Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรสถานศึกษา 2564

หลักสูตรสถานศึกษา 2564

Published by Wilaiporn Mettajit, 2021-11-15 08:10:34

Description: หลักสูตรสถานศึกษา 2564

Search

Read the Text Version

125 ทพี่ งึ ประสงค์ ารเรยี นรู้

มาตรฐาน ๑๓.3 การพฒั นาทักษะจำเปน็ เฉพาะความบกพรอ่ งทางสติปัญญา สภาพท่พี งึ ประสงค์ ตัวบ่งชี้ ๑๓.3.๑ สามารถใช้และดูแลเครื่องชว่ ยฟังหรอื เคร่อื งประสาทหเู ทียม ๑.๑ สอ่ื สารได้เหมาะสมกบั สถานการณ์ ตัวบ่งชี้ ๑๓.3.2 สามารถดูแลตนเองและความปลอดภัยในชวี ิตประจำวัน ๒.๑ ดูแลตนเองและความปลอดภยั ในชีวิตประจำวัน ตวั บ่งช้ี ๑๓.3.3 มปี ฏสิ มั พันธท์ างสังคมกับผู้อน่ื อย่างเหมาะสม ๓.๑ มีปฏิสัมพันธท์ างสังคมกับผอู้ ่ืนอย่างเหมาะสม ตัวบง่ ชี้ ๑๓.3.๔. รจู้ ักใช้ทรัพยากรในชุมชน ๔.๑ ใช้สิ่งของสาธารณะอย่างเหมาะสม ตวั บง่ ช้ี ๑๓.3.5 สามารถใช้เทคโนโลยสี ิ่งอำนวยความสะดวก เคร่อื งช่วยในกา 5.๑ ใชอ้ ุปกรณ์ชว่ ยในการส่ือสารทางเลือก 5.๒ ใช้อปุ กรณ์ช่วยในการเขา้ ถงึ คอมพวิ เตอร์เพอื่ การเรียนรู้ 5.๓ ใชโ้ ปรแกรมเสริมผา่ นคอมพิวเตอร์เพ่ือช่วยในการเรยี นรู้

126 ารเรยี นรู้

มาตรฐาน ๑๓.๔ การพฒั นาทักษะจำเป็นเฉพาะความบกพร่องทางรา่ งกายหรือก สภาพท ตัวบง่ ช้ี ๑๓.4.1 ดแู ลสุขอนามัยเพื่อป้องกนั ภาวะแทรกซ้อน ๑.๑ ดแู ลหรือทำความสะอาดแผลกดทบั ได้ ๑.๒ บรหิ ารกลา้ มเนือ้ และขอ้ ตอ่ เพ่ือคงสภาพได้ ๑.๓ จัดท่านั่ง ทา่ นอน หรือทำกิจกรรมในทา่ ทางทถ่ี ูกต้อง ๑.๔ควบคมุ การเคล่ือนไหวในขณะทำกิจกรรม ๑.๔ การเพมิ่ หรอื คงสภาพองศาการเคลอ่ื นไหวของขอ้ ต่อ ตวั บง่ ชี้ ๑๓.4.๒ สามารถใช้และดูแลรักษาอปุ กรณเ์ ครอื่ งชว่ ยในการเคลอ่ื นยา้ ย ๒.๑ เคลื่อนยา้ ยตนเองในการใชอ้ ปุ กรณ์เครอ่ื งช่วย ๒.๒ ทรงตวั อยูใ่ นอปุ กรณเ์ คร่ืองช่วยในการเคลื่อนยา้ ยตนเองได้ ๒.๓ เคลื่อนย้ายตนเองดว้ ยอุปกรณ์เครื่องชว่ ย บนทาง ราบและทางลาดได้ ๒.๔ เก็บรกั ษาและดแู ลอปุ กรณเ์ คร่อื งช่วยในการเคลื่อนยา้ ยตนเองได้ ตัวบ่งชี้ ๑๓.4.๓. สามารถใช้และดแู ลรักษากายอุปกรณ์เสริม กายอปุ กรณ์ อปุ ก ๓.๑ ถอดและใสก่ ายอปุ กรณ์เสรมิ กายอปุ กรณ์ อปุ กรณด์ ัดแปลง ๓.๒ ใชก้ ายอุปกรณเ์ สริม กายอุปกรณ์ อปุ กรณ์ ดัดแปลงในการทำกจิ กรรม ๓.๓ เก็บรกั ษาและดแู ลกายอุปกรณเ์ สริม กายอุปกรณ์ อุปกรณ์ดดั แปลง ตวั บง่ ช้ี ๑๓.4.๔. สามารถใช้เทคโนโลยสี ง่ิ อำนวยความสะดวก เครอื่ งชว่ ยในก ๔.๑ ใชอ้ ุปกรณช์ ว่ ยในการสอ่ื สารทางเลอื ก ๔.๒. ใชอ้ ุปกรณช์ ว่ ยในการเข้าถึงคอมพิวเตอร์เพ่ือการเรียนรู้ ๔.๓ ใช้โปรแกรมเสรมิ ผ่านคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยในการเรยี นรู้

127 การเคลอ่ื นไหวหรือสุขภาพ ทพ่ี ึงประสงค์ ยตนเอง (Walker รถเขน็ ไม้เทา้ ไม้คำ้ ยัน ฯลฯ) กรณ์ ดัดแปลง การเรียนรู้

สภาพท ตวั บง่ ชี้ ๑๓.4.๕. ควบคุมอวัยวะทใี่ ชใ้ นการพดู การเค้ียว และการกลืน ๕.๑ ควบคมุ กล้ามเน้ือรอบปากได้ ๕.๒ ควบคุมการใชล้ ิ้นได้ ๕.๓ เป่าและดดู ได้ ๕.๔ เค้ียวและกลนื ได้ ๕.๕ ควบคมุ นำ้ ลายได้ มาตรฐาน ๑๓.๕ การพัฒนาทักษะจำเปน็ เฉพาะความบกพรอ่ งทางการเรยี นรู้ สภาพท ตวั บง่ ชี้ ๑๓.5.1 มคี วามสามารถในการรับรกู้ ารไดย้ ิน ๑.๑ จำเสยี งจากส่ิงทีไ่ ด้ยินในชวี ิตประจำวัน ๑.๒ จำแนกเสียงทแี่ ตกต่าง ๑.๓ แยกเสยี งที่กำหนดให้ออกจากเสียงอ่ืน ๆ ได้ ตัวบ่งชี้ ๑๓.5.๒. มคี วามสามารถในการรับรู้การเหน็ ๒.๑ การจำภาพท่เี ห็นในชวี ติ ประจำวัน ๒.๒. การแยกวตั ถุ ภาพ ตวั พยญั ชนะทก่ี ำหนดให้อยู่ในพ้ืนฉากทตี่ า่ งกนั ๒.๓ ตากบั มอื เคล่ือนไหวสมั พันธก์ ัน ๒.๔ การบอกส่วนท่ีหายไปของรูปภาพท่กี ำหนด ๒.๕ บอกความสัมพนั ธข์ องคุณลกั ษณะตำแหน่ง ลำดบั รูปร่างของสง่ิ ทอ่ี ยู่รอบตวั ตัวบ่งชี้ ๑๓.5.3 มีความสามารถในการจัดลำดบั ความคิด ๓.๑ เรยี งลำดับเหตุการณข์ ้ันตอนในการเลน่ หรอื การทำกิจกรรมได้ ตวั บง่ ช้ี ๑๓.5.๔. มีความสามารถในการจดั ระเบียบตนเอง

128 ที่พงึ ประสงค์ ท่ีพงึ ประสงค์

๔.๑ จดั การตนเองได้ ๔.๒ จัดลำดบั กิจกรรมตนเองได้ ตวั บง่ ช้ี ๑๓.5.๕. มีความสามารถในการบอกตำแหนง่ /ทิศทาง ๕.๑ บอกทิศทางหรอื ตำแหน่งของสง่ิ ต่าง ๆ ตัวบง่ ชี้ ๑๓.5.6. สามารถใช้เทคโนโลยีส่งิ อำนวยความสะดวก เครอ่ื งช่วยในก 6.๑ ใช้อปุ กรณช์ ว่ ยในการส่อื สารทางเลือก 6.๒. ใชอ้ ุปกรณช์ ่วยในการเข้าถงึ คอมพวิ เตอรเ์ พอ่ื การเรยี นรู้ 6.๓ ใชโ้ ปรแกรมเสริมผา่ นคอมพิวเตอรเ์ พ่ือช่วยในการเรียนรู้ มาตรฐาน ๑๓.๖ การพัฒนาทักษะจำเปน็ เฉพาะความบกพร่องทางการพูดและภ สภาพท ตวั บง่ ช้ี ๑๓.6.1 สามารถควบคุมอวยั วะในการออกเสยี ง ๑.๑ เคล่อื นไหวอวัยวะในการพดู ๑.๒ ควบคมุ อวัยวะในการพดู ตวั บง่ ช้ี ๑๓.6.๒. สามารถออกเสียงตามหน่วยเสยี งได้ชัดเจน ๒.๑ การออกเสยี ง หนว่ ยเสียงสระได้ชดั เจน ๒.๒ การออกเสยี ง หนว่ ยเสยี งพยญั ชนะได้ชดั เจน ๒.๓ การออกเสียงคำได้ชัดเจน ตัวบง่ ชี้ ๑๓.6.๓. สามารถเปล่งเสียงใหเ้ หมาะสมกบั ธรรมชาตขิ องแตล่ ะคน ๓.๑ เปลง่ เสียงในระดับเสียงที่ทำใหผ้ ้อู ่นื ฟงั ได้ ตวั บง่ ช้ี ๑๓.6.๔. สามารถควบคมุ จังหวะการพดู ๔.๑ ควบคมุ จงั หวะการพูดได้เปน็ จงั หวะปกติ (๗๐-๑๐๐ คำตอ่ นาที)

129 การเรยี นรู้ ภาษา ท่ีพงึ ประสงค์

๔.๒ พดู ไดค้ ลอ่ งหรือลดภาวะการตดิ อ่าง ๔.๓ พูดเว้นวรรคตอนไดถ้ ูกต้อง ตวั บ่งชี้ ๑๓.6. 5 สามารถใชเ้ ทคโนโลยสี ง่ิ อำนวยความสะดวก เครอ่ื งช่วยในก 5.๑ ใช้อุปกรณ์ช่วยในการสอ่ื สารทางเลอื ก 5.๒. ใชอ้ ุปกรณช์ ว่ ยในการเข้าถงึ คอมพวิ เตอรเ์ พื่อการเรยี นรู้ 5.๓ ใชโ้ ปรแกรมเสริมผ่านคอมพวิ เตอรเ์ พื่อชว่ ยในการเรยี นรู้ มาตรฐาน ๑๓.๗ การพัฒนาทักษะจำเป็นเฉพาะความบกพร่องทางพฤติกรรมหร สภาพท ตวั บ่งช้ี ๑๓.7.1 สามารถจัดการกับอารมณ์ของตนเองได้ ๑.๑ ควบคมุ ความรูส้ ึกหรอื อารมณข์ องตนเองได้ ๑.๒ แสดงออกทางอารมณ์อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์ ตวั บ่งช้ี ๑๓.7.2 สามารถควบคมุ พฤติกรรมของตนเองได้อย่างเหมาะสม ๒.๑ ควบคุมตนเองในการทำกจิ กรรมรว่ มกับเพ่ือนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ตวั บง่ ชี้ ๑๓.7.3 สามารถปรับตวั ในการอยูร่ ่วมกับสงั คม ๓.๑ การปฏิบตั ิตามกฎกตกิ าและมารยาททางสงั คมไดอ้ ย่างถกู ต้อง ตวั บง่ ช้ี ๑๓.7.4 สามารถใช้เทคโนโลยสี ่ิงอำนวยความสะดวก เครอื่ งชว่ ยในกา ๔.๑ ใช้อุปกรณ์ช่วยในการสอื่ สารทางเลอื ก ๔.๒ ใช้อปุ กรณ์ชว่ ยในการเขา้ ถึงคอมพิวเตอร์เพอื่ การ เรียนรู้ ๔.๓ ใชโ้ ปรแกรมเสริมผ่านคอมพิวเตอรเ์ พ่ือช่วยในการ เรยี นรู้

130 การเรยี นรู้ รืออารมณ์ ท่พี งึ ประสงค์ ารเรยี นรู้

มาตรฐาน ๑๓.๘ การพัฒนาทกั ษะจำเป็นเฉพาะบุคคลออทิสติก สภาพท ตัวบง่ ช้ี ๑๓.8.1 ตอบสนองตอ่ สง่ิ เรา้ จากประสาทสมั ผัสได้เหมาะสม ๑.๑ ตอบสนองต่อการทรงตัวได้เหมาะสม ๑.๒ ตอบสนองตอ่ การเคลื่อนไหวเอ็นและขอ้ ต่อได้เหมาะสม ๑.๓ ตอบสนองต่อกายสมั ผสั ได้เหมาะสม ๑.๔ ตอบสนองต่อการดมกล่ินไดเ้ หมาะสม ๑.๕ ตอบสนองต่อเสยี งท่ไี ด้ยินไดเ้ หมาะสม ๑.๖ ตอบสนองตอ่ การเหน็ ไดเ้ หมาะสม ๑.๗ ตอบสนองตอ่ การลิม้ รสไดเ้ หมาะสม ตัวบง่ ชี้ ๑๓.8.๒ เขา้ ใจภาษาและแสดงออกทางภาษาได้อยา่ งเหมาะสม ๒.๑ ปฏิบัติตามคำส่ังได้ ๒.๒ ส่ือสารโดยการใช้ท่าทาง รปู ภาพ สัญลักษณ์ คำพูดในชวี ติ ประจำวนั ตวั บง่ ช้ี ๑๓.๘.๓ แสดงพฤติกรรมทีเ่ หมาะสมตามสถานการณ์ตัวบ่งชี้ ๓.๑ รับรู้และแสดงอารมณข์ องตนเองและบคุ คลอืน่ อย่างเหมาะสม ๓.๒ ปฏิบัตติ ามข้อตกลงของหอ้ งเรียนและโรงเรยี น ๓.๓ ปฏบิ ัติตนเหมาะสมตามสถานการณ์ ตา่ ง ๆ ๓.๔ สามารถรอคอยในสถานการณ์ตา่ ง ๆ ได้ 3.5 เข้าใจและยอมรับการเปล่ียนแปลงในสถานการณ์ ตา่ ง ๆ ได้ 3.6 สามารถควบคุมตนเองในสถานการณต์ ่าง ๆ ได้

131 ที่พงึ ประสงค์

สภาพท ๑๓.8.๔ สามารถใชเ้ ทคโนโลยสี ง่ิ อำนวยความสะดวก เคร่ืองช่วยในการเรยี นรู้ ๔.๑ ใช้อปุ กรณช์ ่วยในการสื่อสารทางเลอื ก ๔.๒ ใชอ้ ปุ กรณ์ช่วยในการเข้าถึงคอมพิวเตอร์เพื่อการเรยี นรู้ ๔.๓ ใชโ้ ปรแกรมเสรมิ ผ่านคอมพวิ เตอรเ์ พ่ือชว่ ยในการเรยี นรู้ ๑.๕.๑ ประสบการณส์ ำคญั ท่ีสง่ เสรมิ การพัฒนาทกั ษะจำเป็นเฉพาะความบกพร่อ สภาพที่พงึ ประสงค์ ประสบการณ์สำคัญ ตวั บ่งช้ี ๑๓.๑.๑ มคี วามสามารถในการบูรณาการประสาทสัมผสั ท่เี หลืออยู่ในก ๑.๑ รับรู้ต่อการใช้ประสาท สัมผัส (1) มองแสงในทิศทางตา่ ง ๆ ทางการเห็นที่ เหลืออยู่ (สำหรับ (2) มองวัตถทุ ี่มสี สี นั สดใสท่อี ยกู่ บั ท่ี บุคคลสายตาเลือนราง) ในการมอง (3) มองตามวัตถุท่มี สี ีสันสดใสท่ีเคลือ่ น ส่ิงต่าง ๆ รอบตวั ได้ (4) มองหาวัตถุกำหนดให้ (5) หยบิ ส่งิ ของทีม่ ขี นาดและสที แี่ ตกตา่ (6) สำรวจสิง่ ต่าง ๆ รอบตัว (7) โยงเสน้ ไปตามตำแหน่งที่กำหนดให (8) มองภาพตามท่กี ำหนด (9) มองของจรงิ แลว้ ใหเ้ ลือกภาพทต่ี รงก (10) บรรยายภาพจากสิ่งท่ีเห็น (11) เลียนแบบสีหน้าทา่ ทาง (12) บอกรายละเอยี ดของวัตถทุ ี่เห็น

132 ท่ีพงึ ประสงค์ องทางการเหน็ แนวทางจดั กิจกรรม การดำรงชีวิต (1) ผู้สอนฉายไฟฉายชี้ไปที่ตาของผู้เรียนในทศิ ทางต่าง ๆ แล้ว นไหว ใหผ้ เู้ รยี นชี้วา่ แสงมาจากทศิ ทางใด างกัน ห้ (2) ผู้สอนเขย่ากระดิ่งหรือวัตถุที่มีเสียงแล้วให้ผู้เรียนหันหน้า กบั สิ่งท่ีมองเหน็ ไปตามทิศทางของเสยี งและใหผ้ ้เู รยี นเอื้อมมือออกไปควา้ (3) ผู้สอนใช้สิ่งของที่มีขนาดและสีที่แตกต่างหลากหลายมี ความตัดกันของสีกับพื้นโต๊ะที่วางแล้วให้ผู้เรียนเลือกหยิบ สิง่ ของตามทีผ่ ู้สอนกำหนดโดยไม่ใชม่ ือควานหา

สภาพทีพ่ ึงประสงค์ ประสบการณ์สำคญั ๑.๒ รบั รู้ต่อการใชป้ ระสาท (1) บอกเสียงจากสิ่งทไ่ี ด้ยิน สัมผัสทางการได้ยินเสียง ต่าง ๆ (2) บอกแหล่งทมี่ าของเสยี ง ในสภาพแวดล้อม ได้ (3) แยกความแตกต่างของเสยี งชนิดต่าง (4) บอกจงั หวะของเสยี ง ๑.๓ รับรู้ตอ่ การใชป้ ระสาท (1) ดมกลิ่นของใช้ประเภทตา่ ง ๆ (2) ดมกลิ่นอาหารประเภทต่าง ๆ สัมผัสทางการดมกลิ่นสิ่งต่าง ๆ (3) ดมกลน่ิ ผลไมป้ ระเภทตา่ ง ๆ รอบตวั ได้ (4) ดมกลนิ่ ดอกไมป้ ระเภทต่าง ๆ (5) ดมกลนิ่ ตา่ ง ๆ ในสภาพแวดล้อม

133 แนวทางจดั กิจกรรม 1) ฝกึ การแยกความแตกต่างของเสยี งชนดิ ต่าง ๆ โดยใชข้ องท่มี ี เสยี งเขยา่ ให้ผเู้ รียนฟังแลว้ ให้ผู้เรยี นบอกว่าเป็นเสียงของอะไร ง ๆ เช่น กระด่งิ วิทยุ กลอง กรบั ปรบมือ ๒) ฝกึ การแยกความแตกต่างของเสยี งชนดิ ตา่ ง ๆ โดยใชว้ ทิ ยุ เทป หนังสือเสยี ง เปดิ ให้ผเู้ รยี นฟังแลว้ ใหแ้ ยกแยะเสียง สงั เกตจำเสียง เช่น เสียงน้ำตก(เสียงธรรมชาติต่าง)เช่น เสียงร้องของสัตว์ เช่น เป็ด เปน็ ต้น ๓) ผูส้ อนเคาะไมห้ รอื ท่อนเหล็กตามตำแหน่งต่าง ๆ แล้วให้ ผูเ้ รียนชี้ไปยงั ตำแหน่งนั้น ๔) ผู้เรียนบอกจังหวะช้า-เร็ว,ดงั -เบาเสียง สูง-ต่ำโดยการเคาะวัตถุอุปกรณ์เช่นกลอง การเปิดเพลงให้มี จังหวะ ชา้ เรว็ และให้ผู้เรยี นปรมมือหรือเคาะตามเสยี งทีไ่ ด้ยิน ๕) ฝึกผเู้ รียนนอนบนพ้นื วตั ถตุ า่ งกันแลว้ เคลื่อนไหวใหผ้ ้เู รียนฟัง เสียงเช่น หนังสือพิมพ์ ถุงพลาสติก ผ้า กระสอบ กระดาษทราย พรม เปน็ ตน้ ๑) ฝึกผู้เรียนใช้แป้งทาตัวผู้สอนบอกผู้เรียนว่ากลิ่นนั้นคือกล่ิน อะไรและใหผ้ เู้ รียนได้สมั ผสั และดมแปง้ ทาตัวทแ่ี ขนหรอื มือตนเอง ๒) ฝึกใหผ้ เู้ รียนรู้จักนำ้ นมโดยผูส้ อนหยดนำ้ นมลงบนฝ่ามอื ผู้เรียนเล็กน้อยในระยะการดื่มนมครั้งแรกแล้วให้ผู้เรียนดมกล่ิน แล้วบอกได้

สภาพทพี่ ึงประสงค์ ประสบการณส์ ำคัญ (1) ชมิ และบอกรสชาตขิ องอาหารชนิดต ๑.๔ รับรู้ต่อการใช้ประสาท (2) ชมิ และบอกช่อื อาหาร ผกั ผลไม้ประ สัมผัสทางการชมิ รสสิ่ง (3) ชิมและบอกลักษณะของอาหาร ประ ตา่ ง ๆ ในชวี ิตประจำวันได้ ๑.๔ รับรู้ต่อการใช้ประสาท สัมผัสทางการชิมรสสิ่งตา่ ง ๆ ใช้ ชวี ติ ประจำวนั ได้ (ตอ่ ) ๑.๕ รับรู้ตอ่ การใชป้ ระสาท (1) บอกชอ่ื สิ่งของต่าง ๆ ด้วยการสัมผสั สัมผัสทางผิวกายสัมผัส สิ่งต่าง (2) บอกลักษณะรูปร่างของสิ่งต่าง ๆ ด ๆ รอบตวั และใน สภาพแวดล้อม ผิวกาย ได้ (3) บอกลักษณะพื้นผิวของสิ่งต่าง ๆ ด ผิวกาย (4) บอกสภาพแวดลอ้ มโดยการรบั ร้ทู าง (5) สัมผัสสง่ิ ตา่ ง ๆ ทีม่ อี ุณหภมู ทิ ่ีแตกตา่ (6) บอกสถานะของสง่ิ ตา่ ง ๆ

134 ต่าง ๆ แนวทางจัดกิจกรรม ะเภทตา่ ง ๆ ะเภทตา่ ง ๆ ๑) ผูส้ อนนำอาหารแต่ละชนดิ เชน่ เกลือ นำ้ ตาล มะนาว ขนมที่มี รสเผด็ เลก็ นอ้ ยมาใหผ้ เู้ รยี นลองชมิ และบอกรสชาตขิ อง สทางผิวกาย อาหารแต่ละชนิด ด้วยการสัมผัสทาง ๒) ผ้สู อนบอกรสชาติของอาหารให้ผเู้ รยี นพดู ตามทีละอย่าง ด้วยการสัมผัสทาง ๓) ผู้สอนนำอาหารที่ทำมีรสชาติต่างกันให้ผู้เรียนชิม เช่น เค็ม งผวิ กาย เปรย้ี ว หวาน จืด เปน็ ตน้ างกัน ๔) ผู้เรียนชิมอาหารทนี่ ำมาจากเนอ้ื สัตวผ์ ัก ผลไม้และบอกว่า อาหารแตล่ ะอยา่ งมีรสชาตอิ ย่างไร ๑)ให้ผู้เรียนฝึกนวดกระตุ้นสัมผัสด้วยแป้งฝุ่นโลชั่นน้ำมันพืช 100% อุปกรณน์ วดระบบสัน่ ฯลฯ ๒) ผ้เู รยี นฝกึ ใชม้ อื สำรวจสิ่งของต่าง ๆ ทมี่ พี ้นื ผิวทแ่ี ตกต่างกัน ๓) ผเู้ รยี นฝึกสำรวจสิ่งของตา่ ง ๆ ทมี่ ีหลาย ๆ ขนาดดว้ ยการสมั ผัส ๔) ผู้สอนนำผเู้ รยี นไปสำรวจสถานทต่ี า่ ง ๆ โดยการสมั ผัสและ รบั ร้ถู งึ สภาพแวดล้อมโดยการรับรจู้ ากผิวกาย 5) ครูผสู้ อนเตรยี มน้ำร้อน - นำ้ เยน็ หรอื วตั ถทุ ี่อณุ หภูมติ ่างกนั มา สัมผัสผิวผู้เรยี น 6) ครูผู้สอนเตรียมวัตถุที่สถานต่างกัน เช่น ของแข็ง-เป็นยางลบ โตะ๊ เก้าอี้ของเหลว-เปน็ นำ้ มาให้ผู้เรียนสัมผัส แล้วสามารถบอก สถานะของสิ่งของตา่ ง ๆ ไดใ้ นการเลน่ เครือ่ งเลน่ ต่าง ๆ ผสู้ อนควร คำนงึ ถึงความปลอดภยั โดย

สภาพทพี่ ึงประสงค์ ประสบการณ์สำคัญ ๑.๖ รับรู้ต่อการใช้ประสาทการ รับรกู้ ารทรงตวั ได้ (1) เลน่ เครอ่ื งเลน่ ท่ใี ช้การปนี ปา่ ย หอ้ ย (2)เล่นเครื่องเล่นที่มีการเคลื่อนไห แตกต่างกนั (3) นงั่ เครอื่ งเลน่ หรอื อปุ กรณท์ ่ีมกี ารเคล (4) ยืนทรงตวั ในรปู แบบตา่ ง ๆ (5) เดินทรงตัว (6) หมุนศีรษะและการเคลื่อนไหวไปในร กนั (7) นง่ั ทรงตวั (8) เคล่อื นไหวแบบราบเรยี บและทิศทา

135 ย โหน กระโดด แนวทางจัดกจิ กรรม วไปในระนาบที่ ล่ือนไหว ๑) ผสู้ อนยนื ด้านขา้ งของผู้เรยี นจากนัน้ ใชห้ ลงั มอื แตะมือของ ผูเ้ รยี นเป็นสญั ญาณวา่ จะเดินไปดว้ ยกัน ระนาบท่ีแตกต่าง ๒) ผเู้ รยี นเลอ่ื นมือขน้ึ จับแขนของผู้สอนเหนอื ข้อศอกเลก็ น้อย ๓) ผสู้ อนอาจจบั มือผู้เรยี นมาจบั ที่แขนโดยใหผ้ ้เู รยี นใช้มอื ขวา างต่าง ๆ จับแขนซ้ายหรือใช้มือซ้ายจับแขนขวาของผู้สอนบริเวณเหนือ ข้อศอกเล็กน้อยให้หัวแม่มืออยู่ด้านนอกส่วนอีก ๔ นิ้วที่เหลืออยู่ ด้านในการจับต้องไม่ให้แน่นหรือหลวมจนเกินไปขณะที่จับแขน แขนช่วงบน ๔).ผู้เรยี นอยู่แนบลำตวั ตามปกติ(ไม่หนีบไม่กางออกไม่โย้หน้าและ โย้หลังไปจากลำตัว)ส่วนแขนช่วงล่างยกต้ังฉากกับแขนช่วงบนแต่ ถ้าเมื่อจับเหนือข้อศอกของผู้สอนแล้วปรากฏว่าแขนช่วงบนและ ช่วงล่างไม่ตั้งฉากกันผู้เรียนควรจะเล่ือนมือขึน้ หรือลง เพื่อให้แขน อยู่ในลักษณะตั้งฉากเมื่อจับเหนือข้อศอกผู้สอนแล้ว ผู้เรียนจะยนื เยื้องไปข้างหลังผู้สอนประมาณครึ่งก้าวและต้องหันหน้าไปใน ทิศทางเดียวกันถ้าไม่แน่ใจผู้เรียนอาจตรวจสอบได้โดยใช้มือข้างท่ี จบั ขอ้ ศอกจับดูว่าไหล่ข้างท่ีใช้มือจับของตนเองอยู่ตรงกับไหล่ของ ผู้สอน(ผู้นำทาง)ข้างที่จับข้อศอกหรือไม่ถ้าไม่ตรงควรขยับให้ตรง เสียก่อนเพื่อเตรียมพร้อมที่จะเดินและฝึกนั่ง ยืน เดินทรงตัวและ หมนุ ศีรษะและการเคลอ่ื นไหวในระนาบท่ตี า่ งกัน

สภาพท่พี ึงประสงค์ ประสบการณ์สำคัญ ๑.๗ รับรตู้ อ่ การใช้ประสาท (1) กระโดดในรูปแบบต่าง ๆ การรับรู้การเคลื่อนไหว (2) เล่นเครื่องเล่นท่มี กี ารโหนหรือปีนปา่ เอ็นและข้อต่อได้ (3) หว้ิ ลาก ผลัก ดึง ยก ส่งิ ของหรอื วตั (4) ออกกำลังกายในทา่ ต่าง ๆ (5) คลานบนสภาพแวดล้อมทีแ่ ตกต่างก (6) ทำทา่ ประกอบเพลงทมี่ ีจังหวะเบา ๆ (7) นวดท่ีมกี ารลงนำ้ หนกั ที่ข้อตอ่

าย 136 ตถุทม่ี ีน้ำหนัก แนวทางจดั กจิ กรรม กนั ๑) เม่อื ผู้สอนเดินนำทางผู้เรยี นมาถงึ จดุ ใดจดุ หน่ึง หากต้องการให้ ๆ สบาย ๆ ผู้เรียนกระโดด ให้ผู้เรียนใช้มืออีกข้างยื่นไปจับแขนอีกข้างของ ผู้สอน และจะอยู่ในลักษณะยืนหันหน้าเข้าหากัน กระโดดให้ ผู้เรยี นรบั ร้แู ล้วให้ผเู้ รยี นกระโดดตาม ๒) เมื่อผู้สอนเดินนำทางผู้เรียนมาที่เครื่องเล่น ให้ผู้เรียนใช้มือย่ืน ไปสัมผัสเครื่องเล่นสำรวจให้ละเอียด แล้วอยู่ข้าง ๆ ผู้เรียนขณะ ทำกิจกรรม ๓) ผู้สอนให้ผู้เรียนใช้มือยื่นไปสัมผัสสิ่งของหรือวัตถุ สำรวจให้ ละเอยี ด ใหห้ ้วิ ลาก ผลัก ดงึ ยกสงิ่ ของหรือวตั ถทุ ่มี นี ำ้ หนัก 4) ผู้สอนฝึกให้ผู้เรียนออกกำลังกายและทำท่าประกอบเพลง จังหวะเบา ๆ ในท่าต่าง ๆ ของทุกส่วนของร่างกายที่รับรู้ต่อการ เคลือ่ นไหวเอ็นและขอ้ ต่อได้ ๕) ผู้สอนฝึกให้ผู้เรียนคลานเอามือเตะบนพื้นผิวต่าง ๆ เช่น บน เบาะ ,หญ้า,พรม,พน้ื กระเบ้อื ง เป็นต้น 6) ผู้สอนฝึกให้ผู้เรียนออกกำลังกายและทำท่าประกอบเพลง จังหวะเบา ๆ ในท่าต่าง ๆ ของทุกส่วนของร่างกายที่รับรู้ต่อการ เคลือ่ นไหวเอ็นและขอ้ ต่อได้ (7) ผู้สอนนวดรยางค์ส่วนบนและนวดส่วนที่มีการลงน้ำหนักที่ข้อ ตอ่ เช่น รยางค์แขน - ขา

สภาพทีพ่ ึงประสงค์ ประสบการณส์ ำคัญ ๑.๘ การรับรู้ตอ่ การใช้ (๑) ตำแหน่งของภาชนะใสอ่ าหาร (๒) ตำแหนง่ ของอุปกรณใ์ ชส้ ำหรับรบั ปร ประสาทสัมผัสในการ รบั ประทานอาหาร ตวั บ่งช้ี ๑๓.๑.2 การสร้างความคนุ้ เคยกับสภาพแวดล้อมและการเคลื่อนไหวข ๒.๑ ความคิดรวบยอดที่ เกี่ยวข้อง (1) รบั ร้เู ก่ยี วกบั เวลา กับการสร้าง ความคุ้นเคยกับ (2) รบั รูเ้ กี่ยวกับทศิ ทาง ส ภ า พ แ ว ด ล ้ อ ม แ ล ะ ก า ร (3) รับรู้เกย่ี วกบั ระยะทาง เคลื่อนไหว (4) รบั รู้เกย่ี วกับพน้ื ผวิ (5) รบั รู้เกี่ยวกบั อุณหภูมิ (6) รบั รเู้ ก่ียวกับกลิ่น (7) รับรู้เกย่ี วกบั เสยี ง (8) รับรเู้ ก่ยี วกับสภาพแวดลอ้ ม (9) เรยี งลำดบั ของสถานที่ เหตกุ ารณ์ ห

ระทานอาหาร 137 ของคนตาบอด แนวทางจดั กจิ กรรม หรือเวลา 1) ผเู้ รยี นฝึกใช้มือสำรวจสิ่งของตา่ ง ๆ ทีม่ ีพนื้ ผวิ ภาชนะ ที่แตกต่าง กัน ๒) ผเู้ รยี นรู้ทศิ ทาง สำรวจสถานท่ตี ่าง ๆ โดยการสมั ผัสและรบั ร้ถู งึ สภาพแวดล้อมโดยการรับรู้จากผิวกายและบอกตำแหน่งของ ภาชนะ หรืออุปกรณใ์ นการรบั ประทานอาหารได้ (1) รับรู้เกย่ี วกบั เวลา ผู้สอนอธิบายให้ผู้เรียนรู้เกี่ยวกับเวลาต่าง ๆ โดยการเชื่อมโยงกับ การทำกิจวตั รประจำวัน เช่น ๐๖.๐๐ น. ต่นื นอน อาบน้า แตง่ ตัว ๐๗.๐๐ น. กนิ ข้าว ๐๗.๓๐ น. ไปโรงเรยี น ๐๘.๐๐ น. เข้าแถวเคารพธงชาติ ฯลฯ (2) รบั รเู้ กีย่ วกบั ทศิ ทาง ผู้สอนฝึกให้ผู้เรียนรู้ว่าแสงแดดที่มากระทบใบหน้าในช่วงเช้าให้ผู้ เรียนรู้ว่าด้านหน้าของผู้เรียนคือทิศตะวันออกด้านหลังของผู้เรียน คือทิศตะวันตกด้านซ้ายของผู้เรียนคือทิศเหนือและด้านขวาของ ผู้เรยี นคือ ทิศใต้ (3) รับรเู้ กยี่ วกับระยะทาง ผสู้ อนนำวัตถสุ ิ่งของ วางบอกระยะ ใกล้-ไกล (4) รบั รเู้ ก่ยี วกบั พืน้ ผิว ผู้สอนนำวัตถุสิง่ ของหรอื กระดานกระตุ้นประสาทสัมผัสที่

สภาพท่พี ึงประสงค์ ประสบการณส์ ำคญั

138 แนวทางจัดกิจกรรม ประกอบดว้ ยพืน้ ผวิ ทแ่ี ตกต่างกนั ใหผ้ เู้ รียนสมั ผัสโดยครจู บั มอื ผู้เรียนไปสัมผัสแต่ละพื้นผิวพร้อมทั้งบอกว่านี่คือพื้นผิวอะไร อยา่ งไร (5) รับร้เู กีย่ วกับอณุ หภมู ิ ผู้สอนให้ผู้เรียนสัมผัสความรู้สึกต่าง ๆ เช่นร้อนเย็นโดยผู้สอน เตรียมนา้ รอ้ น ๑ แก้วกบั นำ้ เย็น ๑ แก้วและให้ผู้เรียนย่ืนมือสัมผัส แกว้ นำ้ แตล่ ะแก้ว โดยเมอื่ ผเู้ รียนแตะแก้วน้ำร้อนผู้สอนก็บอกว่านี่ คือร้อน และเมื่อผู้เรียนแตะแก้วน้าเย็น ผู้สอนก็บอกผู้เรียนว่า น่ี คอื เย็น (6) รับร้เู ก่ยี วกบั กลิ่น ผูส้ อนนำส่ิงของต่าง ๆ ทม่ี ีกลิ่นทีผ่ ้สู อนต้องการใหผ้ เู้ รียนรจู้ กั มาให้ นักเรียนได้สัมผัสและดมกลิ่นเช่นดอกมะลิดอกกุหลาบ โดยให้ ผู้เรียนดมกลิ่นทีละกลิ่นและผู้สอนบอกผู้เรียนว่ากลิ่นนั้นคือกล่ิน อะไรแล้วผสู้ อนค่อย ๆ ให้ผูเ้ รียนฝึกดมกลน่ิ และบอกว่ากลิ่นน้ันคือ กลนิ่ ของอะไรด้วยตนเอง (7) รับรเู้ กย่ี วกบั เสยี ง ฝึกการแยกความแตกต่างของเสียงชนิดต่าง ๆ โดยใช้ของทีม่ ีเสยี ง เขย่าให้ผู้เรียนฟังแล้วให้ผู้เรียนบอกว่าเป็นเสียงของอะไร เช่น กระดง่ิ วิทยุ กลอง กรบั ปรบมือ - ฝึกการแยกความแตกต่างของเสียงชนิดต่าง ๆ โดยใช้วิทยุ เทป หนังสือเสียง เปิดให้ผู้เรียนฟังแล้วให้แยกแยะเสียง สังเกตจาก

สภาพท่พี ึงประสงค์ ประสบการณส์ ำคญั

139 แนวทางจดั กิจกรรม เสียง เช่น เสียงน้ำตก (เสียงธรรมชาติต่าง ๆ ) เช่น เสียงร้องของ สตั ว์ เชน่ เปด็ เปน็ ต้น ผู้สอนเคาะไม้หรือท่อนเหล็กตามตำแหน่งต่าง ๆ แล้วให้ผู้เรียนชี้ ไปยังตำแหน่งนั้น - ผู้เรียนบอกจังหวะ ช้า เร็ว, ดัง เบา เสียงสูง ต่ำ โดยการเคาะ วัตถุ อุปกรณ์ เช่น กลอง การเปิดเพลงให้มีจังหวะช้าเร็วและให้ ผ้เู รยี น ปรบมอื หรือเคาะตามเสียงท่ีได้ยิน - ฝึกผู้เรียนนอนบนพืน้ วตั ถตุ ่างกันแลว้ เคลื่อนไหวให้ผูเ้ รียนฟัง เสียงเช่นหนังสือพิมพ์ ถุงพลาสติก ผ้า กระสอบ กระดาษทราย พรม เป็นต้น (8) รบั รู้เก่ยี วกบั สภาพแวดล้อม ผู้สอนอธิบายสภาพแวดล้อมในการจะเดินจากที่หนึ่งไปยังอีกที่ หนึ่งให้ผเู้ รียนฟงั เชน่ การเดนิ จากห้องเรยี นไปยงั ห้องนำ้ จะต้องเดิน ผ่านอะไรบ้างมีอะไรวางหรือตั้งอยู่ตรงจุดไหนเป็นต้น จากนั้นให้ ผู้เรียนทบทวนสภาพแวดล้อมในการากเดินทางจากห้องเรียนไป หอ้ งน้าตามท่ีผสู้ อนอธิบายใหผ้ ู้สอนฟงั อกี ครง้ั (9) เรยี งลำดบั ของสถานที่ เหตุการณ์ หรอื เวลา ผู้สอนอธิบาย/เล่าเรื่อง เหตุการณ์ เวลาสถานที่ต่าง ๆ ให้ผู้เรียน ฟงั แล้วให้ผูเ้ รยี นเล่าเร่อื งเรียงลำดับเหตุการณต์ า่ ง ๆ ได้

สภาพท่พี ึงประสงค์ ประสบการณส์ ำคัญ ๒.๒ การเดนิ ทางกบั ผูน้ ำทาง (1) ยืนกอ่ นการเดนิ กบั ผู้นำทางเมื่อผนู้ ำ ๒.๒.๑ การแตะนำ และ (2) รบั ร้สู ญั ลักษณ์ก่อนการเดินทาง (3) เลื่อนมือและจับแขนของผูน้ ำทาง การจบั แขนผูน้ ำทาง

140 แนวทางจดั กิจกรรม ำทาง ๑) ผู้สอนยืนด้านข้างของผเู้ รียนจากนั้นใช้ หลงั มอื แตะมือของ ผเู้ รยี นเปน็ สญั ญาณกว่าจะเดินไปดว้ ยกนั ๒) ผ้เู รียนเลอื่ นมอื ขึ้นจับแขนของผ้สู อนเหนือข้อศอกเลก็ น้อย ๓) ผสู้ อนอาจจบั มือผเู้ รียนมาจบั ที่แขน โดยให้ผู้เรียนใชม้ ือขวา จับ แขนซา้ ยหรือใช้มือซ้ายจับแขนขวาของผสู้ อนบริเวณเหนือ ข้อศอกเลก็ นอ้ ยให้หวั แมม่ ืออย่ดู า้ นนอกสว่ นอีก ๔ นิ้ว ทีเ่ หลืออยดู่ ้านในการจับตอ้ งไมใ่ หแ้ น่นหรือหลวมจนเกนิ ไปขณะที่ จับแขน ๔). ผู้เรียนอยูแ่ นบลำตวั ตามปกติ (ไม่หนบี ไม่กางออก ไมโ่ ยห้ น้าและ โย้หลงั ไปจากลำตัว) ส่วนแขนช่วงล่างยกตั้งฉากกบั แขนช่วงบน แต่ ถ้าเมื่อจบั เหนือขอ้ ศอกของผสู้ อนแลว้ ปรากฏว่า แขนชว่ งบนและ ช่วงล่างไม่ตั้ง ฉากกัน ผู้เรยี นควรจะเลือ่ นมือขึน้ หรือลง เพื่อใหแ้ ขน อย่ใู นลกั ษณะตั้งฉาก เม่ือจบั เหนอื ข้อศอกผสู้ อนแล้ว ผเู้ รียนจะยนื เยือ้ งไปขา้ งหลงั ผู้สอนประมาณครงึ่ ก้าวและต้องหนั หนา้ ไปใน ทศิ ทางเดยี วกันถา้ ไม่แน่ใจผ้เู รยี นอาจตรวจสอบได้โดยใช้มอื ข้างที่ จับข้อศอก จบั ดูว่าไหลข่ ้างท่ีใชม้ อื จับของตนเองอยู่ตรงกับไหลข่ อง ผสู้ อน (ผูน้ ำทาง) ข้างทจ่ี ับขอ้ ศอกหรือไม่ ถ้าไม่ตรงควรขยับให้ตรง เสยี กอ่ น เพื่อเตรียมพร้อมทีจ่ ะเดินต่อไป

สภาพทพ่ี ึงประสงค์ ประสบการณ์สำคญั ๒.๒.๒ การก้าวเดนิ โดยมี (1) ก้าวเดินกับผู้นำทาง ผ้นู ำทาง (2) รจู้ งั หวะการเดนิ กบั ผ้นู ำทาง ๒.๒.๓ การเปลีย่ นขา้ ง (1) เลอ่ื นมือก่อนการเปลีย่ นข้าง (2) จับแขนผนู้ ำทางขณะเปล่ียนขา้ ง ๒.๒.๔ การหมนุ กลบั ตัว (1) หมนุ ตวั เข้าหากนั (2) ย่นื มอื ไปจบั แขนอีกขา้ งของผูน้ ำทาง (3) ปล่อยแขนและเดินต่อ

141 แนวทางจดั กจิ กรรม 1)ผูเ้ รียนจบั แขนผู้สอนและอยใู่ นท่าที่พร้อมท่ีจะเดนิ ผ้สู อน(ผนู้ ำ ทาง)บอกผเู้ รียนว่า“เราจะเดินแล้วนะ”แลว้ ผ้สู อน(ผนู้ ำทาง)ก็กา้ ว เดินโดยมีผเู้ รยี นก้าวเดินตามในขณะท่เี ดินไปกับผ้สู อนทัง้ ผู้สอนและ ผเู้ รยี นควรจะเดินไปตามสบายอย่างปกติคือตัวผ้เู รียนเองจะต้องไม่ เกร็งไมเ่ ดินช้ำหรอื เร็วจนเกินไปโดยสงั เกตจากผู้สอน และพยายาม รักษาตำแหน่งของมือทจ่ี บั ข้อศอกใหอ้ ยู่ในตำแหนง่ เดิมตลอดเวลา สว่ นผสู้ อนเองก็ไมต่ ้องห่วงหรือเป็นกงั วลมากจนตนเองไมม่ ีความสขุ ควรเดินนำผเู้ รียนไปเรอ่ื ย ๆ ท้งั นเ้ี พราะความเคล่ือนไหวของผู้สอน จะสง่ ไปยังมอื ของผเู้ รยี นท่ีจบั อยู่ แตเ่ พื่อความสะดวกย่งิ ขึ้นเม่อื ถึงท่ี ลง เช่น ฟตุ บาท ผู้สอนควรบอกว่า “ลง”พรอ้ มกบั ก้าวลงไปก่อน ผเู้ รยี นจะรชู้ ่วงลึกของฟตุ บาทจากข้อศอกท่ีกำลงั จบั อยแู่ ละจะกา้ ว ๑) ผ้เู รียนใช้มอื อีกข้างจบั เหนือมือขา้ งที่จบั อยเู่ ลื่อนมือขา้ งท่จี บั อยู่ผา่ นหลงั ของผ้สู อนไปจับแขนอกี ขา้ งหน่งึ ของผูส้ อน ๒) เพือ่ ใหท้ ราบตำแหนง่ ใหม่ทีจ่ ะจับเบ่ียงตวั เดนิ พรอ้ มเล่ือน มือขา้ งใหม่ไปจบั เหนอื ข้อศอกหรือบริเวณที่เหมาะสมแลว้ ปล่อย มือขา้ งเดมิ 1)เมือ่ ผสู้ อนเดินนำทางผูเ้ รียนมาถึงจุดใดจุดหนง่ึ หากต้องการหมุน ง กลับตัวให้ผ้เู รียนใช้มืออกี ข้างยืน่ ไปจับแขนอกี ข้างของผู้สอน และ จะอย่ใู นลักษณะยนื หันหนา้ เข้าหากันแลว้ ผเู้ รียนก็ปล่อยมือข้างทจี่ ับ แขนผ้สู อนในการเดนิ ตามผู้สอนครั้งทผี่ า่ นมา

สภาพทีพ่ ึงประสงค์ ประสบการณ์สำคญั ๒.๒.๕ การตอบรับหรือ (1) ตอบรบั การนำทาง ปฏเิ สธการนำทาง (2) ปฏิเสธการนำทาง ๒.๒.๖ การเดินทางแคบ (1) ใช้สัญลกั ษณ์เมอ่ื ต้องการเดนิ ในทาง โดยมีผู้นำทาง (2) จบั แขนผู้นำทางเมื่อเดินในทางแคบ (3) กา้ วเดนิ กับผนู้ ำทางเม่ือเดินในทางแ (4) กลับมาเดนิ ในเสน้ ทางปกติ

142 แนวทางจดั กิจกรรม การตอบรบั การนทางผู้สอนเดินเข้าไปทักทายผเู้ รียนถาม ผู้เรยี นวา่ ต้องการจะไปท่ไี หนหรอื ไมห่ ากผ้เู รียนตอบว่าตอ้ งการไป น่งั ทีเ่ กา้ อ้แี ละต้องการผูน้ ำทางผสู้ อนก็อาสาเปน็ ผนู้ ำทาง การให้ สัญญาณในการนำทาง ผู้สอนยนื่ หลงั มือข้างทตี่ ้องการใหผ้ ูเ้ รียนจบั ไปแตะทห่ี ลงั มือของผู้เรยี น ๑-๒ ครงั้ ผูเ้ รียนค่อย ๆ เลอ่ื นมือทโี่ ดน แตะข้นึ มาจับเหนือข้อศอกของผนู้ ำทางแลว้ ผู้สอนกเ็ ดนิ นำทางการ ปฏิเสธการนำทาง ๑) กรณีทต่ี ้องการปฏิเสธการนำทาง สถานการณใ์ นขณะน้ันอาจจะ เปน็ ในลักษณะท่ีวา่ ผู้สอนเข้าไปจบั มือหรอื แขนผูเ้ รยี นเพ่ือพาไปยัง ทีใ่ ดทีหนง่ึ หากผ้เู รียนต้องการปฏิเสธการนำทาง ใหผ้ ู้เรียนใชม้ อื ข้างที่ไม่โดนจบั จับมือของผูน้ ำทางออก ๒) แต่หากผู้เรยี นต้องการไปในท่ีทผ่ี ู้สอนจะพาไป โดยผู้เรยี น ตอ้ งการจับแขนของผสู้ อน ให้ผู้เรยี นค่อย ๆ เลื่อนมือขนึ้ ไปจบั เหนอื ขอ้ ศอกของผนู้ ำทาง (ตามหลักการเดินโดยมีผนู้ ำทาง) งแคบ ๑) ผู้สอนควรบอกผู้เรยี นก่อนวา่ “เรากำลงั จะเดินในทางแคบ” พรอ้ มกับเอามือขา้ งที่ผูเ้ รียนจับไพล่ไปข้างหนึ่ง พยายามให้มอื อยู่ แคบ กลางหลังมากทีส่ ดุ ผู้เรียนจะยึดแขนทจ่ี บั ข้อศอกอยู่พรอ้ มกับหลบ เข้าไปเดินตามหลังผู้สอนในลักษณะเดินเรยี งหน่งึ โดยผ้เู รยี นเหยียด แขนให้ตรง ผูเ้ รยี นควรกา้ วเท้าใหส้ ้ันลงกว่าปกติเล็กน้อย เพือ่ กัน ไม่ใหเ้ หยียบเทา้ ผู้สอน ๒) เมือ่ เดินพ้นที่แคบแลว้ ผสู้ อนนำแขนกลับมาไวต้ ำแหนง่ เดมิ ผเู้ รยี นจะร้ไู ดว้ า่ นั่นเปน็ สญั ญาณบอกให้ทราบว่าเดินพ้นทางแคบ

สภาพท่พี ึงประสงค์ ประสบการณ์สำคญั ๒.๒.๗ การเดินกับ (1) ขึน้ -ลงบันไดกบั ผ้นู ำทางโดยไม่จับรา ผู้นำทาง ขึน้ ลงบันไดได้ (2) ขน้ึ -ลงบนั ไดกับผนู้ ำทางและจับราวบ ๒.๒.๘ การเดินกับ (1) เข้า-ออกประตูที่เปน็ ประตชู นิดผลกั ผ้นู ำทางในการเข้า-ออกประตู (2) เขา้ -ออกประตูทเ่ี ป็นประตูชนดิ เปิดเ (3) เขา้ -ออกประตูท่เี ป็นประตชู นดิ เลอ่ื น ๒.๒.๑๐ การหาของ (๑) หาของบนโต๊ะ (๒) หาของที่พื้น

าว 143 บันได แนวทางจดั กิจกรรม กออกจากตวั แล้วจงึ กลบั มาเดนิ ในตำแหนง่ เดมิ ตามปกติ ในกรณที ผี่ ้สู อนถอื ของ เข้าหาตัว อยู่ไม่เปน็ การสะดวกทจี่ ะเอามอื ไพลห่ ลัง น ผูน้ ำทางจะให้สญั ญาณ โดยการขยบั ข้อศอกข้างทีผ่ ู้เรยี นจบั อยไู่ ป ทางด้านหลังให้ทราบ การขนึ้ บันไดเม่ือผู้สอนเดนิ นำมาถึงบันได ต้องบอกวา่ “จะขึ้น บนั ไดท่ีไมม่ ีราวจบั ”แล้วผสู้ อนก็ก้าวขึน้ ผู้เรียนจะก้าวตาม โดยอยตู่ ำ่ กว่าผสู้ อน ๑ ขนั้ เมื่อลกั ษณะทัว่ ๆ ไปให้ ผูเ้ รยี นรบั ทราบ ให้มากทส่ี ุดเทา่ ท่จี ะทำได้ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนำวธิ ไี ปปรบั ใช้ได้ ดว้ ยตนเองต่อไป ๑) ผเู้ รยี นตอ้ งยืนอยู่ดา้ นเดยี วกับบานพบั ประตูเสมอ ถา้ เป็นประตู ชนิดผลักออกจากตวั ผู้สอนจะต้องใชม้ ือขา้ งท่ผี ้เู รยี นจบั อยู่ จับ ลกู บดิ แล้วเปดิ ประตูนำหนา้ เข้าไป ผู้เรียนจะเดนิ ตามโดยใช้มือทวี่ าง อยู่ ๒) เลาะขอบประตู หรือจับลูกบิดเพ่ือปิดประตไู วต้ ามเดิม ถ้าเปน็ ประตูชนดิ ดึงเขา้ หาตวั ผสู้ อนจะใช้มือขา้ งที่ผู้เรยี นจับอยู่จบั ลกู บดิ ผ้เู รียนจะใชม้ ืออีกข้างหน่ึงเลาะไปตามแขนของผนู้ ำทาง เดนิ หน้าไปก่อน ผู้เรียนเดนิ ตามเข้า-ออกประตูท้งั แบบเปิดเข้าหาตวั และชนิดเลอื่ นแล้วปิดประตู ผู้เรียนมีทักษะความจำเหนือชั้นกว่าเพราะสมองด้านการ มองเหน็ มกี ารปรับตัวผเู้ รียนมีทักษะในการจดจำตำแหน่งส่ิงของที่ วางไว้ได้เป็นอย่างดีการที่ผู้เรียนสูญเสียการรับรู้ทางการมองเห็น

สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ ประสบการณส์ ำคญั ๒.๒.๑๑ การขน้ึ -ลง (๑) ข้นึ รถ ยานพาหนะ (๒) ลงรถ

144 แนวทางจัดกจิ กรรม ทำให้พวกเขารับรู้โลกผ่านประสบการณ์ทีม่ ีการจัดเรียงลำดับเปน็ ช่วงชุดเนื่องจากผู้เรียนใช้ยุทธศาสตร์ในการจดจำสิ่งของ ดังน้ัน ยิ่งฝึกก็ยิ่งเก่ง ทำให้คนผู้เรียนมีทักษะในการจดจำเหนือกว่างาน อื่น ๑) ผูเ้ รียนฝกึ ใช้มอื สำรวจสงิ่ ของตา่ ง ๆ ทม่ี ีบนโตะ๊ และบนพ้นื ๒) ผู้เรียนฝึกสำรวจสิ่งของต่าง ๆ ที่มีหลาย ๆ ขนาดด้วยการ สัมผสั ๓) ผู้สอนนำผู้เรียนไปสำรวจสถานท่ีต่าง ๆ โดยการสัมผสั และรับรู้ ถึงสิงของต่าง ๆ โดยการรับรู้จากการสัมผัสพื้นเพื่อหาสิ่งของที่ หาย ๑)เมื่อรถหยุดสนิทผู้สอนรีบนำผู้เรียนไปที่ประตูรถถ้ามีผู้โดยสาร ขึ้นน้อยให้ผู้สอนขึ้นบันไดรถได้เลยแต่ถ้ามีผู้โดยสารขึน้ มากผู้สอน ควรนำทางผู้เรียนไปจับที่ราวขอบประตูแล้วยืนคอยหลังจากท่ี ผูโ้ ดยสารอนื่ ลงจากรถแล้วจึงบอกให้ขน้ึ รถ ๒) เม่ืออยู่บนรถแล้วผูส้ อนนำผเู้ รยี นไปนัง่ หรอื จบั ราวโหนในท่ี ทีส่ ะดวกท่ีสุด ถ้าจับราวโหนไม่ถึงให้จับราวหลังพนกั ที่นง่ั ๓) เมอ่ื จะลงจากรถ ผสู้ อนนำผู้เรยี นมาจบั เสาหรอื ราวโหนทอี่ ยู่ ใกล้ประตูลงเมื่อรถจอดสนิทแล้ว ผู้สอนเดินนำก่อนแล้วให้ผู้เรียน ลงตาม * การขึ้นรถโดยสารรถยนต์ส่วนตัวหรอื รถแท็กซ่*ี ๔)เมื่อรถหยุดสนิทแล้วผู้สอนนำผู้เรียนไปที่ประตูรถเมื่อเปิดตูให้ แลว้

สภาพทพี่ ึงประสงค์ ประสบการณส์ ำคัญ ๒.๒.๑๒ การเข้า-ออก (๑) เข้าลฟิ ต์ ลิฟต์ (๒) ออกลฟิ ต์ ๒.๓ การเดินโดยอิสระในสถานท่ี (1) ใชแ้ ขนในการปอ้ งกันตนเองสว่ นบน คุ้นเคย ๒.๓.๑ การเดินโดยการ ป้องกันตนเองสว่ นบน ๒.๓.๒ การเดินโดยการ (1) ใช้แขนในการป้องกันตนเองสว่ นล่าง ปอ้ งกันตนเองสว่ นลา่ ง ๒.๓.๓ การเดนิ โดยการ (1) ยน่ื มอื จบั ราวในการเดนิ เกาะราว ๒.๓.๔ การเดินโดยการ (1) ยนื่ มือแตะผนงั หรือราวในการเดนิ ละ ละเลาะ

145 แนวทางจดั กจิ กรรม ๕)ผู้สอนจับมือผู้เรียนไปจับที่ขอบหลังคารถผู้เรียนหันเข้าข้างไป ชิดรถหย่อนก้นลงนั่ง ปล่อยมือที่จับหลังคารถ กระเถิบเข้าไปด้าน ใน แล้วยกเท้าวางให้พ้นขอบประตู เอื้อมมือไปจับที่ปิดประตูรถ แล้วดงึ ประตปู ิดให้เรยี บรอ้ ย 1) ผู้นำทางนำเขามาที่หน้าลิฟต์และผู้นำทางกดเรียกลิฟต์ • เม่ือ ลิฟต์มาถึงให้นำทางเดินเข้าไปพร้อมกัน จากนั้นให้หันหน้าเข้าหา กันและใช้หลังมืออีกข้างแตะที่หลังมือของเขาพร้อมกลับตัวหันไป ทิศทางเดียวกันกับประตูทางเข้าลิฟต์ เมื่อถึงซั้นที่ต้องการและ ประตูลิฟต์เปิดให้ นำทางคนพิการทางการเห็นเดินออกจากลิฟต์ ทันที 1) ผเู้ รยี นยกแขนขา้ งใดขา้ งหน่ึงขึ้นและเหยียดตรงไปข้างหน้า แล้ว งอศอกเข้ามาขนานกับลำตัว(แขนตั้งฉาก)โดยยกแขนอยู่ในระดับ ใบหน้าแล้วหันฝา่ มือออกด้านนอก 1) ผู้เรียนยื่นแขนข้างใดข้างหนึ่งไปทางด้านหน้าลำตัวลักษณะ ปลายนวิ้ ชล้ี งพื้น แลว้ หนั หลงั มือออกดา้ นนอก 1) ผู้เรียนยื่นมือไปจับที่ราว โดยใช้มือข้างที่อยู่ด้านเดียวกับราว และเดนิ ไปตามปกติ ะเลาะ 1) ผู้เรียนยนื่ แขนขา้ งใดขา้ งหน่ึง (ขา้ งที่อยดู่ ้านเดียวกับผนงั หรอื กำแพงของสถานทท่ี ีจ่ ะเดินละเลาะ)ไปดา้ นหนา้ และกางแขน ออกไปดา้ นขา้ งลำตัวเลก็ นอ้ ยให้ อย่ใู นระดับเอวหันหลังมือ ออก เพื่อใชใ้ นการแตะสมั ผัส

สภาพท่ีพึงประสงค์ ประสบการณส์ ำคญั ๒.๓.๕ การเดนิ โดยใช้ไม้ (๑) จับไม้เทา้ เท้าขาว (๒) แกว่งไม้เท้า (๓) เดินร่วมกับไม้เท้า (๔) เดนิ บนพน้ื ต่างระดบั โดยใชไ้ มเ้ ทา้ ขา ตัวบ่งช้ี ๑๓.๑.3 การเตรียมความพรอ้ มการอ่านอักษรเบรลล์ ๓.๑ การเคลื่อนที่ของมือ และ (1) เคลื่อนมือและนิ้วมือข้างเดียว สัมผ นิว้ มอื ในการสมั ผัส นูน เส้นนูน จดุ นูน ในทศิ ทางต่าง ๆ (2) เคลื่อนมือและนิ้วมือทั้งสองข้างสัมผ นนู จดุ นูน ในทิศทางตา่ ง ๆ (3) เคลือ่ นมือบนเสน้ จุดนูนอกั ษรเบรลล

146 แนวทางจดั กจิ กรรม ๑) ผู้เรียนจะต้องได้รับการฝึกฝนการใช้จากผู้สอนที่ได้ศึกษาวิชา ความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อมและการเคลื่อนไหว (Orientation and Mobility Instructor หรอื Peripatologist) มาโดยตรง เวลา าว ที่ใช้ในการเรียน และฝึกฝนของผู้เรียนก็จะต้องนานพอที่จะแน่ใจ ได้ว่าผู้เรียนสามารถใช้ไม้เท้าเป็นเครื่องมือในการเดินทางไปยัง สถานที่ต่าง ๆ ที่เขาต้องการได้อย่างมีประสิทธิภาพ และอิสระ อย่างแท้จริง แต่ถ้าฝึกฝนไม่เพียงพอ นอกจากจะไม่เกิดประโยชน์ เต็มทแี่ ล้วยงั อาจก่อใหเ้ กิดอนั ตรายต่อตัวเขาดว้ ย ผัสภาพ 1) ผู้เรียนเคลื่อนมือจากซ้ายไปขวาบนภาพนูนรูปเรขาคณิตที่มี ๆ พ้นื ผวิ แตกต่างกัน ผัสภาพนูน เส้น 2) ผเู้ รียนเคลื่อนมือจากซา้ ยไปขวาบนเสน้ ขอบรปู เรขาคณิต ล์ เปน็ เสน้ ท่แี ตกต่าง 3) ผเู้ รยี นเคล่อื นมอื จากซ้ายไปขวาบนเส้นเชือกหรอื เสน้ นูน ที่มรี ปู หลายลักษณะ 4) ผู้เรยี นเคล่ือนมือจากซ้ายไปขวาบนกระดานหมดุ ขนาด

สภาพท่พี ึงประสงค์ ประสบการณส์ ำคญั

147 แนวทางจดั กิจกรรม ใหญ่-เล็ก 5) ผู้เรียนเคล่อื นมือทัง้ สองจากซ้ายไปขวาโดยปลายนิว้ ช้ี นิ้วกลาง นิ้วนาง นิ้วก้อย อยู่บนเส้นที่เป็นจุดนูนอักษรเบรลล์ ผ้เู รียนเคลอื่ นมือขา้ งขวานำแลว้ ตามด้วยมือข้างซา้ ย จากซ้ายไปขวา โดยปลายนิ้วชี้ นิ้วกลาง นิ้วนาง นิ้วก้อย อยู่บนเส้นที่เป็นจุดนูน อกั ษรเบรลล์ 6) ผเู้ รียนเคลอ่ื นมือบนเส้นจดุ นนู อกั ษรเบรลลท์ มี่ จี ดุ หายไป จุด ๑๓๔๖ 7) ผเู้ รียนเคล่ือนมอื บนเส้นจุดนนู อกั ษรเบรลลท์ ่มี ีจุดหายไป จดุ ๑๒๔๕ 8) ผเู้ รยี นเคล่ือนมือบนเส้นจดุ นนู อกั ษรเบรลลท์ ่มี จี ุดหายไป จดุ ๑๔ 9) ผู้เรียนเคลื่อนมือบนเส้นจุดนูนอักษรเบรลล์ที่ยาว-สั้นผู้เรียน เคลื่อนมอื บนเสน้ จุดนูนอักษรเบรลลท์ ี่ยาวท่ีสดุ และสน้ั ทีส่ ดุ ผู้เรยี นเคลอ่ื นมือบนเส้นจากซ้ายไปขวาอักษรเบรลล์ท่ีเว้นวรรค แนวเดียวกัน 10) ผู้เรียนเคลื่อนมือบนเส้นจากซ้ายไปขวาอักษรเบรลล์ที่เว้น วรรคตา่ งแนวกัน 11) ผู้เรียนเคลื่อนมือบนเส้นจากบนลงล่างโดยอักษรเบรลล์ตวั ทมี่ ลี ักษณะเหมอื นกัน 12) ผู้เรียนเคลื่อนมือบนเส้นจากบนลงล่างโดยอักษรเบรลล์ตวั ท่มี ลี ักษณะตา่ งกัน

สภาพท่ีพงึ ประสงค์ ประสบการณ์สำคญั ตัวบง่ ชี้ ๑๓.๑.4 การเตรียมความพร้อมการเขียนอักษรเบรลล์ ๔.๑การใสแ่ ละเล่ือน กระดาษ (1) รจู้ ักอปุ กรณ์การเขยี นอักษรเบรลล์ (2) ใสแ่ ละเลื่อนกระดาษ

148 แนวทางจัดกจิ กรรม ๑) ให้ผเู้ รียนสัมผสั ลกั ษณะของสเลท (State) แถวและเซล ๒) ให้ผู้เรียนวางสเลทในลักษณะพร้อมที่จะเขียนด้วยการวางโดย บานพับไว้ทางขวาและเปิดสเทลท(State)ทางซ้าย ร่องหยักอยู่บน ดา้ นจุดนนู ทเี่ ป็นเบา้ อยูด่ า้ นลา่ ง 3 ) ให้ผู้เรียนวางสเลทในลักษณะพร้อมที่จะเขียน ด้วยการวางโดย บานพับไวท้ างขวา และเปดิ สเลท (State) ทางซา้ ย รอ่ งหยักอยู่บน ด้านจุดนูนทีเ่ ปน็ เบ้าอยู่ดา้ นล่าง 4) ให้ผู้เรียนหัดเปิดและปิดสเลท(State)โดยการเปิดกระดาน สเลทใหว้ างในแนวพื้นราบ 5) ให้ผเู้ รียนหัดใสก่ ระดาษโดยการเปดิ สเลท(State)ในแนวพ้ืนราบ มือซ้ายและขวาหาปุ่มด้านบนซ้ายและขวาของสเลท (Slate)เลื่อน กระดาษขอบบนมาวางทปี่ ุ่มท้ังสอง กดกระดาษลงบนป่มุ จากน้นั ใช้ มือข้างซ้ายจับแผ่นบนของสเลท(State) ลงมาทับ กดสเลท (State) จะได้ยนิ เสยี ง ของกระดาษกับปุ่มทั้งสขี่ องสเลท (State) 6) ให้ผู้เรียนหัดเปิดเอากระดาษออกโดยการเปิดสเลท (State) ด้านบนออกวางในแนวพื้นราบ โดยมือซ้ายส่วนมือขวาจับแผ่นล่าง ของสเลท (State) จากนั้นเอามือทั้งสองมาที่ขอบบนของกระดาษ แล้ว ยกกระดาษขน้ึ ออกจากสเลท (Slate) 7) ให้ผู้เรียนเปิดสเลท ใส่กระดาษ ปิดสเลท (Slate)ซ้ำหลายคร้ัง จนผู้เรียนเกิดความชำนาญ 8) ให้ผู้เรียนเปิดสเลทถอดกระดาษปิดสเลทซ้ำหลายครั้งจนผู้เรียน เกิดความชำนาญ

สภาพทพี่ ึงประสงค์ ประสบการณ์สำคัญ ๔.๒ การจับสไตลสั (1) จบั สไตลสั ในการเขยี น (Stylus) ในการเขยี นจดุ (2) กดจดุ อักษรเบรลล์

149 แนวทางจัดกจิ กรรม 9) ให้ผู้เรียนหัดเลื่อนกระดาษจากสเลทที่หนึ่งไปยังสเลทช่วงที่สอง โด่ยการเปิดสเลท (Slate) ด้านบนออกวางในแนวพื้นราบ โด่ยมือ ซ้ายส่วนมือขวาจับแผ่นล่างของสเลท (Slate) จากนั้นเอามือท้ัง สองมาท่ีขอบล่างของกระดาษที่มีรอยปุ่มแล้ว ยกกระดาษขึ้นออก จากสเลทอย่างช้า ๆ เลื่อนกระดาษขึ้นโดยให้ปุ่มที่จับอยู่ทั้งสองมือ ไปอยู่ปุ่มขอบบนของกระดาษสเลทแทน จากนั้นเอามือซ้ายจับ ด้านบนของสเลท(Slate)ลงมาทับ กดสเลท (Slate) จะได้ยินเสียง ของกระดาษกับปมุ่ ทง้ั สขี องสเลท(Slete) 10) ให้ผู้เรยี นทำเชน่ น้ี ซ้ำหลายครัง้ จนผเู้ รียนเกดิ ความชำนาญ ๑)ให้ผู้เรียนสัมผัสลักษณะดินสอสไตลัส(Stylus)ว่าส่วนที่จับและ สว่ นทีเ่ ปน็ เหลก็ แหลมสำหรับไวก้ ดลงในกระดาษ ๒)ให้ผู้เรียนจับสไตลัส(Stylus)โดยการวางน้ิวชี้ของมือขวาพาดไป บนหวั สไตลัส(Stylus)นิ้วหวั แมม่ อื วางแนบดา้ นขา้ ง สว่ นนิ้วทเี่ หลือ เขา้ หาสไตลสั ๓) ให้ผู้เรียนน่ังตัวตรง วางแขนช่วงล่างราบไปกบั พื้นแขนส่วนบน และสว่ นลา่ งงอทำมมุ เล็กน้อย ๔) ใหผ้ ู้เรียนจบั สไตลัส(Stylus)ดว้ ยมือซ้ายมอื ขวาจบั ช่องแรก ของแถวบนสเลท(Slate) ที่ใส่กระดาษแล้วมากดลงโดยให้น้ำหนัก การกดอยู่ท่นี ิ้วช้ีใชข้ ้อมอื ขยบั ขึน้ ลง

สภาพที่พงึ ประสงค์ ประสบการณ์สำคญั ตัวบ่งช้ี ๑๓.๑.5 มีความสามารถในการอ่านอกั ษรเบรลล์พยัญชนะ ไทยทีม่ เี ซ ๕.๑ การอ่านอักษรเบรลล์ (1) อ่านอักษรเบรลล์ พยัญชนะ ไทยที่เป็นพยัญชนะเซลล์เดียว ภาษาไทย กลุม่ จุด ๑, ๒, ๔, ๕ และตัวเลข (2) อ ่ า น อ ั ก ษ ร เ บ ร ล ล ์ พ ย ั ญ ชนะ ภาษาไทย กลุม่ จุด ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ (3) อ ่ า น อ ั ก ษ ร เ บ ร ล ล ์ พ ย ั ญ ชนะ ภาษาไทย กล่มุ จดุ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ (4) อ่านตวั เลขอกั ษรเบรลล์ จำนวน ๑-๑


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook