีใ่ ชใ้ นการผลติ สือ่ สิ่งพมิ พ์ 5. การออกแบบและจัดหน้าส่ือสิง่ พิมพ์ 6. หลกั การเลือกตวั อักษร และพนื้ ฐานทางสี 7. ประเภทของภาพและการเลือกภาพประกอบสงิ่ พิมพ์
การผลิตส่อื สิง่ พิมพ์ :------------------->> หน่วยการเรียนที่ 1 ความรเู้ บือ้ งต้นเกีย่ วกบั สื่อส่ิงพมิ พ์ 2 ผลการเรยี นท่ีคาดหวงั เม่ือศกึ ษาเอกสารประกอบการเรียน หน่วยท่ี 1 แลว้ นักเรยี นสามารถ 1. บอกความหมายและประวัติของส่ือส่ิงพิมพ์ได้ 2. บอกประเภทและบทบาทของสอื่ ส่ิงพมิ พ์ได้ 3. บอกรูปแบบของสิง่ พมิ พไ์ ด้ 4. บอกประเภทของโปรแกรมสาเร็จรูปท่ีใช้ในการผลติ สอื่ ส่งิ พมิ พ์ 5. บอกการออกแบบและจดั หนา้ สอื่ ส่ิงพมิ พ์ได้ 6. บอกหลักการเลอื กตัวอกั ษร และพืน้ ฐานทางสีได้ 7. บอกประเภทของภาพและเลือกภาพประกอบสง่ิ พมิ พ์ได้ความร้เู บ้ืองตน้ เกีย่ วกับสอ่ื สิ่งพมิ พ์ความหมายของสอ่ื สิง่ พมิ พ์ การออกแบบและจัดหนา้ สง่ิ พิมพ์ประเภทและบทบาทของสือ่ สง่ิ พมิ มพ์ หลักการเลอื กตวั อักษร รปู แบบของสอ่ื สง่ิ พมิ พ์ และพ้นื ฐานทางสี ประเภทของโปรแกรมเรจ็ รปู ประเภทของภาพและการเลือก ท่ใี ชใ้ นการผลติ สื่อสิ่งพมิ พ์ ภาพประกอบสิ่งพิมพ์แผนภูมิท่ี 1.1 แผนผังความคดิ หน่วยการเรยี นที่ 1
การผลติ สื่อส่งิ พมิ พ์ :------------------->> หน่วยการเรียนท่ี 1 ความรเู้ บอื้ งตน้ เกีย่ วกบั ส่ือสงิ่ พมิ พ์ 3 แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยการเรียนที่ 1 คาชแี้ จง ใหน้ กั ศึกษาเลอื กคาตอบทถี่ ูกตอ้ งทสี่ ุดเพยี งข้อเดยี ว 1. หนงั สือพิมพ์ฉบบั แรกของไทย เรียกว่าอะไร ก. นิราศลอนดอน ข. บางกอกทูเดย์ ค. บางกอกรคี อรด์ เดอร์ ง. หมายประกาศห้ามสบู ฝนิ่ 2. เอกสารราชการฉบับแรกของไทย คอื ข้อใด ก. นิราศลอนดอน ข. บางกอกทูเดย์ ค. บางกอกรีคอรด์ เดอร์ ง. หมายประกาศห้ามสบู ฝิน่ 3. “เปน็ สื่อสิ่งพิมพ์ที่มลี ักษณะเป็นสมดุ เล่มเลก็ ๆ เยบ็ ตดิ กันเปน็ เลม่ จานวน 8 หนา้ “ คือขอ้ ใด ก. จุลสาร ข. วารสาร ค. แผ่นพบั ง. โบวชัวร์ 4. ขอ้ ใดคอื ความหมายของสิง่ พมิ พ์ ก. ขอ้ ความ ข้อเขียน ข. สมุด แผ่นกระดาษ ค. วถั ตถใุ ดๆ ท่พี มิ พ์ขน้ึ มา ง. ถูกทุกข้อ 5. ชาติแรกทีค่ ดิ ค้นวิธกี ารทากระดาษคอื ข้อใด ก. อเมริกา ข. จีน ค. ญี่ปนุ่ ง. ไทย 6. หลกั ฐานในการแกะพมิ พ์ครัง้ แรกของมนษุ ยค์ ือข้อใด ก. ลาสควกั ซ์ ข. อลั ตามริ า ค. ไซลนั่ ง. บกั๊
การผลติ ส่อื ส่ิงพิมพ์ :------------------->> หนว่ ยการเรียนท่ี 1 ความรเู้ บื้องตน้ เก่ยี วกับสอื่ สง่ิ พิมพ์ 4 7. “เป็นสื่อส่งิ พมิ พ์ท่ีผลิตขึ้นโดยใช้เร่ืองราวสมมติเพ่ือให้ผู้อา่ นไดร้ บั ความเพลิดเพลนิ สนุกสนาน มัก มีขนาดเลก็ “ คือข้อใด ก. จลุ สาร ข. วารสาร ค. แผ่นพบั ง. หนังสือบนั เทงิ คดี 8. สิง่ พิมพ์ประเภทลักษณะพเิ ศษ คอื ข้อใด ก. ธนานตั ิ บัตรเครดิต แสตมป์ ข. บตั รอวยพร ปฏทิ นิ บัตรเชิญ นามบตั ร ค. โบรช์ วั ว์ ใบปลวิ แผน่ พบั ใบปดิ ง. จลุ สาร วารสาร นิตยสาร หนังสือพิมพ์ 9. สง่ิ พิมพ์ประเภทโฆษณา คอื ข้อใด ก. ธนานตั ิ บัตรเครดิต แสตมป์ ข. บัตรอวยพร ปฏทิ ิน บตั รเชญิ นามบัตร ค. โบรช์ วั ว์ ใบปลวิ แผ่นพบั ใบปิด ง. จลุ สาร วารสาร นติ ยสาร หนังสือพมิ พ์ 10. ข้อใดคือขั้นตอนแรกของการออกแบบสื่อส่ิงพมิ พ์ ก. เก็บรวบรวมข้อมูลของสงิ่ พิมพ์ ข. ออกแบบแนวคิดส่อื สิง่ พมิ พ์ ค. สรุปลักษณะตา่ งๆ ง. ทดลองทาและแกไ้ ข 11. โปรแกรมที่ใช้ในการผลิตส่ือสิ่งพิมพ์ คือข้อใด ก. MS-Excel ข. PowerPoint ค. Indesign ง. Pascal 12. การสร้างภาพโดยโปรแกรม Illustrator และ CoralDraw จะได้ภาพชนิดใด ก. บิตแม็พ ข. เวกเตอร์ ค. สามมิติ ง. สองมิติ 13. รูปแบบอักษรใดที่เป็นแบบสากล ก. P5 DileniaUPC ข. P5 LilyUPC ค. BrowalliaUPC ง. JasmineUPC
การผลติ สอ่ื สิ่งพมิ พ์ :------------------->> หน่วยการเรยี นท่ี 1 ความรเู้ บื้องต้นเกยี่ วกับสอื่ สง่ิ พมิ พ์ 5 14. รูปแบบอักษรใดท่ีเป็นแบบอิสระหรือแบบธรรมชาติ ก. P5 DileniaUPC ข. P5 LilyUPC ค. BrowalliaUPC ง. JasmineUPC 15. สิง่ พมิ พป์ ระเภทเพือ่ เผยแพรข่ ่าวสาร คือข้อใด ก. ธนานตั ิ บตั รเครดติ แสตมป์ ข. บัตรอวยพร ปฏิทนิ บตั รเชญิ นามบัตร ค. โบร์ชวั ว์ ใบปลวิ แผ่นพบั ใบปิด ง. จุลสาร วารสาร นติ ยสาร หนังสือพมิ พ์ 16. สอ่ื ส่ิงพิมพ์ประเภทมคี ่าในตวั เอง คอื ข้อใด ก. ธนานตั ิ บตั รเครดิต แสตมป์ ข. บัตรอวยพร ปฏทิ ิน บัตรเชญิ นามบตั ร ค. โบรช์ วั ว์ ใบปลิว แผน่ พบั ใบปิด ง. จุลสาร วารสาร นติ ยสาร หนงั สือพิมพ์ 17. รูปแบบอักษรใดที่เป็นแบบคัดลายมือ ก. P5 DileniaUPC ข. P5 LilyUPC ค. BrowalliaUPC ง. JasmineUPC 18. หากขยายภาพแล้ว จะมีผลให้คุณภาพลดลง เป็นภาพชนิดใด ก. บิตแม็พ ข. เวกเตอร์ ค. สามมิติ ง. สองมิติ 19. รูปแบบอักษรใดที่เหมาะกับงานราชการ ก. P5 DileniaUPC ข. P5 LilyUPC ค. BrowalliaUPC ง. JasmineUPC 20. สีที่ใช้ในงานด้านกราฟิกท่ัวไปมีกี่ระบบ ก. 2 ข. 4 ค. 3 ง. 5
การผลิตส่ือสิ่งพิมพ์ :------------------->> หนว่ ยการเรยี นที่ 1 ความรเู้ บ้อื งตน้ เกีย่ วกบั สอ่ื สิ่งพมิ พ์ 6 1. ความหมายและประวตั ิของสอื่ ส่งิ พิมพ์ 1.1 ความหมายของส่อื สง่ิ พิมพ์ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ได้ให้ความหมายคาท่ีเก่ียวกับ “สื่อสิ่งพิมพ์” ไว้ ดังน้ี “ส่ิงพิมพ์ หมายถึง สมุด แผ่นกระดาษ หรือวัตถุใด ๆ ท่ีพิมพ์ขึ้น รวมตลอดท้ังบทเพลง แผนที่ แผนผัง แผนภาพ ภาพวาด ภาพระบายสี ใบประกาศ แผ่นเสียง หรือส่ิงอื่นใดอันมีลักษณะ เชน่ เดยี วกนั ” สื่อ หมายถึง การติดต่อให้ถึงกัน ชักนาให้รู้จักกัน หรือตัวกลางท่ีชักนา ติดต่อให้ถึงกัน ชกั นาให้ร้จู กั กัน พิมพ์ หมายถึง ถ่ายแบบ ใช้เครื่องจักรกดตัวหนังสือหรือภาพ ให้ติดบนวัตถุ เช่น แผ่นกระดาษ ผ้า ทาให้เป็นตัวหนังสือหรือรูปรอยอย่างใด ๆ โดยการกดหรือการใช้พิมพ์หิน เครือ่ งกล วธิ เี คมี หรือวิธีอ่นื ใดอันอาจให้เกิดเปน็ สิง่ พิมพข์ ้ึนหลายสาเนา รูปรา่ ง ร่างกาย แบบ นอกจากน้นั ยังมคี วามหมายของคาว่าพมิ พ์จากทศั นะตา่ งๆ ดังน้ี พจนานุกรมฉบับเฉลิมพระเกียรติ (2532:381) ให้ความหมาย พิมพ์ หมายถึง น. รูป แบบ, ก. ถ่ายแบบ, ใช้เคร่อื งจักรกดตัวหนังสอื หรือภาพให้ตดิ บนวัตถุ กาธร สถิรกุล ให้ความหมายคาว่า พิมพ์ หมายถึง การจาลองต้นฉบับอันหน่ึงจะ เป็น ภาพหรือตัวหนังสือก็ตามออกมาเป็นจานวนมาก ๆ เหมือนกัน บนวัสดุที่เป็นพื้นแบน หรือใกล้ เคียง กบั พืน้ แบนดว้ ยการใช้เครื่องมอื กล วัลลภ สวสั ดวิ ัลลภ ให้ความหมายคาว่า พมิ พ์ หมายถึง ทาให้เป็นตวั หนังสือ หรือรปู รอยใดๆ โดยการกดหรือการใช้พิมพ์หิน เคร่ืองกล วิธีเคมี หรือวิธีอื่นใดอันอาจให้เกิดเป็น ส่ิงพิมพ์ ขึ้นมาหลายสาเนา ทองเติม เสมรสุต ให้ความหมายคาว่า พิมพ์ หมายถึง ขอบข่ายของงานพิมพ์เป็น ประดิษฐ์การซึ่งมุ่งหมายที่จะจาลองภาพต้นฉบับ ได้แก่ ภาพวาด (Art Work) ภาพถ่าย (Photography) ตัวอกั ษร (Letter) ใหเ้ กดิ เป็นช้นิ งานท่มี ีลักษณะเหมือนภาพต้นฉบับในปริมาณมากๆ บนพื้นผวิ ของวัสดหุ ลายๆ ชนดิ ซง่ึ จะพบการพมิ พ์ที่ปรากฏในอุปกรณใ์ นการดารงชวี ิต Mill ไดใ้ หค้ วามหมายคาว่า พมิ พ์ หมายถึง กรรมวธิ ีใดๆ ในการจาลองภาพหรือ สาเนา ภาพ หรอื หนังสือจากตน้ ฉบับในลกั ษณะสองมิติ แบบราบ รวมถึงการพมิ พผ์ ้า การพิมพ์กระดาษปิดฝา ผนงั และการอดั รปู ดังนั้น “สื่อสิ่งพิมพ์” หมายถึง ส่ิงท่ีพิมพ์ขึ้นไม่ว่าจะเป็นแผ่นกระดาษหรือวัตถุใดๆ ด้วยวิธีการต่าง ๆ อันเกิดเป็นชิ้นงานท่ีมีลักษณะเหมือนตันฉบับข้ึนหลายสาเนา ในปริมาณมากเพ่ือ เป็นสิง่ ทท่ี าการติดตอ่ หรอื ชักนาใหบ้ คุ คลอ่ืนไดเ้ หน็ หรอื ทราบขอ้ ความตา่ งๆ 1.2 ประวัติของสื่อส่ิงพิมพ์ 1.2.1 ประวัติการพิมพ์ ห ลั ก ฐ า น ท า ง ป ร ะ วัติศ า ส ต ร์ ศิล ป ะ ไ ด้ ป ร า ก ฏ บ น ผ นัง ถ้า อัล ต า มิร า (Altamira) ใ น สเปน แ ล ะถ้าลาสควักซ์ (Lascaux) ใ น ฝ รั่งเศส มีผลงานแ กะสลักหิน
การผลติ ส่อื สิ่งพมิ พ์ :------------------->> หนว่ ยการเรียนที่ 1 ความรเู้ บ้ืองต้นเกี่ยวกับสื่อส่งิ พมิ พ์ 7 แกะสลัก ผนังถ้าเป็นรูปสัตว์ลายเส้น จึงเป็นหลักฐานในการแกะพิมพ์เป็นครั้งแรกของ มนุษย์ หลังจากนั้น ได้มีบุคคลคิดวิธีการทากระดาษขึ้นมาจนเป็นการพิมพ์ในปัจจุบัน คือ ไซลั่น เป็นชาวจีน ได้ผลิตหมึกแท่งขึ้น โดยใช้เขม่าไฟเป็นเนื้อสี (Pigment) ผสมกาวเคี่ยว จากกระดูกสัตว์ หนังสัตว์และเขาสัตว์เป็นตัวยึด (Binder) แล้วทาเป็นแท่ง เรียกว่า บั๊ก (วัลลภ สวัสดิวัลลภ, 2527: 82) สาหรับช้ินงานพิมพ์เก่าแก่ที่สุดและยังหลงเหลืออยู่ได้แก่การพิมพ์โดย จักรพรรดินีโชโตกุ แห่งญี่ปุ่น ค.ศ.770 โดยพระองค์รับสั่งให้จัดพิมพ์คาสวดปัดรังควาน ขั บ ไ ล่ วิ ญ ญ า ณ ห รื อ ผี ร้ า ย ใ ห้ พ้ น จ า ก ป ร ะ เ ท ศ ญ่ี ปุ่ น แ ล ะ แ จ ก จ่ า ย ไ ป ต า ม วั ด ทั่ ว ญี่ ปุ่ น เ ป็ น จา น ว น หน่ึงล้านแผ่น ซึ่งต้องใช้เวลาตีพิมพ์ 6 ปี (สน่ัน ปัทมะทิน, 2513: 121) พัฒนาการของระบบการพิมพ์ ตรวจสอบประวัติได้ชัดเจนที่สุด มี ความเป็นมาตามลาดับดังนี้ ในปี พ.ศ. 143 ชาวจีนเขียนตัวหนังสือลงบนผ้าไหม (Silk) ปี พ.ศ. 187 ชาวจีน และผู้คนที่อยู่ในแถบเอเชียกลางรู้วิธีแกะสลัก ตัวอักษรลงบน แผ่นหิน กระดูกสัตว์และงาช้าง แล้วทาการพิมพ์ประทับลงบนแผ่นดิน เหนียว หรือแผ่นข้ีผ้ึง ซ่ึงถือได้ว่าเป็นต้นกาเนิดของแม่พิมพ์ แบบตัวเรียง ปี พ.ศ. 648 ชาวจีนค้นคิดวิธีทากระดาษจากเย่ือไม้ ปี พ.ศ. 718 ชาวจีนรู้จักวิธีแกะตัวอักษรลงบนแผ่นหินแล้วใช้ถ่าน หรือสีทาตัวอักษร สามารถพิมพ์เป็นเอกสาร ตารา หรือข้อความส่ือสารได้ ปี พ.ศ. 943 ชาวจีนรู้วิธีการเอาขเม่าไฟมาผสมกาวท่ีเคี่ยวจากกระดูก และหนังสัตว์มาทาเป็นหมึกพิมพ์ และก่อนหน้าชาวจีน ชาวอียิปต์ก็สามารถทาหมึกพิมพ์ จากผงถ่านผสม กับแป้งเปียกได้เช่นกัน แต่คุณภาพของหมึกพิมพ์ไม่ดี ปี พ.ศ. 998 ชาวจีนรู้วิธีแกะตัวอักษรลงบนวัตถุชนิดต่าง ๆ เช่น ไม้ และหิน แล้วจิ้มหมึกพิมพ์ประทับลงบนกระดาษ คล้าย ๆ กับการประทับตราต่างๆ ใน ปัจจุบัน ปี พ.ศ. 1118 ชาวจีนทาบล็อกไม้ พิมพ์พวกตัวอักษรเป็นตัวหนังสือ และคาอวยพรต่างๆ ปี พ.ศ. 1193 พระสงฆ์ชาวจีนได้สร้างพระพิมพ์ลงบนผ้าด้วยวิธีแรเงา จากภาพ หินหรือเสโตนรับปิ้ง (Stonerubbing) และได้คิดค้นวิธีการพิมพ์แบบฉลุหรือ สเตนซิล (Stemcil) ปี พ.ศ. 1313 ชาวญ่ีปุ่นพิมพ์ข้อความลงบนกระดาษท่ีทาจากปอได้ ปี พ.ศ. 1311 ชาวจีนพิมพ์หนังสือ “วัชรสูตร ”ที่ใช้ในกิจการของ พระพุทธศาสนา บนกระดาษแบบม้วนที่มีความยาว 17.5 ฟุต กว้าง 10.5 นิ้ว ปี พ.ศ. 1515 ชาวจีนได้พิมพ์พระไตรปิฎกมีความยาว 130,000 หน้า ปี พ.ศ. 1584-1592 ชาวจีนไปเช้ง (Peicheng) ใช้ดินเหนียวแกะเป็น ตัวหนังสือแล้วเผาไฟทาเป็นตัวพิมพ์และได้ประดิษฐ์แท่นพิมพ์ชนิดเรียงตัวพิมพ์แบบแท่น เคลื่อนท่ี ปี พ.ศ. 1933 ชาวเกาหลีได้สร้างตัวพิมพ์เป็นแบบทองเหลืองหล่อ
การผลติ สอ่ื ส่งิ พิมพ์ :------------------->> หน่วยการเรยี นท่ี 1 ความรเู้ บอ้ื งตน้ เกยี่ วกบั สือ่ สงิ่ พมิ พ์ 8 ปี พ.ศ. 2066 ชาวยุโรปเริ่มการพิมพ์ด้วยบล็อกไม้ 1.2.2 วิวัฒนาการส่ือส่ิงพิมพ์ต่างประเทศ ในศตวรรษที่ 15 การพิมพ์เริ่มทันสมัยมากขึ้นเมื่อนายโจฮันกูเต นเบิร์ก(Johann Gutenberg) ชาวเยอรมัน ได้พิมพ์พระคัมภีร์ไบเบิล (Bible) โดยใช้แท่น พิมพ์ไม้ด้วยมือ และได้รับการยกย่องให้เป็นบิดาแห่งการพิมพ์ในอารยะธรรมตะวันตก ภาพที่ 1.1 แสดงภาพกูเตนเบิร์กและแทน่ พมิ พ์โมวาเบลิ ไทป์ (Movable type) 1.2.3 วิวัฒนาการส่ือส่ิงพิมพ์ในประเทศไทย ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช กรุงศรีอยุธยา ประมาณปี ค.ศ. 1662 มิชชันนารีฝรั่งเศส ชื่อลาโน (Mr.Laneau) พิมพ์หนังสือคาสอนทางคริสต์ศาสนา ข้ึนพิมพ์ที่เมืองลพบุรี ต่อมาได้หยุดชะงักและไม่ปรากฏว่ามีหลักฐานการพิมพ์หลงเหลืออยู่ พ .ศ . 2536 (ค .ศ . 1813) น า ง จัด สัน (Nancy Judson) ไ ด้ห ล่อ ตัวพิมพ์เป็นภาษาไทยเป็นครั้งแรก ต่อมาร้อยเอกเจมส์ โลว์ (Captain James Low) ได้ จัด พิม พ์ห นัง สือ ไ ว ย า ก ร ณ์ ขึ้น ชื่อ ว่า A Grammar of the Thai พิม พ์ที่ The Baptist Mission Press ที่เมืองกัลกัตตา จัดเป็นหนังสือที่พิมพ์ด้วยตัวเรียงภาษาไทยที่เก่าแก่ท่ีสุด หมอบรัดเลย์ ได้เข้ามาเมืองไทย และเริ่มด้านงานพิมพ์ จนสนใจธุรกิจ ด้านงานพิมพ์ในเมืองไทย พ.ศ. 2382 ได้พิมพ์เอกสารทางราชการเป็นชิ้นแรกคือหมาย ประกาศห้ามสูบฝิ่น โดยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดให้จ้างพิมพ์จานวน 9,000 ฉบับ และหมอบรัดเลย์ ได้ถึงแก่กรรมในเมืองไทย วันที่ 23 มิ.ย. พ.ศ. 2414
การผลิตสื่อสิง่ พิมพ์ :------------------->> หน่วยการเรยี นที่ 1 ความรเู้ บ้ืองตน้ เกย่ี วกบั สือ่ สิ่งพิมพ์ 9 นับว่าเป็นผู้ริเริ่มกิจการพิมพ์ขึ้นอย่างเป็นระบบและเป็นรากฐานแก่การพิมพ์ของไทยมา จนถึงปัจจุบัน เมื่อวันที่ 4 ก.ค. 2387 ได้ออกหนังสือฉบับแรกขึ้น คือ บางกอกรี คอร์ดเดอร์ (Bangkok Recorder) เป็นจดหมายเหตุอย่างสั้น ออกเดือนละ 2 ฉบับ 15 มิ.ย. พ.ศ. 2504 ได้พิมพ์หนังสือเล่มออกจาหน่าย โดยซื้อลิขสิทธ์ิ จากหนังสือนิราศลอนดอน ของหม่อมราโชทัย นับเป็นการเริ่มต้นของการซื้อขายลิขสิทธิ์ และการพิมพ์หนังสือออกจาหน่ายในเมืองไทย กรมแผนที่ทหาร เป็นหน่วยงานแรกที่นาเครื่องพิมพ์ด้วยแสง (Photo Composition) เข้ามาใช้องค์การค้าของคุรุสภา ได้จัดต้ังโรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าวข้ึนในปี พ.ศ. 2500 และนาเครื่องพิมพ์แบบโรตารีออฟเซต (Rotary off Set) มาใช้เป็นคร้ังแรก โรงพิมพ์ ไทยวัฒนาพานิชนาเครื่องหล่อเรียงพิมพ์ Monotype มาใช้ กับตัวพิมพ์ภาษาไทย ธนาคารแห่งประเทศไทยได้จัดตั้งโรงพิมพ์ธนบัตรเพื่อพิมพ์ธนบัตร ขึ้นใช้เอง และได้มีการตั้งโรงงานเพื่อผลิตวัสดุทางการพิมพ์ เช่น เครื่องพิมพ์ขนาดเล็ก หมึกพิมพ์ กระดาษพิมพ์ เป็นต้น พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นคนไทยพระองค์แรกท่ี เริ่มต้นกิจการพิมพ์ของไทย โปรดสั่งเครื่องพิมพ์มาตั้งไว้ที่วัดบวรนิเวศวิหาร และให้แกะ ตัวพิมพ์เป็นอักษร อริยกะ ใช้พิมพ์หนังสือสอนศาสนา เช่น พระปาฏิโมกข์ หนังสือสวด มนต์ โดยมีพระสงฆ์ในวัด เป็นผู้จัดพิมพ์ ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ จัดตั้งโรงพิมพ์ ชื่อว่า โรงพิมพ์อักษรพิมพการ และพิมพ์งานชิ้นแรกคือ หนังสือราชกิจจา นุเบกษา เม่ือปี พ.ศ. 2401 (วัลลภ สวัสดิวัลลภ, 2527 “121-123) ปี พ.ศ. 2448 หลวงไพศาลศิลปศาสตร์ เจ้ากรมบัณฑิตได้ก่อสร้างตั้ง กองช่าง ออกแบบหนังสือแบบเรียน ได้แก่ หนังสือปฐม ก. กา (อัสนีย์ ชูอรุณ, 2517: 62) ในระหว่างปี พ.ศ. 2354 เฟรดริค เคอร์นิค (Friedrieh Koening) ชาวเยอรมัน ได้ประดิษฐ์เครื่องพิมพ์แบบใช้ลูกกลิ้งขับเคลื่อนด้วยไอน้า แทนการใช้แรงกด โดยการขันสกรูของ กูเตนเบิร์ก แท่นพิมพ์มีลักษณะแบน กระดาษจะพันอยู่กับลูกกลิ้ง แท่นพิมพ์จะวิ่งผ่านลูกกลิ้ง ทาให้ลูกกลิ้งหมุนกระดาษลงมาทับกับตัวพิมพ์ได้พอดี วิธีนี้ถ้า ใช้ลูกกลิ้ง 2 อัน คือ แท่นพิมพ์วิ่ง ไป 1 รอบ ซึ่งใน 1 ชั่วโมงพิมพ์ได้ 1,100 แผ่น โดย ถือเป็นต้นแบบของการพิมพ์ของโรงพิมพ์ เล็กๆ ในปัจจุบัน สมัยรัชกาลที่ 6 ได้รับการยกย่องว่าเป็นพระมหาราชเจ้า กิจการพิมพ์ ในยุคนี้ เจริญก้าวหน้า มีความประณีต งดงามมากยิ่งขึ้น จานวนโรงพิมพ์ขยายตัวเพิ่มขึ้น ตามลาดับ ประมาณปี พ.ศ. 2476 ได้เริ่มมีการศึกษาการพิมพ์ขึ้น เปิดสอนวิชาการพิมพ์ ในระดับอาชีวศึกษา ชั้นต้นและช้ันปลายขึ้นที่โรงเรียนช่างพิมพ์วัดสังเวช ในปี พ.ศ. 2496 ได้มีการสอนวิชาการพิมพ์ ที่วิทยาลัยเทคนิคกรุงเทพฯ โดยเปิดเป็นแผนกช่างพิมพ์ ทาการสอนในระดับสูงเทียบขั้นอนุปริญญา (กาธร สถิรกุล, 2515 : 216 ) ในเวลาต่อมา ได้ขยายการศึกษาทางการพิมพ์ถึงข้ันอุดมศึกษา
การผลติ สอ่ื ส่งิ พมิ พ์ :------------------->> หน่วยการเรยี นท่ี 1 ความรเู้ บ้ืองต้นเก่ียวกบั สอ่ื ส่ิงพิมพ์ 10 2. ประเภทและบทบาทของสื่อสิ่งพิมพ์ 2.1 ประเภทของสื่อสิ่งพิมพ์ ในปัจจุบันสื่อสิ่งพิมพ์มีมากมายหลายประเภท ได้แก่ สิ่งพิมพ์ 2 มิติ และ ส่ิงพิมพ์ 3 มิติ สิ่ง พิม พ์ 2 มิติ คือ สิ่ง พิม พ์ที่มีลักษณ ะเ ป็นแ ผ่น เรียบ ใ ช้วัส ดุจาพวก กระดาษและมีเป้าหมายเพื่อนาเสนอเนื้อหาข่าวสารต่างๆเช่นหนังสือ นิตยสาร จุลสาร หนังสือพิมพ์ แผ่นพับ โบชัวว์ ใบปลิว นามบัตร แมกกาซีน พ็อกเก็ตบุค เป็นต้น สิ่งพิมพ์ 3 มิติ คือ สิ่งพิมพ์ที่มีลักษณะพิเศษที่ต้องมีการพิมพ์แบบพิเศษ จะ เป็นแบบพิมพ์โดยตรงบนผลิตภัณฑ์ที่สร้างรูปทรงมาแล้ว เช่น การพิมพ์สกรีนบนภาชนะ ต่างๆ ได้แก่ แก้ว กระป๋อง พลาสติก เป็นต้น การพิมพ์ระบบเพดบนภาชนะที่มีผิวต่าง ระดับ ได้แก่ เครื่องปั้นดินเผา เครื่องใช้ไฟฟ้า เป็นต้น การพิมพ์ระบบพ่นหมึก ได้แก่ การพิมพ์วันหมดอายุของอาหารกระป๋องต่างๆ โ ด ย ส า ม า ร ถ จา แ น ก ป ร ะ เ ภ ท ข อ ง ส่ื อ สิ่ ง พิ ม พ์ ไ ด้ ดั ง นี้ 2.1.1 ส่ือสิ่งพิมพ์ประเภทหนังสือ 2.1.1.1 ส า ร ค ดี ตา ร า แ บ บ เ รีย น เ ป็น สื่อ สิ่ง พิม พ์ที่แ ส ด ง เ นื้อหา วิชาการ ในศาสตร์ความรู้ต่าง ๆ เพื่อสื่อให้ผู้อ่านเข้าใจความหมายด้วยความรู้ที่เป็นจริง เป็นสื่อท่ีเน้นความรู้อย่างถูกต้อง 2.1.1.2 หนังสือบันเทิงคดี เป็นส่ือส่ิงพิมพ์ท่ีผลิตโดยใช้เร่ืองราวสมมุติ เพื่อให้ผู้อ่านได้รับความเพลิดเพลิน สนุกสนาน มักมีขนาดเล็ก เรียกว่า หนังสือฉบับ กระเป๋า หรือ Pocketbook 2.1.2 สิง่ พิมพเ์ พอ่ื เผยแพรข่ ่าวสาร 2.1.2.1 หนังสือพิมพ์ (Newspapers) เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่ผลิตขึ้นเพ่ือ นาเสนอเรื่องราว ข่าวสาร ภาพและความคิดเห็น ในลักษณะของแผ่นพิมพ์ แผ่นใหญ่ ที่ใช้ วิธีพับรวมกัน ซึ่งสื่อชนิดนี้ได้พิมพ์ออก เผยแพร่ทั้งลักษณะหนังสือพิมพ์รายวัน ราย สัปดาห์ และราย เดือน 2.1.2.2 วารสาร นิตยสาร เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่ผลิตเพื่อนาเสนอสาระ ข่าว ความบันเทิง มีรูปแบบการนาเสนอที่โดดเด่น สะดุดตา และสร้างความสนใจให้ผู้อ่าน โดยมีการ กาหนดระยะเวลาการออกเผยแพร่ที่แน่นอน ทั้งลักษณะวารสาร นิตยสารราย ปักษ์ (15 วัน) และรายเดือน 2.1.2.3 จุลสาร เป็นส่ือส่ิงพิมพ์ท่ีผลิตขึ้นแบบไม่มุ่งหวังกาไร เป็นแบบ ให้เปล่า โดยให้ผู้อ่านได้ศึกษาเกี่ยวกับความรู้ ความเข้าใจในศาสตร์ความรู้เฉพาะด้านใด ด้านหน่ึง มีกาหนดการออกเผยแพร่เป็นคร้ัง ๆ หรือลาดับต่าง ๆ ในวาระพิเศษ
การผลิตสอ่ื สง่ิ พิมพ์ :------------------->> หน่วยการเรยี นท่ี 1 ความรเู้ บื้องตน้ เกีย่ วกบั สือ่ สงิ่ พิมพ์ 11 2.1.2.4 สิ่งพิมพ์โฆษณา โบชัวร์ (Brochure) เป็นสื่อสิ่งพิมพ์มีลักษณะเป็นสมุดเล่มเล็ก เย็บติดกันเป็นเล่มอย่างน้อย 8 หน้า มีปกหน้าและปกหลัง ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับการโฆษณา สินค้า ใบปลิว (Leaflet, Handbill) เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ใบเดียวเน้นการ ประกาศหรือโฆษณา มีขนาด A4 เพื่อง่ายในการแจกจ่ายลักษณะการแสดงเนื้อหาเป็น ข้อความที่ผู้อ่าน อ่านแล้วเข้าใจง่าย จดจาได้ แผ่นพับ (Folder) เป็นสื่อสิ่งพิมพ์โดยเน้นการนาเสนอเนื้อหา ท่ีสรุปใจความสาคัญ ลักษณะมีการพับเป็นรูปเล่มต่าง ๆ ใบปิด (Poster) เป็นส่ือส่ิงพิมพ์โฆษณาใช้ปิดตามสถานที่ต่างๆ จะมีขนาดใหญ่เป็นพิเศษ เน้นการนาเสนอเน้ือหาแบบโดดเด่น สามารถดึงดูดความสนใจ ภาพท่ี 1.2 แสดงสือ่ สิ่งพมิ พ์เพ่ือเผยแพรข่ า่ วสาร : http://www.edu.nu.ac.th/wbi/355201/p25-3.html : 22/11/55 2.1.3 สิ่งพิมพ์เพื่อการบรรจุภัณฑ์ เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่ใช้ในการห่อหุ้มผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ แยกเป็นส่ิงพิมพ์หลัก ได้แก่ สิ่งพิมพ์ท่ีใช้ปิดรอบขวด หรือกระป๋องผลิตภัณฑ์การค้า สิ่งพิมพ์รอง ได้แก่ สิ่งพิมพ์ที่เป็นกล่องบรรจุลัง
การผลิตสอ่ื สงิ่ พิมพ์ :------------------->> หน่วยการเรียนท่ี 1 ความรเู้ บอื้ งตน้ เก่ยี วกบั สอ่ื สิ่งพมิ พ์ 12 ภาพที่ 1.3 แสดงส่ิงพมิ พ์เพอื่ การบรรจุภณั ฑต์ ่างๆ : http://chatrinsattaphan.blogspot.com/2011/03/1-29-54.html : 23/11/55 2.1.4 สิ่งพิมพ์มีค่า เป็นสิ่งพิมพ์เน้นการนาไปเป็นหลักฐานสาคัญ ซึ่งกาหนดตามกฎหมาย เช่น ธนาณัติ บัตรเครดิต เช็คธนาคาร ตั๋วแลกเงิน ธนบัตร แสตมป์หนังสือเดินทาง โฉนด เป็นต้น ภาพที่ 1.4 แสดงส่ิงพิมพ์ท่ีมีค่าต่าง ๆhttp://renuka53540374.blogspot.com/2011/03/1.html : 23/11/552.1.5 สิ่งพิมพ์ลักษณะพิเศษ เป็นสิ่งพิมพ์ที่ผลิตขึ้นตามลักษณะพิเศษแล้วแต่การใช้งาน ได้แก่ นามบัตร บัตรอวยพร บัตรเชิญ กระดาษบันทึก กระดาษหัวจดหมาย ใบส่งของ ใบเสร็จรับเงิน กระดาษปิดผนัง ส่ิงพิมพส์ ามมิติ สิ่งพิมพ์ท่ีพมิ พ์ลงวัตถุ เช่น ส่ิงพิมพ์บนกระจกสงิ่ พิมพบ์ นผ้า สิ่งพิมพบ์ นแก้ว เป็นตน้ ภาพท่ี 1.5 แสดงสิง่ พิมพล์ ักษณะพิเศษhttp://teacher80std.blogspot.com/2012/06/92.html : 23/11/55
การผลิตสอื่ สง่ิ พิมพ์ :------------------->> หน่วยการเรียนที่ 1 ความรเู้ บ้อื งตน้ เก่ียวกบั สอื่ สง่ิ พิมพ์ 13 2.1.6 สิ่ง พิม พ์อิเ ล็ก ท ร อ นิก ส์ เ ป็น สื่อ สิ่ง พิม พ์ที่ผ ลิต เ พื่อ ใ ช้ง า น ใ น คอมพิวเตอร์ หรือระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (Internet) ได้แก่ Document Formats, DTP: Desktop Publishing, PDF: Portable Document Format, E-book for Palm/PDA, Graphics เป็นต้น ภาพที่ 1.6 แสดงส่งิ พมิ พอ์ เิ ล็กทรอนิกส์ http://chutimaaa.blogspot.com/2010/08/i-love-library-web-httpwww.html : 23/11/55 2.2 บทบาทของสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อสิ่งพิมพ์ได้เข้ามามีบทบาทมากในปัจจุบัน ดังต่อไปน้ี 2.2.1 งานด้านสื่อสาร สื่อสิ่งพิมพ์มีความสาคัญในด้านการนาเสนอข้อมูล ข่าวสาร สาระ และความบันเทิง ได้แก่ หนังสือพิมพ์ วารสาร นิตยสาร เป็นต้น 2.2.2 งานในสถานศึกษา สื่อสิ่งพิมพ์ถูกนาเข้าไปใช้ในสถานศึกษาโดยทั่วไป ทาให้ผู้เรียนและผู้สอนเข้าใจในเนื้อหาหลักสูตรต่าง ๆ ได้ดียิ่งขึ้น ได้แก่ หนังสือ ตารา แบบเรียน แบบฝึกหัด ปัจจุบันได้พัฒนาเป็นสื่อสิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ Document Formats, PDF (Portable Document Format) และ E-learning เป็นต้น 2.2.3 ด้านธุรกิจ สื่อสิ่งพิมพ์ถูกนาไปใช้ในงานด้านธุรกิจประเภทต่าง ๆ เช่น งานโฆษณา ได้แก่ การผลิตหัวจดหมาย/ซองจดหมายของธุรกิจ ใบเสร็จรับเงิน ใบส่งของ โฆษณาหน้าเดียว นามบัตร การ์ดตามเทศกาลต่าง ๆ เป็นต้น และสิ่งพิมพ์เพื่อการบรรจุ ภัณฑ์ต่าง ๆ ซึ่งทาให้ธุรกิจนั้น ๆ เติบโตได้อย่างคล่องตัว เพราะมีสื่อที่สามารถช่วยให้ บุคคลภายนอกทราบข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์ในการทาธุรกิจได้ 2.2.4 งานธนาคาร ซึ่งรวมถึงงานการเงิน และงานที่เกี่ยวข้องกับหลักฐาน ทางกฎหมาย ได้นาสื่อสิ่งพิมพ์หลายประเภท มาใช้ในการดาเนินงาน ทาให้ผู้มาติดต่อกับ ธนาคาร เข้าใจหลักเกณฑ์ และสามารถดาเนินธุรกรรมที่เกี่ยวข้องได้ถูกต้อง เช่น ใบนา ฝาก ใบถอน ประกาศต่าง ๆ ใบปิด ธนบัตร บัตรเครดิต เช็คธนาคาร ตั๋วแลกเงิน แสตมป์ ธนาณัติ โฉนด และหนังสือเดินทาง เป็นต้น 2.2.5 ในห้างสรรพสินค้าและร้านค้าปลีก สื่อสิ่งพิมพ์ที่ทางห้างสรรพสินค้า และร้านค้าปลีกใช้ในการดาเนินธุรกิจ ได้แก่ ใบปิดโฆษณา โบรชัวร์ ใบปลิว แผ่นพับ จุล สาร เช่น ปฏิทิน กระดาษบันทึก เอกสารแสดงราคาสินค้า
การผลติ ส่ือสง่ิ พมิ พ์ :------------------->> หนว่ ยการเรียนที่ 1 ความรเู้ บื้องตน้ เก่ยี วกบั สื่อสิง่ พมิ พ์ 14 3. รปู แบบของส่ือส่ิงพมิ พ์ รูปแบบของสื่อสง่ิ พมิ พส์ ามารถแบง่ ไดเ้ ป็น 3 รปู แบบ ดังนี้ 3.1 ระบบการพิมพ์ (Printing System) หมายถึง การใช้แท่นพิมพ์กระดาษ และหมึก พิมพ์ ในการผลิตสือ่ ส่งิ พิมพ์ออกมาเป็นจานวนมากในเวลาอนั สัน้ ซึง่ มีอยหู่ ลายระบบดงั นี้ 3.1.1 การพิมพ์แบบแม่พิมพ์นูนหรือเลตเทอร์เพรส (Letter Press) มีต้นแบบมา จากกูเตนเบิร์ก โดยตัวพิมพ์จะนูนโดดข้ึนมาในลักษณะเหมือนภาพในกระจกเงา คือ กลับซ้าย-ขวา เมือ่ กล้งิ หมกึ ผ่าน แล้วป้อนกระดาษไปปดิ ทับ จะได้ตัวหนงั สือเปน็ ปกตปิ รากฏบนแผ่นกระดาษ การ พิมพว์ ธิ ีน้ที าไดง้ ่ายและเสียค่าใช้จ่ายค่อนข้างตา่ 3.1.2 การพิมพ์แบบแม่พิมพ์แบบร่องลึกหรือโรโทกราวร์ (Rotogravure) คือ ตัว พิมพ์เป็นแบบร่องลึกลงไป หมึกจะถูกใส่ลงไปในร่อง เมื่อกดกระดาษลงไป หมึกในร่องตัวพิมพ์จะ ถูก ดดู ซมึ ไปปรากฏบนกระดาษ ซง่ึ วิธนี ท้ี าได้คอ่ นข้างยาก แต่ผลงาน มลี กั ษณะสวยงาม นุม่ นวล 3.1.3 การพิมพ์แบบแม่พิมพ์แบบแบนหรือออฟเซ็ท พริ้นต้ิง (Offset Printing) การพิมพ์ได้นาการถ่ายภาพเข้ามาประยุกต์ใช้ โดยถ่ายภาพท่ีต้องการลงบนแผ่นอลูมิเนียม เรียกว่า แผ่นพิมพ์หรือเพลท (Plate) จากนั้นนาไปอาบน้ายาทางเคมี ท่ีจะบังคับให้สีใดสามารถติดได้อยู่บน บริเวณที่ต้องการ (ในการพิมพ์ภาพสจี ะทาทลี ะสี) แล้วนาแผน่ พิมพม์ าติดกับแท่นพิมพ์ กล้ิงสีลงไป สี จะติดเฉพาะบางส่วนของภาพเท่าน้ัน แล้วให้แผ่นพิมพผ์ ่านไปใต้ลูกกลิ้งลูกท่ี 1 สีท่ีเคาะบนแผ่นพิมพ์ จะหลุดติดบนลูกกลิ้งลูกท่ี 1 กับลูกท่ี 2 ก็จะกดกระดาษให้แนบกับลูกกลิ้งลูกท่ี 1 ขณะท่ีกระดาษวิ่ง ผ่านไป ดังนน้ั สีจากลูกกลงิ้ ลกู ที่ 1 ก็จะตดิ อยู่บนกระดาษด้วย ลกั ษะของภาพจะเป็นภาพปกตไิ ม่ ต้อง กลับซ้าย กลบั ขวา ซ่ึงภาพจะมคี วามคมชัด สวยงามและเป็นธรราชาตมิ ากทสี่ ดุ 3.1.4 การพมิ พ์แบบแมพ่ ิมพ์ลายฉลหุ รือซิลค์สกรนี (Silk Screen) เป็นระบบทีก่ ลิ้ง หมึกผ่านไปบนแม่พิมพ์ที่ไม่ยอมให้สีผ่านได้นอกจากบริเวณท่ีฉลุเอาไว้ โดยหมึกท่ีกลิ้งจะผ่านรอยฉลุ ลงไปปรากฏบนกระดาษหรือวัสดุที่ต้องการจะพิมพ์ ซึ่งวิธีน้ีทาได้ง่ายและไม่ส้ินเปลือง เหมาะสาหรับ งานพิมพ์ไม่มาก หรืองานพิมพ์เล็ก ๆ และอาจนาการถ่ายภาพหรือการใช้แสงอุลตร้าไวโอเลตส่อง กระดาษไขให้เป็นรฉู ลุเข้ามาประยุกต์ใช้ได้ด้วย เช่น การทา Silk Screen พมิ พผ์ ้าหรือการปรุกระดาษ ไขเพอื่ นาไปโรเนียว เปน็ ตน้ 3.2 การพิมพ์แบบถ่ายภาพหรือโฟโต้กราฟิก ปร้ินติ้ง (Photo Graphic Printing) หมายถึง การใช้เครื่องมือบางอย่างถ่ายภาพจากต้นฉบับ หรือจากหนังสือสิ่งพิมพ์ต่างๆ ลงบนกระดาษ หรือฟิล์ม ซึ่งเป็นวธิ ที ่ีสะดวก รวดเร็ว เช่น การถา่ ยเอกสาร การทาสง่ิ พมิ พ์ย่อสว่ น เปน็ ต้น 3.3 การพิมพ์ในระบบคอมพิวเตอร์ จัดได้ว่าเป็นวิธีที่ทันสมัยท่ีสุดในปัจจุบัน โดยนา เทคโนโลยีเข้ามาใช้ในการผลิตส่ือส่ิงพิมพ์ทาให้งานมีประสิทธิภาพมากที่สุดสะดวกรวดเร็วท่ีสุด สามารถเปล่ียนแปลงแก้ไขในส่ิงต่าง ๆ ได้ง่ายตามความต้องการ และประหยัดค่าใช้จ่ายได้อย่างมาก เรมิ่ มขี ึ้นในปี พ.ศ. 2506 เป็นตน้ มา
การผลติ สื่อสงิ่ พิมพ์ :------------------->> หน่วยการเรียนท่ี 1 ความรเู้ บื้องต้นเกี่ยวกับส่อื สิ่งพมิ พ์ 15 4. ประเภทของโปรแกรมท่ีใช้ในการผลิตสื่อส่ิงพิมพ์ ปัจจุบันมีโปรแกรมสาเร็จรูปมากมายที่ได้รับความนิยม ใช้สาหรับการออกแบบส่ือ สิ่งพิมพ์ ทาให้สื่อสิ่งพิมพ์เป็นที่น่าสนใจ โปรแกรมที่ได้รับความนิยมในการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ มีดังนี้ 4.1 โปรแกรม Microsoft Word เป็นโปรแกรมที่ผลิตโดยบริษัทไมโครซอฟต์ ซึ่ง ทางาน บนระบบปฏิบัติการวินโดวส์ โดยช่วยในการจัดการสิ่งพิมพ์ในการพิมพ์เอกสาร รายงานต่าง ๆ มากมาย ภาพท่ี 1.7 แสดงโปรแกรม Microsoft Word 4.2 โปรแกรม Adobe Photoshop เป็นโปรแกรมสาหรับการจัดการกับรูปภาพ หรืองานกราฟิกที่ต้องการความ ละเอียดสูงและเป็นโปรแกรมที่ได้รับความนิยมในการ ตกแต่งภาพ สามารถเปิดไฟล์รูปภาพได้หลากหลาย เช่น JPEG, TIFF, DNG, Traga, BMP, PICI, GIF, PICT นอกจากน้ีสามารถตกแต่งสีให้กับรูปภาพให้มีความคมชัดขึ้น
การผลติ สอ่ื สงิ่ พิมพ์ :------------------->> หนว่ ยการเรียนที่ 1 ความรเู้ บอื้ งตน้ เก่ยี วกบั ส่ือส่ิงพิมพ์ 16 ภาพที่ 1.8 แสดงโปรแกรม Adobe Photoshop CS5 4.3 โปรแกรม Illustrator เป็นโปรแกรมที่ช่วยในการสร้างภาพกราฟิกแบบ เวกเตอร์ เพื่อใช้ในการประกอบข้อความท่ีได้จากการพิมพ์โดยโปรแกรม MS-Word ภาพท่ี 1.9 แสดงโปรแกรม Illustrator 4.4 โปรแกรม Adobe PageMaker เป็นโปรแกรมแบบ Desktop Pubilshing สาหรับทาเลย์เอาต์เอกสาร (กรณีทาเป็นรูปเล่มหรือหลาย ๆ หน้า)
การผลิตสื่อสงิ่ พิมพ์ :------------------->> หนว่ ยการเรยี นที่ 1 ความรเู้ บ้ืองตน้ เกีย่ วกับสอ่ื ส่งิ พมิ พ์ 17 ภาพที่ 1.10 แสดงโปรแกรม Adobe PageMaker 4.5 โปรแกรม InDesign เป็นโปรแกรมแบบ Desktop Publishing เป็นการจัด และ นาข้อมูลมาประกอบลงบนหน้าสิ่งพิมพ์ ภาพท่ี 1.11 แสดงโปรแกรม Adobe InDesign 4.6 โ ป ร แ ก ร ม Microsoft Office Publisher เ ป็น โ ป ร แ ก ร ม Desktop Publishing ช่วยสร้างสรรค์ออกแบบสิ่งพิมพ์ ซึ่งอยู่ในกลุ่ม Open source โปรแกรม
การผลิตส่อื ส่ิงพมิ พ์ :------------------->> หน่วยการเรยี นท่ี 1 ความรเู้ บอ้ื งตน้ เก่ยี วกับสอ่ื ส่ิงพมิ พ์ 18 Scribus นับเป็นทางเลือกที่น่าสนใจ สามารถทางานได้กับ Microsoft Windows และใช้ ออกแบบสิ่งพิมพ์ได้หลากหลาย ภาพท่ี 1.12 แสดงโปรแกรม Publisher ข้อดีของสื่อส่ิงพิมพ์ 1. กระบวนการในการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์สามารถทาได้หลายแบบ เปิด โอกาสให้ เลือกใช้ รูปแบบที่เหมาะสมกับสถานการณ์ เช่น พิมพ์เป็นเอกสารโรเนียวเป็นวิธีที่ง่ายท่ีสุด หากต้องการให้มีคุณภาพยิ่งขึ้น ก็ใช้การพิมพ์ด้วยเครื่องพิมพ์ สามารถเลือกพิมพ์เป็นสีและ ขาวดาก็ได้ 2. สามารถจัดพิมพ์ได้หลายรูปแบบ ตามวัตถุประสงค์ท่ีจะนาไปใช้ เช่น แผ่นปลิว จดหมายเวียน หรือเอกสารเผยแพร่ 3. สามารถใช้สื่อสิ่งพิมพ์ได้หลาย ๆ ทาง อาจใช้เพื่อการศึกษา หรือใช้สนับสนุน สื่ออื่น ๆ และสามารถเลือกจัดพิมพ์ให้มีระยะเวลาการใช้งานต่าง ๆ เช่น พิมพ์เพื่อใช้งาน ระยะส้ัน เป็นต้น 4. สามารถผลิตเพ่ือใช้กับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะด้านได้ 5. สามารถปรับใช้ให้เหมาะสมกับกระบวนการใช้และผลลัพธ์ที่ต้องการตาม สภาพของเคร่ืองอานวยความสะดวกท่ีมีอยู่ 6. ในการศึกษาสื่อสิ่งพิมพ์ ไม่จาเป็นต้องใช้วิธีพิเศษหรือเครื่องอานวยความ สะดวกอย่างอื่นแต่อย่างใด 7. ผู้อ่านสามารถใช้สื่อสิ่งพิมพ์ในการเรียนรู้และอ่านซา้ ๆ ได้หลาย ๆ คร้ัง
การผลติ สอ่ื สิง่ พมิ พ์ :------------------->> หนว่ ยการเรยี นที่ 1 ความรเู้ บอ้ื งต้นเกี่ยวกับสือ่ ส่งิ พิมพ์ 19 ข้อจากัดของสื่อส่ิงพิมพ์ 1. วัสดุท่ีใช้มีความบอบบางและฉีกขาดง่าย 2. เก็บรักษายากเนื่องจากมีลักษณะ รูปทรง และขนาดแตกต่างกัน 3. การเก็บรักษาในระยะยาว สาหรับส่ิงพิมพ์จานวนมาก ๆ ยากท่ีจะป้องกันความ เปียกช้ืน ความร้อน และฝุ่นละออง 4. การพิมพ์ในระบบที่มีคุณภาพต้องใช้การลงทุนสูงมาก โดยเฉพาะการพิมพ์ใน ระบบส่ีสี 5. อาจมีปัญหาและอุปสรรคในการแจกจ่าย เน่ืองจากวัสดุสิ่งพิมพ์มีความสัมพันธ์ กับการขนส่ง (Transportation) 6. การใช้วัสดุสิ่งพิมพ์กลุ่มเป้าหมายที่ไม่รู้หนังสือต้องอาศัยการออกแบบสิ่งพิมพ์ ท่ีมีความหมายและน่าสนใจ 5. การออกแบบและจัดหน้าส่ือส่ิงพิมพ์ 5.1 หลักการสร้างเอกสารส่ิงพิมพ์ การใช้คอมพิวเตอร์หรือโปรแกรมสาเร็จรูปในงานพิมพ์ควรคานึงถึงข้อแตกต่างท่ี ต้องกาหนดในแต่ละโปรแกรม เช่น การระบุค่าต่าง ๆ ของโปรแกรม (Printer) การ กาหนดค่าของกระดาษ การตั้งค่าเคร่ืองพิมพ์ ดังน้ี 5.1.1 การระบุค่าต่างๆของโปรแกรมก่อนผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ ควรตรวจสอบ เกี่ยวกับค่าต่าง ๆ ของโปรแกรมก่อนว่าเหมาะสมและเป็นค่าท่ีต้องการใช้งานหรือไม่ ได้แก่ ค่ากาหนดแถบไม้บรรทัด (Ruler) หน่วยวัดบนแถบไม้บรรทัด ระยะ Tab 5.1.2 การกาหนดค่าของกระดาษ การต้ังค่ากระดาษ ชนิดกระดาษ ประเภท ของกระดาษที่ถูกต้องและเหมาะสมย่อมช่วยให้ประหยัดเวลาในการแก้ไขหรือปรับแต่ง รายละเอียดเพิ่มเติม ได้ ดังนี้ กระดาษสามารถแบ่งตามผิว ได้ 2 ประเภท คือ 5.1.2.1 กระดาษไม่เคลือบผิว (Uncoated Paper) เป็นกระดาษที่ไม่มี การเคลือบผิว ของกระดาษด้วยสารใด ลักษณะกระดาษจะมีผิวขรุขระ ซ่ึงไม่เหมาะกับงาน พิมพ์ภาพสกรีน เช่น กระดาษหนังสือพิมพ์ (Newsprint) กระดาษปอนด์ เป็นต้น 5.1.2.2 ก ร ะ ด า ษ เ ค ลือ บ ผิว (Coated Paper) เ ป็น ก ร ะ ด า ษ ที่มีก า ร เคลือบผิวด้วยสาร เคมีที่ผิวกระดาษ เพื่อให้เกิดความมันและเรียบ ไม่ขรุขระ เช่น กระดาษอาร์ตด้าน (Matt Art) และกระดาษอาร์ตมัน (Gloss Art) ท้ังนี้ มาตรฐานสิ่งพิมพ์ขององค์การ ISO (International Organization for Standardization) แบ่งมาตรฐานกระดาษไว้ 3 ชุด คือ ชุด A และ ชุด B สาหรับ งานพิมพ์ทั่วไป ชุด C สาหรับงานซองจดหมาย กระดาษมีลักษณะเป็นสี่เหล่ียมผืนผ้า กว้าง และยาว คือ 1:1,414 โดยประมาณ เช่น ถ้ากระดาษมีความกว้าง 841 มม. จะมีความ ยาว 1189.174 มม. (841*1.414)
การผลติ ส่อื สง่ิ พิมพ์ :------------------->> หน่วยการเรียนท่ี 1 ความรเู้ บอ้ื งตน้ เก่ยี วกบั สื่อส่ิงพิมพ์ 20 5.1.3 การตั้งค่าเคร่ืองพิมพ์ สาหรับการตั้งค่าเคร่ืองพิมพ์ จาเป็นต้องคานึงถึง เพราะเป็นผลลัพธ์ที่ได้จากการพิมพ์เอกสารลงบนกระดาษ เช่น การต้ังระยะกั้นหน้า (Left Margin) การตั้งระยะกั้นหลัง (Right Margin) การตั้งระยะขอบบน (Top Margin) หรือ ก า ร ตั้ง ร ะ ย ะ ข อ บ ล่า ง (Bottom) ใ น แ ต่ล ะ ป ร ะ เ ภ ท เ ค รื่อ ง พิม พ์มีข้อ แ ต ก ต่า ง กัน เคร่ืองพิมพ์แบบหัวเข็ม (Dot-matrix Printer) เครื่องพิมพ์เลเซอร์ (Laser Printer) และ เคร่ืองพิมพ์แบบพ่นหมึก (Ink-Jet Printer) เป็นต้น 5.2 ขั้นตอนการออกแบบส่ิงพิมพ์ 1. เก็บรวบรวมข้อมูลของสื่อส่ิงพิมพ์ 2. สรุปลักษณะต่างๆ เช่น ประเภทสื่อส่ิงพิมพ์ ลักษณะกระดาษ 3. ออกแบบแนวคิดสื่อส่ิงพิมพ์ว่าต้องการให้ออกมาในรูปแบบใด 4. ทดลองทาและแก้ไขในส่ิงที่ต้องการปรับปรุง 5. พิมพ์สื่อสิ่งพิมพ์ 5.3 คุณสมบัติของนักออกแบบสิ่งพิมพ์ นักอออกแบบสิ่งพิมพ์ควรเป็นบุคคลที่มีความเข้าใจในขั้นตอนต่าง ๆ ของ กระบวนการผลิตงานพิมพ์ มีความสามารถด้านศิลปะ และโปรแกรมสาเร็จรูปเพื่อผลิตสื่อ สิ่งพิมพ์ มีความสามารถในการถ่ายทอด และสื่อสารให้บุคคลเข้าใจได้ง่าย และต้องติดตาม เทคโนโลยี ความก้าวหน้าต่าง ๆ ด้านงานพิมพ์ เพื่อนามาประยุกต์ใช้ในการออกแบบและ ผลิตส่ือส่ิงพิมพ์ต่อไป 6. หลักการเลือกตัวอักษร และพื้นฐานทางสี 6.1 การเลือกตัวอักษร ตัวอักษรมีหลายรูปแบบและแต่ละแบบมีลักษณะแตกต่างกัน ผู้ออกแบบ หรือสร้างชิ้นงาน ควรเลือกแบบที่เหมาะสมกับความต้องการ สามารถแบ่งเป็น 5 แบบ ได้แก่ 6.1.1 แบบเป็นทางการ เป็นตัวอักษรที่อ่านง่าย นิยมนามาใช้ในงานสื่อ สิ่งพิมพ์ ตัวย่าง เช่น วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น BrowalliaUPC วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น AngsanaUPC วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น CordiaUPC วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น TH SarabunPSK
การผลติ สื่อสิง่ พมิ พ์ :------------------->> หน่วยการเรียนที่ 1 ความรเู้ บ้ืองต้นเกย่ี วกับสอ่ื ส่ิงพิมพ์ 21 6.1.2 แบบสากล เป็นแบบตัวอักษรประยุกต์มาจากแบบที่ 1 โดยจะตัดหัว ของตัวอักษรออก ทาให้ได้อารมณ์ความรู้สึกที่ทันสมัยและเป็นสากลมากกว่า มีลักษณะ เหมือนเอาปากกาคอแร้งเขียน ตัวอย่าง เช่น วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น JasmineUPC วิทยาลยั อาชีวศึกษาขอนแก่น LilyUPC 6.1.3 แบบอิสระหรือแบบธรรมชาติ เป็นแบบตัวอักษรท่ีให้ความรู้สึกอิสระ เป็นธรรมชาติ สนุกสนาน ร่าเริง ไร้กฎเกณฑ์ ตัวอย่าง เช่น ฟอนต์ P5 FreesiaUPC, P5 IrisUPC, IrisUPC, JasmineUPC 6.1.4 แบบคัดลายมือ เป็นแบบตัวอักษรให้ความรู้สึกเป็นแบบไทย ๆ หรือ เป็นพิธีการ บ่งบอกถึงการให้เกียรติ มักเห็นในการ์ดต่างๆ เช่น การ์ดแต่งงาน การ์ดงาน ศพ การ์ดวันปีใหม่ เป็นตัน ตัวอย่างเช่น ฟอนต์ P5 DileniaUPC, P5 EucrosiaUPC 6.1.5 แบบประดิษฐ์ เป็นแบบตัวอักษรที่มีรูปแบบหลากหลาย แล้วแต่ ผู้ใช้จะเลือกใช้ ให้เข้ากับงานต่างๆ ตัวอย่างเช่น ฟอนต์ DSN Yaowarat, DSN Maithai, DSN Orchid 6.2 พื้นฐานทางสี มี 2 ประเภท ได้แก่ แม่สีบวกและแม่สีลบ 6.2.1 แม่สีบวก (Additive colors) แ ม่สีบ ว ก เ ป็น สีข อ ง แ ส ง ที่ป ร า ก ฏ ใ น จ อ อิเ ล็ก ท ร อ นิก ส์ ไ ด้แ ก่ จอคอมพิวเตอร์ จอเครื่องรับโทรทัศน์ ฯลฯ เมื่อสีสองสีรวมกันแล้ว ทาให้เพิ่มความสว่าง ขึ้น ปริมาณแสง มากข้ึน จึงเรียกว่า แม่สีบวก ในการผสมสีแม่สีบวก เช่น 6.2.1.1 สีปฐมภูมิ (Primary colors) เป็นสีจากต้นตอแหล่งสี ได้แก่ สีแดง สีเขียว และสีนา้ เงิน (red, green, blue) ภาพท่ี 1.13 แสดงสีปฐมภูมิ
การผลติ สื่อสงิ่ พมิ พ์ :------------------->> หนว่ ยการเรียนท่ี 1 ความรเู้ บ้อื งต้นเกยี่ วกบั สือ่ สิ่งพิมพ์ 22 6.2.1.2 สีทุติยภูมิ (secondary colors) เป็นสีระดับที่สองที่ได้จาก การผสมสีปฐมภูมิ ภาพท่ี 1.14 แสดงสีทุติยภูมิ 1) สีเหลือง (Yellow) ได้จาก สีเขียว ผสมกับ สีแดง 2) สีฟ้า (cyan) ได้จาก สีนา้ เงิน ผสมกับ สีเขียว 3) สีบานเย็น (magenta) ได้จาก สีแดง ผสมกับ สีน้าเงิน สีปฐมภูมิผสมกันท้ังสามสีจะได้เสมือนสีขาว เป็นความสว่างสูงสุด 6.2.2 แม่สีลบ (Subtractive colors) แม่สีลบเป็นสีที่ใช้ทาบ้านและใช้ระบายของนักเรียน เม่ือสีสองรวมกัน แล้วทาให้ความสว่างลดลงหรือมืดลง จึงเรียกว่า แม่สีลบ ในการผสมสีแม่สีลบ สีปฐมภูมิ เป็นสีจากต้นตอแหล่งสี ได้แก่ สีแดง สีเหลือง และสีนา้ เงิน สีทุติยภูมิ เป็นสีระดับที่สองที่ได้จากการผสมระหว่างสีปฐมภูมิ ภาพท่ี 1.15 แสดง แม่สีบวก (Additive), แม่สีลบ (Subtractive) 1) สีม่วง (violet) ได้จากสีน้าเงินผสมกับสีแดง 2) สีเขียว (green) ได้จากสีนา้ เงินผสมกับสีเหลือง
การผลติ ส่ือส่ิงพมิ พ์ :------------------->> หน่วยการเรียนที่ 1 ความรเู้ บอ้ื งต้นเก่ยี วกับสือ่ ส่งิ พมิ พ์ 23 3) สีส้ม (orange) ได้จากสีแดงผสมกับสีเหลือง และ แม่สีลบ ผสมกันท้ังสามสีจะได้สีดาสนิท 6.2.3 คุณสมบัติของสีมีดังนี้ 1) สี (hue or color) เป็นสีบริสุทธิ์ ( pure color) ยังไม่มีการ ผสม ไม่ปรับปรุงใด ๆ (unmixed or unmodified) 2) ค่าสว่างของสี (value) เป็นค่าความใสสว่าง (brightness) หรือน้าหนักในความใสสว่างหรือความมืดมัว (degree of lightness or darkness) 3) ความเข้มข้นของสี (intensity or saturations or chroma) เป็นการวัดค่าของสี (measurement of color) 4) ความบริสุทธิ์ของสี 5) ความแข็งของสี 6) สีจางลง ผสมสีขาวกับสีเดิมจะได้สีท่ีจางกว่าสีปกติ 7) สีเข้มข้น ผสมสีดากับสีเดิมจะได้สีที่เข้มกว่าปกติ 6.2.4 สีในสื่อสิ่งพิมพ์และส่ืออิเล็กทรอนิกส์ ปัจจุบันมีสีท่ีควรทาความเข้าใจ ได้แก่ 1) สีแดงเขียวน้าเงิน หรือเรียกว่า อาร์ จี บี ( RGB มาจาก Red, Green, Blue) 2) สีฟ้าบานเย็นเหลืองดา เรียกย่อ ๆ ว่า ซีเอ็มวายเค ( CMYK คือ Cyan, Magenta, Yellow, Black) 3) ความบริสุทธิ์ ความเข้มหรือความสว่าง เรียกว่า เอชเอสแอล (HSL มาจาก Hue, Saturation, Lightness) 7. ประเภทของภาพและการเลอื กภาพประกอบสิ่งพมิ พ์ 7.1 ประเภทของภาพ ภาพกราฟิกแบ่งออกเป็น 2 ประะภท คือ 7.1.1 ภาพกราฟิกแบบ Raster หรือ Bitmap เกิดจากพิกเซล ซึ่งเป็น ช่อง สี่เหลี่ยมเล็ก ๆ ที่เรียงต่อกัน เมื่อมีการขยายขนาด จะส่งผลให้คุณภาพของงานลดลง เหมาะกับงานที่ต้องการความละเอียดของสีมาก ๆ เช่น รูปถ่าย เป็นต้น โปรแกรมที่นิยม ใช้สร้างภาพกราฟิกแบบน้ี คือ Adobe Photoshop CS5, Paint เป็นต้น นามสกุลท่ีใช้กับภาพแบบ Raster ได้แก่ JPG, JPEG, JPE, GIF ใช้สาหรับรูปภาพทั่วไป งานเว็บเพจ และงานท่ีมีความจากัด ด้านพื้นท่ีหน่วยความจา TIFF, TIF เหมาะสาหรับงานด้านนิตยสาร เพราะมีความละเอียดของภาพสูง BMP, DIB ไฟล์มาตรฐานของระบบปฏิบัติการวินโดว์
การผลติ สือ่ สงิ่ พมิ พ์ :------------------->> หนว่ ยการเรียนที่ 1 ความรเู้ บื้องต้นเกยี่ วกบั ส่ือสง่ิ พิมพ์ 24 เปรยี บเทยี บภาพ Bitmap เม่ือมีการขยายขนาดจะสญู เสียความคมชัด ภาพท่ี 1.16 แสดงภาพแบบ Raster 7.1.2 ภ า พ ก ร า ฟ ิก แ บ บ Vector เ ป ็น ภ า พ ที ่เ ก ิด จ า ก ก า ร อ ้า ง อ ิง ความสัมพันธ์ ทางคณิตศาสตร์ หรือ การคานวณ ซึ่งภาพจะมีความเป็นอิสระต่อกัน โดย แยกชิ้นส่วนของภาพทั้งหมดออกเป็นเส้นตรง เส้นโค้ง รูปทรง เมื่อมีการขยายภาพ ความ ละเอียดของภาพไม่ลดลง แฟ้มภาพมีขนาดเล็กกว่า แบบ Raster ข้อดีคือ นิยมนาไปใช้ ด้านสถาปัตย์ตกแต่งภายในและการออกแบบต่าง ๆ เช่น การออกแบบอาคาร การ ออกแบบรถยนต์ การสร้างโลโก้ การสร้างการ์ตูน เป็นต้น โปรแกรมที่ นิยม ใช้ได้แก่ Illustrator, CorelDraw, AutoCAD, 3Ds max เป็นต้น ไฟล์ประเภทนามสกุล AL, EPS, WMF เป็นต้น AL, EPS ใช้สาหรับงานท่ีต้องการความละเอียดของภาพมาก เช่น การสร้างการ์ตูน การสร้างโลโก เป็นต้น เช่น โปรแกรม Illustrator WMF ไฟล์มาตรฐานของระบบปฏิบัติการวินโดว์ เช่น โปรแกรม CorelDraw เปรียบเทียบภาพ Vector เมอ่ื มีการขยายขนาดจะไม่สูญเสียความ คมชัด ภาพท่ี 1.17 แสดงภาพแบบ Vector 7.2 การเลือกภาพประกอบสื่อส่ิงพิมพ์ ควรเลือกภาพที่มีความสมดุลและเหมาะสมกับช้ินงาน สามารถแยกได้ดังนี้ 7.2.1 ความสมดุล (Balance) การจัดภาพให้มีความสมดุล จะช่วยให้ ช้ินงานมี เอกภาพ และสวยงาม สามารถแบ่งได้ 2 แบบ คือ 7.2.1.1 ความสมดุลแบบเหมือนกันท้ัง 2 ข้าง
การผลติ สือ่ ส่ิงพิมพ์ :------------------->> หน่วยการเรยี นท่ี 1 ความรเู้ บอื้ งต้นเกีย่ วกบั ส่ือส่ิงพิมพ์ 25 ภาพท่ี 1.18 แสดงความสมดุลแบบเหมือนกัน 2 ด้าน 7.2.2 ความสมดุลแบบ 2 ข้างไม่เหมือนกัน ภาพท่ี 1.19 แสดงความสมดุลแบบ 2 ข้างไม่เหมือนกัน สรปุ ท้ายหน่วยเรียน 1. ความหมายของส่ือส่ิงพิมพ์ พจนานุกรมฉบับราชบัญฑิตยสถาน ได้ให้ความหมายคาที่เก่ียวกับ “สื่อส่ิงพิมพ์” ไว้ดังน้ี “สิ่งพิมพ์ หมายถึง สมุด แผ่นกระดาษ หรือวัตถุใดๆ ท่ีพิมพ์ขึ้น รวมตลอดทั้งบทเพลง แผนท่ี แผนผัง แผนภาพ ภาพวาด ภาพระบายสี ใบประกาศ แผ่นเสียง หรือสิ่งอื่นใดอันมีลักษณะ เช่นเดียวกัน” 2. ประเภทและบทบาทของสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อส่ิงพิมพ์แบ่งได้ 5 ประเภท ได้แก่ 1. สื่อสิ่งพิมพ์ประเภทหนังสือ ได้แก่ สารคดี ตารา แบบเรียน และหนังสือ บันเทิงคดี 2. สื่อสิ่งพิมพ์เพื่อเผยแพร่ข่าวสาร ได้แก่ หนังสือพิมพ์ วารสาร นิตยสาร จุล สาร และ ส่ิงพิมพ์โฆษณา 3. ส่ิงพิมพ์เพื่อการบรรจุภัณฑ์ ได้แก่ ส่ิงพิมพ์ท่ีใช้ปิดรอบขวด หรือกระป๋อง 4. สิ่งพิมพ์มีค่า ได้แก่ ธนาณัติ บัตรเครดิต แสตมป์ ธนบัตร ตั๋วแลกเงิน หนังสือ เดินทาง โฉนด เช็คธนาคาร
การผลติ สื่อส่งิ พมิ พ์ :------------------->> หน่วยการเรียนท่ี 1 ความรเู้ บอื้ งตน้ เกย่ี วกบั ส่ือสง่ิ พมิ พ์ 26 5.สิ่งพิมพ์ลักษณะพิเศษ ได้แก่ นามบัตร บัตรเชิญ บัตรอวยพร ใบส่งของ ใบเสร็จรับเงิน บทบาทของส่ือสิ่งพิมพ์ในปัจจุบัน 1. ด้านสื่อสาร ได้แก่ หนังสือพิมพ์ วารสาร นิตยสาร เป็นต้น 2. งานในสถานศึกษา ได้แก่ หนังสือ ตารา แบบเรียน เป็นต้น 3. ด้านธุรกิจ ได้แก่ งานโฆษณา ส่ือสิ่งพิมพ์เพ่ือการบรรจุภัณฑ์ เป็นต้น 4.งานธนาคาร ได้แก่ ใบนาฝาก ใบถอน ธนบัตร บัตรเครดิต เช็คธนาคาร เป็น ต้น 5.ในห้างสรรพสินค้าและร้านค้าปลีก ได้แก่ โบรชัวร์ ใบปลิว แผ่นพับ จุลสาร เป็นต้น 3. รูปแบบของสื่อส่ิงพิมพ์ สามารถแบ่งได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่ 1. ระบบการพิมพ์ (Printing System) 2. การพิมพ์แบบถ่ายภาพหรือโฟโต้กราฟิก ปร้ินติ้ง (Photo Graphic Printing) 3. การพิมพ์ในระบบคอมพิวเตอร์ 4. ประเภทของโปรแกรมสาเร็จรูปที่ใช้ในการผลิตสื่อส่ิงพิมพ์ 1. โปรแกรม MS-Word 2. โปรแกรม Adobe Photoshop 3. โปรแกรม Ilustrator 4. โปรแกรม Adobe PageMaker 5. โปรแกรม Indesign 6. โปรแกรม MS-Publisher 5. ข้ันตอนของการออกแบบสื่อส่ิงพิมพ์ 1. เก็บรวบรวมข้อมูลของส่ือสิ่งพิมพ์ 2. สรุปลักษณะต่างๆ เช่น ประเภทสื่อสิ่งพิมพ์ ลักษณะกระดาษ 3. ออกแบบแนวคิดส่ือสิ่งพิมพ์ว่าต้องการให้ออกมาในรูปแบบใด 4. ทดลองทาและแก้ไขในส่ิงที่ต้องการปรับปรุง 5. พิมพ์สื่อสิ่งพิมพ์ 6. สีท่ีใช้ในด้านกราฟิกท่ัวไป มี 4 ระบบ ประกอบด้วย 1. RGB ประกอบด้วย สีแดง, สีเขียว และ สีนา้ เงิน 2. CMYK ประกอบด้วย สีฟ้า, สีม่วงแดง, สีเหลือง และสีดา 3. HSB ประกอบด้วย Hue, Saturation และ Brightness 4. LAB เป็นระบบสีท่ีไม่ขึ้นกับอุปกรณ์ใดๆ 7. ประเภทของภาพกราฟิกแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. ภาพกราฟิกแบบ Rester หรือ Bitmap 2. ภาพกราฟิกแบบ Vector
การผลติ ส่ือสง่ิ พมิ พ์ :------------------->> หนว่ ยการเรยี นท่ี 1 ความรเู้ บอ้ื งต้นเกยี่ วกบั สอื่ ส่ิงพมิ พ์ 27 เอกสารอา้ งอิง นรีรตั น์ นิยมไทย. (2550). การผลติ สอื่ สิง่ พมิ พ์. กรงุ เทพฯ : ศูนยส์ ง่ เสริมวิชาการ ทพิ าภรณ์ ประดู่ และคณะ. (2549). การผลติ ส่ือสิ่งพิมพ์. กรงุ เทพฯ : เอมพนั ธ์ สมบัติ สวัสด์ผิ ล. (2554). การผลติ สื่อส่ิงพมิ พ์. กรุงเทพฯ : วังอักษร ศิรนิ ันท์ เหลืองภริ มย์. (2553). การผลิตสอ่ื สิ่งพมิ พด์ ว้ยคอมพวิ เตอร์. นนทบุรี : เมืองไทย ชาญวิทย์ หาญรินทร์. (2547). การผลติ สื่อสิง่ พมิ พ์. กรงุ เทพฯ : ศนู ย์สง่ เสริมอาชวี ะ แบบฝึกหดั ที่ 1 เรอ่ื ง ความร้เู บือ้ งต้นเกย่ี วกบั สอื่ สิง่ พมิ พ์ ชื่อ - สกุล.......................................................................................ระดบั ช้ัน........................................... 1. ให้นักศึกษาอธิบายความหมายของสื่อสิ่งพิมพ์ ตอบ ...................................................................................................................................................... ............................................................................................................................ 2. ชนชาติใดท่ีคิดค้นวิธีทากระดาษจากเยื่อไม้ ตอบ………………………………………………………………………………………………………………………….. ............................................................................................................................ 3. เอกสารทางราชการที่พิมพ์ข้ึนคร้ังแรกของไทยคืออะไร ในสมัยใด ตอบ ..................................................................................................................................................... ............................................................................................................................ 4. ให้นักศึกษาอธิบายประเภทของส่ือสิ่งพิมพ์มีอะไรบ้าง ตอบ ................................................................................................................... ............................................................................................................................ 5. ให้นักศึกษาบอกบทบาทของสื่อสิ่งพิมพ์ในปัจจุบันด้านใดบ้าง ตอบ .................................................................................................................. ............................................................................................................................ 6. ให้นักศึกษาบอกรูปแบบของส่ือสิ่งพิมพ์มีกี่ประเภทอะไรบ้าง ตอบ ................................................................................................................... ............................................................................................................................ 7. ให้นักศึกษายกตัวอย่างประเภทของโปรแกรมที่ใช้ในการผลิตสื่อส่ิงพิมพ์ ตอบ………………………………………………………………………………………………………………………... ........................................................................................... .................................
การผลติ สอ่ื สิ่งพิมพ์ :------------------->> หนว่ ยการเรียนที่ 1 ความรเู้ บื้องต้นเก่ียวกบั สื่อสิ่งพมิ พ์ 28 8. ให้นักศึกษาบอกขั้นตอนของการออกแบบส่ือสิ่งพิมพ์ ตอบ.......................................................................................................... ............................................................................................................................ 9. ให้นักศึกษาบอกสีที่ใช้ด้านกราฟิกทั่วไปมีกี่ระบบ ประกอบด้วย ตอบ............................................................................................. ....................... ............................................................................................................................ 10. ให้นักศึกษาบอกประเภทของภาพกราฟิกมีก่ีประเภท ตอบ………………………………………………………………………………………………………………………… ............................................................................................................................ แบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยการเรียนที่ 1 คาชแี้ จง ให้นักศกึ ษาเลือกคาตอบทถ่ี ูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ข้อใดคอื ความหมายของส่งิ พิมพ์ ก. ขอ้ ความ ขอ้ เขยี น ข. สมุด แผน่ กระดาษ ค. วัตถุใดๆ ทีพ่ ิมพข์ น้ึ มา ง. ถูกทุกข้อ 2. ชาตแิ รกท่คี ดิ ค้นวิธีการทากระดาษคือข้อใด ก. อเมริกา ข. จีน ค. ญีป่ นุ่ ง. ไทย 3. หลักฐานในการแกะพมิ พค์ รัง้ แรกของมนุษย์คือข้อใด ก. ลาสควกั ซ์ ข. อัลตามิรา ค. ไซลนั่ ง. บ๊ัก 4. หนังสือพมิ พฉ์ บบั แรกของไทย เรยี กว่าอะไร ก. นริ าศลอนดอน ข. บางกอกทูเดย์ ค. บางกอกรคี อรด์ เดอร์ ง. หมายประกาศห้ามสบู ฝิ่น
การผลติ ส่อื สงิ่ พิมพ์ :------------------->> หนว่ ยการเรยี นที่ 1 ความรเู้ บ้อื งตน้ เกยี่ วกับสื่อส่งิ พมิ พ์ 29 5. เอกสารราชการฉบับแรกของไทย คือขอ้ ใด ก. นริ าศลอนดอน ข. บางกอกทูเดย์ ค. บางกอกรคี อรด์ เดอร์ ง. หมายประกาศหา้ มสูบฝน่ิ 6. “เป็นสอ่ื สงิ่ พมิ พ์ทมี่ ีลกั ษณะเป็นสมดุ เล่มเลก็ ๆ เยบ็ ตดิ กนั เป็นเล่ม จานวน 8 หนา้ “ คอื ข้อใด ก. จลุ สาร ข. วารสาร ค. แผ่นพบั ง. โบรชัวร์ 7. “เป็นสื่อส่ิงพิมพ์ที่ผลิตข้ึนโดยใช้เรื่องราวสมมติเพื่อให้ผู้อ่านได้รับความเพลิดเพลิน สนุกสนาน มัก มีขนาดเลก็ “ คือข้อใด ก. จลุ สาร ข. วารสาร ค. แผน่ พับ ง. หนังสอื บันเทงิ คดี 8. สง่ิ พมิ พป์ ระเภทลกั ษณะพิเศษ คือขอ้ ใด ก. ธนาณตั ิ บตั รเครดิต แสตมป์ ข. บัตรอวยพร ปฏิทนิ บัตรเชิญ นามบตั ร ค. โบรชัวว์ ใบปลวิ แผน่ พับ ใบปดิ ง. จลุ สาร วารสาร นติ ยสาร หนังสือพิมพ์ 9. สิ่งพิมพ์ประเภทโฆษณา คอื ขอ้ ใด ก. ธนาณตั ิ บัตรเครดติ แสตมป์ ข. บัตรอวยพร ปฏทิ ิน บตั รเชิญ นามบัตร ค. โบรชวั ว์ ใบปลิว แผน่ พบั ใบปดิ ง. จลุ สาร วารสาร นิตยสาร หนงั สอื พมิ พ์ 10. สง่ิ พมิ พ์ประเภทเพื่อเผยแพร่ข่าวสาร คอื ข้อใด ก. ธนาณตั ิ บัตรเครดติ แสตมป์ ข. บัตรอวยพร ปฏทิ นิ บตั รเชญิ นามบัตร ค. โบรชวั ว์ ใบปลวิ แผ่นพบั ใบปดิ ง. จลุ สาร วารสาร นติ ยสาร หนังสอื พมิ พ์ 11. ส่อื สิง่ พิมพ์ประเภทมคี า่ ในตัวเอง คือขอ้ ใด ก. ธนาณัติ บัตรเครดิต แสตมป์ ข. บัตรอวยพร ปฏิทนิ บัตรเชญิ นามบตั ร ค. โบรชัวว์ ใบปลวิ แผน่ พบั ใบปดิ ง. จลุ สาร วารสาร นติ ยสาร หนงั สอื พมิ พ์
การผลติ สอ่ื ส่ิงพมิ พ์ :------------------->> หนว่ ยการเรยี นท่ี 1 ความรเู้ บื้องต้นเกีย่ วกับส่อื ส่งิ พมิ พ์ 30 12. ข้อใดคือข้นั ตอนแรกของการออกแบบสอ่ื สิ่งพิมพ์ ก. เก็บรวบรวมขอ้ มูลของสิง่ พมิ พ์ ข. ออกแบบแนวคดิ ส่อื สิ่งพมิ พ์ ค. สรปุ ลักษณะต่างๆ ง. ทดลองทาและแกไ้ ข 13. โปรแกรมที่ใช้ในการผลิตส่ือส่ิงพิมพ์ คือข้อใด ก. MS-Excel ข. PowerPoint ค. Indesign ง. Pascal 14. การสร้างภาพโดยโปรแกรม Illustrator และ CoralDraw จะได้ภาพชนิดใด ก. บิตแม็พ ข. เวกเตอร์ ค. สามมิติ ง. สองมิติ 15. หากขยายภาพแล้ว จะมีผลให้คุณภาพลดลง เป็นภาพชนิดใด ก. บิตแม็พ ข. เวกเตอร์ ค. สามมิติ ง. สองมิติ 16. รูปแบบอักษรใดท่ีเหมาะกับงานราชการ ก. P5 DileniaUPC ข. P5 LilyUPC ค. BrowalliaUPC ง. JasmineUPC 17. รูปแบบอักษรใดที่เป็นแบบสากล ก. P5 DileniaUPC ข. P5 LilyUPC ค. BrowalliaUPC ง. JasmineUPC 18. รูปแบบอักษรใดที่เป็นแบบอิสระหรือแบบธรรมชาติ ก. P5 DileniaUPC ข. P5 LilyUPC ค. BrowalliaUPC ง. JasmineUPC
การผลติ สื่อสง่ิ พิมพ์ :------------------->> หนว่ ยการเรียนที่ 1 ความรเู้ บื้องตน้ เก่ยี วกบั ส่อื สิ่งพมิ พ์ 31 19. รูปแบบอักษรใดที่เป็นแบบคัดลายมือ ก. P5 DileniaUPC ข. P5 LilyUPC ค. BrowalliaUPC ง. JasmineUPC 20. สีที่ใช้ในงานด้านกราฟิกทั่วไปมีกี่ระบบ ก. 2 ข. 4 ค. 3 ง. 5
Search
Read the Text Version
- 1 - 31
Pages: