Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนึงโรงเรียนหนึ่งนวัตกรรม

หนึงโรงเรียนหนึ่งนวัตกรรม

Published by Wilaiporn Mettajit, 2021-11-18 04:11:07

Description: หนึงโรงเรียนหนึ่งนวัตกรรม

Search

Read the Text Version

แบบ นร. ๑ การนำเสนอผลงาน “หนึง่ โรงเรียน หน่ึงนวตั กรรม” ประจำปี ๒๕๖๔ ๑) ชือ่ ผลงานหนึ่งโรงเรียน หนง่ึ นวัตกรรม “การพฒั นาระบบสารสนเทศดว้ ยเทคโนโลยี Google Apps เพ่อื การคน้ หาและนำทาง (ปักหมุด) สู่การพัฒนาผู้เรียน ของศนู ย์การศึกษาพเิ ศษประจำจงั หวัดระนอง” ๒) การส่งผลงานหนึ่งโรงเรยี น หนึง่ นวตั กรรม (กรุณาระบุ✓ลงในชอ่ ง  ทีต่ รงกบั ผลงาน)  เปน็ ผลงานท่ีไมเ่ คยส่งเขา้ รับการคัดสรรกบั คุรุสภา  เปน็ ผลงานท่เี คยส่งเขา้ รับการคัดสรรกับครุ สุ ภา ป.ี ........ เร่ือง............แต่ไม่ไดร้ ับรางวัล ของครุ สุ ภา  เป็นผลงานที่เคยไดร้ ับรางวัลของครุ สุ ภาและมีการนำมาพฒั นาเพิ่มเตมิ หรือต่อยอด นวตั กรรม (ต้องกรอก แบบ นร.๒) ๓) ประเภทผลงานหน่ึงโรงเรยี น หน่งึ นวัตกรรม (กรุณาระบุ ✓ ลงในช่อง  ท่ีตรงกบั ผลงาน)  การจดั การเรยี นรู้  ส่ือและเทคโนโลยเี พือ่ การเรียนรู้  การบริหารและการจดั การสถานศกึ ษา  การวดั และประเมนิ ผล  การส่งเสริมและพฒั นาผเู้ รียนให้เต็มศักยภาพ  อน่ื ๆ โปรดระบุ ................................................................ ๔) ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา ตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการสถานศึกษา ช่อื ผู้บริหารสถานศึกษา นายบัญชา เกตุแกว้ โทรศัพทเ์ คลอ่ื นท่ี ๐๘๖-๒๖๗-๙๔๕๖ เลขบัตรประชาชน ๓๘๕๐๔๐๐๒๐๐๘๒๐ วิทยฐานะ ชำนาญการพิเศษ E-mail : buncha.jum@gmail.com ๕) ผู้ประสานงาน เลขบัตรประชาชน 2๘๖๙๙๐๐๐๒๐๔๖๓ ▪ นางสาววิไลพร เมตตาจติ ร วิทยฐานะ ชำนาญการ E-mail : tonvilai@hotmail.com ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการสถานศกึ ษา โทรศัพท์เคลอ่ื นท่ี ๐๘๑-๐๙๕-๗๒๔๔ ๖) คณะผู้ร่วมพฒั นาผลงานนวัตกรรม (ครู/ นกั เรียน/ผู้ทม่ี สี ่วนเกี่ยวข้อง จำนวนจริง) ▪ นายบัญชา เกตแุ ก้ว เลขบตั รประชาชน ๓๘๕๐๔๐๐๒๐๐๘๒๐ ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถานศึกษา วทิ ยฐานะ ชำนาญการพเิ ศษ โทรศพั ท์เคลือ่ นท่ี ๐๘๖-๒๖๗-๙๔๕๖ E-mail : buncha.jum@gmail.com ▪ นางสาวขวัญเดือน ชยุติ เลขบตั รประชาชน ๓๘๕๐๒๐๐๐๑๓๘๕๕ ตำแหนง่ ครู วิทยฐานะ ชำนาญการพเิ ศษ โทรศัพทเ์ คลอ่ื นที่ ๐๘๓-๙๓๙-๘๖๑๕ E-mail : khawduenchayuti2518. @gmail.com

▪ นายกติ ตริ์ ัฐ ภู่เสม เลขบตั รประชาชน ๓๖๕๙๙๐๐๐๒๒๔๓๑ ตำแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ - โทรศัพทเ์ คลื่อนที่ ๐๙๗-๙๒๐-๑๑๑๖ E-mail : kittiratpusam2520@gmail.com ▪ นายนัฐการ อปุ มัย เลขบตั รประชาชน ๑๓๓๐๕๐๐๑๑๔๐๙๔ ตำแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ - โทรศพั ทเ์ คล่ือนที่ ๐๙๕-๒๖๘-๒๘๗๓ E-mail : nongfangfang1@gmail.com ▪ นายเอกสิทธิ์ ใจดี เลขบัตรประชาชน ๓๗๒๐๗๐๐๘๔๐๓๙๕ ตำแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ - โทรศัพทเ์ คลอ่ื นท่ี ๐๘๑-๘๔๒-๒๑๘๘ E-mail : ekasitchaidee@gmail.com ▪ นางสาวรุง่ นภา โพธิ เลขบัตรประชาชน ๓๒๕๐๘๐๐๔๖๕๗๔๔ ตำแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ - โทรศัพท์เคล่อื นท่ี ๐๘๓-๒๗๓-๒๒๒๓ E-mail : rungnapaoho@gmail.com ๗) ขอ้ มูลสถานศึกษา ชื่อสถานศกึ ษา ศูนย์การศกึ ษาพิเศษประจำจงั หวัดระนอง เลขที่ ๑๕๐/๕ หมูท่ ่ี ๓ ตำบล บางร้นิ อำเภอ เมือง จงั หวดั ระนอง รหสั ไปรษณยี ์ ๘๕๐๐๐ โทรศัพท์ ๐๗๗-๘๑๐๖๙๓ โทรสาร ๐๗๗-๘๑๐๖๙๓ ๘) สงั กดั  ๑. สพป. ............. เขต............  ๒. สพม. เขต............ จังหวัด.......................  ๓. สอศ.  ๔. สช.  ๕. สช.  ๖. อปท. ........................  ๗. กศน.  ๘. การศกึ ษาพิเศษ.  ๙. อื่นๆ (โปรดระบุ) ................................ ๒. บทสรปุ ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดระนอง เป็นสถานศึกษาในสังกัดสำนักบริหารงาน การศึกษาพิเศษ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ปฏิบัติหน้าที่ ในลักษณะเป็นศูนย์ให้บริการช่วยเหลือระยะแรกเริ่มและเตรียมความพร้อมสำหรับเด็กพิการ ในจังหวัด โดยการจัดทำแผนใหบ้ รกิ ารช่วยเหลือเฉพาะครอบครัว (Individualized Family Service Plan : IFSP) และแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (Individualized Education Program : IEP) เป็นการให้บริการตามแผน ให้คำปรึกษา แนะนำและบริการพัฒนาศักยภาพด้านต่างๆ ด้วยการ รวบรวมข้อมูลพ้ืนฐาน/ข้อมูลท่วั ไป (จากการสัมภาษณ์ การสงั เกต การสืบคน้ จากแฟ้มประวัติของคน พิการและการออกค้นหาติดตามเยี่ยมบ้านนักเรียน) รวมทั้งการจัดหาสื่อ อุปกรณ์ที่เหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการจำเป็นพิเศษแต่ละบุคคล ปัจจุบันศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัด ระนองมีผู้เรียนจำนวนทั้งสิ้น ๑๘๙ คน รับบริการที่ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดระนองและ หนว่ ยบรกิ ารประจำอำเภอแบบไป – กลบั จำนวน ๑๔๔ คน และรบั บรกิ ารทบี่ ้าน จำนวน ๔๕ คน ในปัจจุบันการทำงานทุกด้านไม่ว่าจะเป็นภาครัฐหรือเอกชนก็ตามย่อมมีการนำเทคโนโลยี สมัยใหม่เข้ามาใช้ในหน่วยงาน และช่วยในการทำงานให้สามารถปฏิบัติได้ราบรื่น ลดภาระ เพิ่มประสิทธิภาพ ซึ่งใช้เวลาเพียงไม่นานในการทำงาน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นปัจจัยสำคัญ

ที่ช่วยให้สถานศึกษาสามารถจัดการและใช้ทรัพยากรให้มีประสิทธิภาพ และเกิดประโยชน์สูงสุด ต่อผู้เรียน การนำเทคโนโลยี Google Apps เข้ามาใช้ในการพัฒนาระบบสารสนเทศผู้เรียนของ สถานศึกษา เป็นกระบวนการจัดการข้อมูลผู้เรียนรายบุคคลให้อยู่ในรูปแบบออนไลน์ สามารถเข้าถึง และใช้ประโยชน์ได้ง่าย โดยการออกแบบในการจัดเก็บ รวบรวมข้อมูลและพัฒนาบนเว็บไซต์ ผ่าน Google Site และปกั หมดุ พิกัดที่อย่บู า้ นของผู้เรียนเช่อื มตอ่ กับ Google Map ซง่ึ ให้บรกิ ารด้าน แผนที่ ในการคน้ หาและนำทางไปบา้ นผู้เรียน นบั วา่ เป็นนวัตกรรมในการจัดการข้อมลู ผู้เรียนท่ีมีความ สมบูรณ์ ครบถ้วน และมีประสิทธิภาพก่อให้เกิดความสะดวกรวดเร็วในการปฏิบัติงาน เพื่อใช้ ประโยชน์ในการส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน ในการนำไปสู่การพัฒนาผู้เรียนอย่างทั่วถึงทุกคน ทุกประเภทให้เต็มศักยภาพอย่างยั่งยืน ทั้งนี้ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดระนองมีการจัดเก็บ และรวบรวมข้อมูลผู้เรียนเป็นรายบุคคลอย่างเป็นขั้นตอน ชัดเจน แยกตามอำเภอ ตำบล ครอบคลุม ทกุ กลุ่มเปา้ หมาย ซ่งึ การมขี ้อมลู สารสนเทศท่ถี ูกต้อง ใชง้ านงา่ ย ตรงกับความตอ้ งการของผู้ใช้ ชว่ ยให้ การดำเนินงานในการพัฒนาผู้เรยี นของสถานศึกษาเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผลต่อ ผู้เรยี น ผลการใช้และพัฒนาระบบสารสนเทศด้วยเทคโนโลยี Google Apps เพื่อการค้นหาและ นำทาง (ปักหมุด) สู่การพัฒนาผู้เรียน ของศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดระนอง ผ่าน Google Site และ Google Map ช่วยให้การจัดการข้อมูลผู้เรียนเป็นรายบุคคลของสถานศึกษาอยู่ในรูปแบบ ออนไลน์ สามารถเข้าถึงและใช้งานได้ง่าย มีความถูกต้อง สะดวกต่อการค้นหาและนำทางไปบ้าน ผู้เรียน ส่งผลให้ครูสามารถใช้เทคโนโลยี และเข้าถึงข้อมูลผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ เกิดความ สะดวก รวดเร็วและมีความคล่องตัวในการปฏิบัติงานสำหรับบุคลากรมากยิ่งขึ้น ครูรู้จักผู้เรียนเป็น รายบุคคลจากการติดตามเยี่ยมบ้านนักเรียน เพื่อใช้ในการวางแผนพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน และเกิด ความต่อเนอ่ื ง นอกจากนี้ยงั เปน็ ประโยชน์ต่อหน่วยงานภายนอกในการเขา้ ถึงข้อมลู ของผเู้ รยี นให้ได้รับ การช่วยเหลือได้อย่างทันท่วงที ผู้เรียนได้รับการพัฒนา ติดตามดูแลอย่างทั่วถึง เต็มตามศักยภาพ อย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ผู้เรียนมีพัฒนาการเป็นไปตามศักยภาพของแต่ละบุคคล ได้รับการพัฒนา คุณภาพชวี ิตมสี ภาพความเป็นอยู่ท่ีดีข้นึ ๓. ความเปน็ มาและความสำคัญ ๒. ควาตมาเมปพน็ รมะารแาลชะบคัวญาญมัตสำิกคาัญรศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 หมวด 2 สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา มาตรา 10 กำหนดว่า การจัดการศึกษาต้องจัด ให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปีที่รัฐต้องจัดให้ อย่างทั่วถงึ และมีคณุ ภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่ายและวรรคสอง การจัดการศกึ ษาสำหรับบคุ คลซึ่งมีความ บกพร่องทางร่างกาย จิตใจสติปัญญา อารมณ์ สังคม การสื่อสารและการเรียนรู้ หรือมีร่างกายพิการ หรือทุพพลภาพหรือบุคคลซึ่งไม่สามารถพึ่งตนเองได้ หรือไม่มีผู้ดูแลหรือด้อยโอกาส ต้องจัดให้บุคคล ดังกล่าวมีสิทธิและโอกาสได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นพิเศษ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนด ในกฎกระทรวงและมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ พ.ศ.๒๕๕๑ กำหนดให้คนพิการมีสิทธิได้รับการศึกษาโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายรวมทั้งการได้รับสิ่งอำนวยความสะดวก สื่อ บริการและความช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษา โดยจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการจำเปน็ พเิ ศษของแต่ละประเภทและบคุ คล

การจัดการศึกษาสำหรับเด็กพิการสำหรับศูนย์การศึกษาพิเศษ จัดในรูปแบบการฟื้นฟู สมรรถภาพ พัฒนาศักยภาพ การเตรียมความพร้อมให้เด็กพิการให้ไดร้ ับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ ของแต่ละบุคคลให้มีความสมบูรณ์พร้อมทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา และการดำรงตนให้มีความสุข ดำเนินการพัฒนาในรูปแบบสหวิทยาการทั้งด้านการศึกษา การแพทย์ การสังคมสงเคราะห์ คำนึงถึง การมีส่วนร่วม ทั้งหน่วยงานภาครัฐและเอกชนในพื้นให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาผู้เรียน ซึ่งเป็นปัจจัย สำคญั ทมี่ ีผลต่อการพัฒนาศักยภาพ และการให้ความช่วยเหลือเด็กพิการ ซ่งึ กระบวนการจดั การศึกษา เน้นการเสริมสรา้ งศักยภาพและสนองความต้องการจำเป็นพิเศษของเดก็ พิการ จำเปน็ ต้องมฐี านข้อมูล ของเด็กพิการเป็นรายบุคคลที่ชัดเจน ถูกต้อง เพื่อให้หน่วยงานที่มีหน้าที่ในการดูแลช่วยเหลือเด็ก พิการ สนับสนุนการจัดการศึกษาสำหรับเด็กพิการสามารถเข้าถึงข้อมูลคนพิการในจังหวัดได้อย่าง รวดเรว็ และมปี ระสทิ ธภิ าพ เดก็ พิการไดร้ ับการพฒั นาอยา่ งทั่วถงึ ทุกคน ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดระนอง เป็นสถานศึกษาในสังกัดสำนักบริหารงาน การศึกษาพิเศษ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงาน ที่ให้บริการช่วยเหลือระยะแรกเริ่มและเตรียมความพร้อมสำหรับคนพิการทั้ง ๙ ประเภท ในรูปแบบ ของศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัด และหน่วยบริการประจำอำเภอ ซึ่งจัดตั้งอยู่ในชุมชน ครอบคลุม ๕ อำเภอ ได้แก่ อำเภอเมือง อำเภอสุขสำราญ อำเภอกะเปอร์ อำเภอละอุ่น และอำเภอ กระบุรี เพื่อให้เด็กพิการในพื้นที่ได้รับให้ได้รับการดูแล บำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างทั่วถึง โดยเร็วที่สุดแก่เด็กที่มีความเสี่ยงทุกระดับทันที ทั้งนี้ตั้งแต่แรกเกิดหรือแรกพบความพิการจนตลอด ชีวิต รวมทั้งสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน จัดสื่อเทคโนโลยี สิ่งอำนวยความสะดวก ให้บริการ และความช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษา ทั้งนี้มุ่งพัฒนาให้เด็กพิการได้รับบริการจากนักวิชาชีพ ท่ีหลากหลายทั้งด้านการศึกษา ด้านสุขภาพ การบำบัดรักษา ตลอดจนการป้องกันความพิการที่จะ เกิดขึ้น เพื่อให้เด็กพิการได้รับการพัฒนาไปตามขั้นตอน อย่างมีคุณภาพและทั่วถึง ส่งผลให้เด็กพิการ มีคุณภาพชีวติ ทีด่ ขี ึ้น พึง่ ตนเองได้ การพัฒนาผู้เรียนของศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดระนอง ให้บริการด้วยรูปแบบการ ให้บริการแบบไป – กลับ และรับบริการที่บ้านโดยการหมุนเวียนครู นักกายภาพ นักกิจกรรมบำบัด เข้าไปให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้เรียนซึ่งในการออกไปให้บริการผู้เรียน บุคลากรต้องรู้จักเส้นทาง ตำแหนง่ ทตี่ งั้ บา้ นของผ้เู รียนทกุ คน เพอ่ื ให้ผู้เรยี นทุกคนได้รับการพฒั นาอยา่ งต่อเนื่อง ทั่วถงึ เนอื่ งจาก การติดตาม ดูแลช่วยเหลือหรือการออกไปให้บริการผู้เรียนที่ผ่านมามีปัญหา อุปสรรคในการ ดำเนนิ งานอยบู่ ่อยครั้ง เช่น การออกติดตาม คน้ หาและเดนิ ทางไปบ้านผู้เรียนไม่เปน็ ไปตามเป้าหมาย ใช้เวลาในการเดินทางนาน เพราะบุคลากรและผู้เกี่ยวข้องไม่ทราบเส้นทางไปบ้านผู้เรียน ส่งผลให้ ผเู้ รียนไมไ่ ด้การพฒั นาอย่างต่อเน่ือง ทงั้ ยังเป็นการเพ่ิมภาระของบุคลากรในการนำทางไปบ้านผู้เรียน อยู่บ่อยครงั้ ส่งผลใหก้ ารติดตาม ช่วยเหลอื ผ้เู รียนไปด้วยความล่าช้า เพอื่ ให้ผเู้ รยี นของศูนย์การศึกษา พิเศษประจำจังหวัดระนอง ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องทั่วถึง ทุกคนและทุกประเภทความพิการ เข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพในรูปแบบที่เหมาะสม ได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพเท่าเทียมกัน ตลอดจน การได้รับการติดตาม ดูแลอย่างทั่วถึงครอบคลุมทั้งจังหวัด ผู้เรียนทุกคนได้รับการพัฒนาเต็มตาม ศักยภาพ ด้วยความตระหนักและเห็นความสำคัญในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจำจังหวัดระนอง จึงได้มีแนวคิดในการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในการพัฒนาระบบสารสนเทศ ของผู้เรียน ด้วยเทคโนโลยี Google Apps ในการจดั เกบ็ และรวบรวมข้อมลู ผู้เรียนไวใ้ นแหล่งเดียวกัน

ของศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดระนอง ให้อยู่ในรูปแบบออนไลน์ เพื่อให้มีการนำไปใช้ ประโยชนใ์ นการพัฒนาผูเ้ รยี นอย่างยั่งยืนตอ่ ไป ๔. วัตถุประสงค์ ความเป๑น็. มเพาื่อแอลอะกคแวบามบสแำลคะัญพัฒนาระบบสารสนเทศของสถานศึกษาด้วยเทคโนโลยี Google Apps ในการจัดเก็บและรวบรวมข้อมูลผู้เรียนให้อยู่ในรูปแบบออนไลน์ ครอบคลุมผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมาย อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ๒. เพื่อให้เด็กพิการในจังหวัดได้รับบริการทางการศึกษาอย่างทั่วถึง เสมอภาคมีความเท่า เทยี มและมีคุณภาพ ๓. เพื่อให้สถานศึกษามีข้อมูลผู้เรียนรายบุคคลที่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ ครู บุคลากร หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ เข้าถึงข้อมูลคนพิการซึ่งเกิดประโยชน์ต่อ การพฒั นาผู้เรยี น ๕. กระบวนการพฒั นาผลงานหน่ึงโรงเรยี น หนงึ่ นวตั กรรม ามเปน็ ๕ม.า๑แลสะภคาวพาปมญั สำหคาัญกอ่ นการพัฒนา การให้บริการช่วยเหลือระยะแรกเร่ิม (Early Intervention : EI) และเตรยี มความพร้อม สำหรบั เดก็ พิการในพ้นื ที่จังหวัดระนองเป็นบทบาทหน้าท่หี ลักของศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัด ระนองในการส่งเสริม สนับสนุนให้เด็กพิการได้รับการพัฒนาตามศักยภาพและความต้องการจำเป็น พิเศษของแต่ละบุคคล ทั้งนี้โดยคำนึงถึงการมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชนซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญ ที่มีผลต่อการพัฒนาศักยภาพและการให้ความช่วยเหลือเด็กพิการด้วยกระบวนการทางการศึกษา เพื่อให้คนพิการได้รับการพัฒนาศักยภาพตามแผนให้บริการช่วยเหลือเฉพาะครอบครัว ( Individualized Family Service Plan : IFSP) แ ล ะ แ ผ น ก า ร จ ั ด ก า ร ศ ึ ก ษ า เ ฉ พ า ะ บ ุ ค ค ล (Individualized Education Program : IEP) ในการออกไปให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ติดตาม ความก้าวหน้าของพัฒนาการ หรือการเข้าไปให้ความช่วยเหลือผู้เรียน พบว่ามีปัญหาและอุปสรรค ในการดำเนนิ งานดงั น้ี ๑) ผู้เรียนไม่ได้รบั การพัฒนาคุณภาพในรูปแบบของการได้รบั บริการทางการศึกษา หรือการ ให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพเป็นรายบุคคลอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากขาดข้อมูลที่มีความถูกต้อง ชัดเจน เชอ่ื ถือได้และเป็นปัจจบุ ัน ๒) ผู้เรียนไมไ่ ด้รับการดูแล ช่วยเหลืออย่างทั่วถึง เนื่องจากการลงพ้ืนที่เพือ่ เข้าถึงบ้านผู้เรยี น เกิดความล่าช้า ๓) การค้นหาและเดินทางไปบ้านผู้เรียนเป็นไปด้วยความยากลำบาก เนื่องจากบุคลากร ไม่ทราบตำแหน่งที่ตั้ง และเส้นทางที่ใช้ในการเดินทางไปบ้านผู้เรียนทำให้เสียเวลาและสิ้นเปลือง ทรพั ยากรบคุ คลในการนำทางไปบ้านผ้เู รียน สภาพปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน ของศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดระนอง ท่ีผา่ นมาพบวา่ สถานศกึ ษามีการจัดเก็บข้อมูลผู้เรียนแบบแยกส่วน ไม่มีการเก็บรวบรวมข้อมูลผู้เรียน ไวใ้ นแหล่งเดียวกนั ได้ทงั้ หมด รายละเอียดข้อมลู ไม่ครบถ้วน ทำให้ไม่สามารถจัดการศกึ ษาให้ผู้เรียนได้

อย่างมีคุณภาพ ข้อมูลคนพิการตกหล่น ขาดโอกาสในการได้รับบริการทางการศึกษา หรือการ ช่วยเหลือ ส่งเสริมสนับสนุนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ปัจจุบันสถานศึกษาขาดระบบการจัดเก็บและ รวบรวมข้อมูลผู้เรียนให้อยู่ในรูปแบบออนไลน์ ไม่ได้นำเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่มาใช้ในการ พัฒนางาน ให้สามารถใช้ประโยชน์ได้สะดวก รวดเร็วและมีความถูกต้องแม่นยำ เพื่อช่วยให้การจัด การศึกษาของสถานศึกษาเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ และยังไม่เกิดประสิทธิผลสูงสุดต่อผู้เรียน ไมต่ อบสนอบหรอื ตรงกับความตอ้ งการของบุคลากรและลกั ษณะงานทีป่ ฏิบัติ ซงึ่ สภาพปัญหาที่เกดิ ข้ึน ในการปฏบิ ัติงานส่งผลกระทบตอ่ การพัฒนาผู้เรียน ๕.๒ การออกแบบนวตั กรรมเพ่อื การพัฒนา การนำเทคโนโลยีต่าง ๆ มาใช้กับการศึกษาเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลอย่าง แท้จริงนั้น จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการออกแบบการนำมาใช้อย่างเป็นระบบ จากสภาพปัญหาและ ขอ้ จำกดั ในการดำเนินงานของศนู ย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวดั ระนอง ส่งผลกระทบโดยตรงต่อการ พัฒนาคุณภาพผู้เรียน จึงนำมาซึ่งการกำหนดแนวทางในการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการออกแบบ นวัตกรรม “การพัฒนาระบบสารสนเทศด้วย Google Apps เพื่อการค้นหาและนำทาง (ปักหมุด) สู่การพัฒนาผู้เรียน ของศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดระนอง” ในการออกแบบและพัฒนา นวตั กรรมได้ศึกษาแนวคิด หลกั การ ทฤษฎีต่างๆรองรับ ดงั นี้ ▪ ลักษณะของระบบสารสนเทศทดี่ ี ๑) มคี วามถกู ต้องแม่นยำ (accuracy) สารสนเทศท่ดี จี ะต้องตรงกับความเป็นจริงและเชื่อถือ ได้ สารสนเทศบางอย่างมีความสำคัญ หากไม่ตรงกบั ความเป็นจรงิ แล้ว อาจกอ่ ให้เกิดความเสยี หายได้ ๒) ทันต่อเวลา (timeliness) สารสนเทศที่ดีต้องทันต่อการใช้งาน หมายถึง ข้อมูลที่ป้อน ให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ต้องมีความเป็นปัจจุบันทันสมัยอยู่ตลอดเวลา เพื่อการนำไปใช้ประโยชน์ได้ จริง ตัวอย่างเช่น ข้อมูลหมายเลขโทรศัพท์ของผู้ปกครองนักเรียน จะต้องมีการปรับปรุงให้ทันสมัย หากหมายเลขโทรศพั ท์ล้าสมัยก็จะไม่สามารถติดต่อกับผปู้ กครองไดห้ ากเกดิ กรณีฉกุ เฉนิ ๓) มีความสมบูรณ์ครอบถ้วน (complete) สารสนเทศที่ดีจะต้องมีความครบถ้วน สารสนเทศที่มีความครบถ้วนเกิดจากการเก็บข้อมูลได้ครบถ้วน หากเก็บข้อมูลเพียงบางส่วนก็จะ ไม่สามารถใช้ประโยชน์จากสารสนเทศได้เต็มประสิทธิภาพ ตัวอย่าง เช่น ข้อมูลนักเรียน ก็จะต้อง มีการเก็บรายละเอียดเกี่ยวกับนักเรียนให้ได้มากที่สุด เช่น ชื่อ อายุ ที่อยู่ ชื่อผู้ปกครอง หมายเลข โทรศัพท์ เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อให้ครูสามารถนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ได้อย่างเต็มที่ หากไม่มีข้อมูล ของหมายเลขโทรศัพท์ เมอื่ เกดิ เหตุฉุกเฉินก็จะไม่สามารถติดตอ่ กับผู้ปกครองได้เชน่ เดยี วกัน ๔) มคี วามสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ (relevancy) สารสนเทศจะต้องสอดคล้องกับ ความต้องการของผู้ใช้ กลา่ วคอื การเก็บขอ้ มูลต้องมีการสอบถามการใช้งานของผูใ้ ชว้ า่ ตอ้ งการในเรื่อง ใดบ้าง จึงจะสามารถสรุปสารสนเทศได้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้มากที่สุด ตัวอย่างเช่น หาก ต้องการเก็บข้อมูลของนักเรียนก็ต้องถามครูว่าต้องการเก็บข้อมูลใดบ้าง เพื่อให้ครูสามารถนำไปใช้ ประโยชน์ไดจ้ รงิ

๕) สามารถพิสูจน์ได้ (verifiable) สารสนเทศที่ดีจะต้องตรวจสอบแหล่งที่มาได้ ทั้งนี้เพื่อให้ ผู้ใชต้ รวจสอบความถูกตอ้ งของสารสนเทศได้ ๖) เข้าใจง่าย (Simple) ระบบสารสนเทศที่ดีต้องใช้งานง่าย ไม่สลับซับซ้อน มีรายละเอียด ทเ่ี หมาะสมใช้เวลาในการทำงานไม่นาน ๗) ยดื หย่นุ (Flexible) ระบบสารสนเทศตอ้ งสามารถในไปใชใ้ นหลาย ๆ เป้าหมาย หรือ วัตถุประสงค์ ๘) สะดวกในการเข้าถึง (Accessible) ระบบสารสนเทศต้องอำนวยความสะดวกใหผ้ ้ใู ช้ สามารถเข้าถงึ ข้อมูลไดง้ ่าย ▪ การใช้งานเทคโนโลยี Google Apps ดำเนินการใช้บริการด้วยเทคโนโลยี Google ดงั นี้ ๑) Google Map บริการเทคโนโลยีด้านแผนที่ประสิทธิภาพสูง ใช้ค้นหาแผนที่ (Web Mapping) ใช้งานง่ายและให้ข้อมูลเกี่ยวกับการเดินทาง เส้นทางการขับ ซ่ึงง่ายและสะดวกต่อการ ค้นหาและการเดินทางของผู้ใช้งานแอป Google Map ช่วยนำทางแบบเลี้ยวต่อเลี้ยวได้ในแบบ ที่เข้าใจง่ายซึ่งจะแสดงเส้นทางและใช้ข้อมูลการจราจรแบบเรียลไทม์เพื่อหาเส้นทางท่ีดีที่สุดไปยัง จุดหมาย เมือ่ ใช้การนำทางดว้ ยเสียงจะได้ยินการแจง้ เตือนการจราจร จุดท่ีตอ้ งเลีย้ ว ชอ่ งทางที่ควรใช้ และแจง้ เมื่อมเี ส้นทางทด่ี กี ว่า ๒. Google site บริการสร้างหน้าเว็บไซต์ออนไลน์ที่มีความปลอดภัยสูง ผู้ใช้งานสามารถ สร้างเว็บไซต์ของตัวเองขึ้นมาใช้งานได้จะมี Template ต่างๆให้เลือก ซึ่งการสร้างเว็บไซต์ด้วย Google Sites เป็นโปรแกรมที่ได้มาตรฐานที่สุด มีความหลากหลาย สามารถนำมาใช้ในการ ประกอบการจัดการกระบวนการแทบจะทุกขั้นตอนของการจัดทำเว็บไซต์ ทำงานได้ราบร่ืน ลดภาระ เพ่ิมประสทิ ธิภาพงาน รวบรวมข้อมลู ทหี่ ลากหลายไวใ้ นที่เดียวได้อย่างรวดเรว็ โดยใช้เวลาเพียงไม่นาน ในการทำงาน

กรอบแนวคิดในการพฒั นา แนแวนควดิ คิด ปญั หา - เปลยี่ นระบบการจดั เกบ็ และรวบรวมข้อมูล ให้อยใู่ นรปู แบบออนไลน์ ด้วยการนำ - การค้นหาและเดินทางไปบ้านผเู้ รียนมีขอ้ จำกัด เทคโนโลยีมาใชใ้ นการจัดการ - การไมไ่ ด้รับบริการทางการศกึ ษาหรือการ - ใชร้ ะบบเทคโนโลยีในการเชื่อมต่อข้อมลู ช่วยเหลอื อย่างท่วั ถึง ผูเ้ รยี น ร่วมกบั เทคโนโลยีที่ใชใ้ นการนำทางไป - ข้อมูลผู้เรยี นไม่ครบถว้ น ขาดความน่าเช่ือถือ บา้ นผเู้ รยี น ใหส้ ามารถใช้ได้ง่าย สะดวกต่อ และไม่เปน็ ปัจจบุ ัน การใชง้ านได้ทกุ สถานการณ์ - จัดการข้อมลู ผเู้ รียนให้ตรงกับความต้องการ ของผูใ้ ช้ เพื่อสง่ เสริมการปฏบิ ัติงานใหม้ ี ประสิทธิภาพ วิธีการพัฒนา หลกั การและทฤษฎที ใี่ ช้ ➢ ใชเ้ ทคโนโลยี Google Apps พฒั นาระบบ - แนวทางการประยุกต์ใช้ Google Apps สารสนเทศ ดังน้ี ในการบรหิ ารสารสนเทศของสถานศกึ ษา - Google Site ออกแบบและรวบรวมข้อมลู - การออกแบบและพฒั นาเว็บไซต์ผ่าน ผเู้ รยี นบนเว็บไซต์ สำหรับการค้นหา Google Site - Google Map ปกั หมดุ เชอ่ื มต่อพิกดั - การปกั หมดุ ผ่าน Google Map ตำแหนง่ บ้านผเู้ รียนสำหรบั การนำทาง - ลกั ษณะของสารสนเทศที่ดี - รวบรวม เกบ็ ข้อมลู ผู้เรยี นตามอำเภอ ตำบล และรายชือ่ เป็นรายบุคคล ผลสำเรจ็ ที่พึงประสงค์ - สถานศึกษาสามารถจดั การศึกษาและช่วยเหลือผเู้ รยี นได้อย่างทั่วถึง และ มีคณุ ภาพ สามารถแกป้ ญั หาข้อมลู เด็กพิการในพื้นทต่ี กหล่น - สถานศึกษาเก็บรวบรวมข้อมูลได้อย่างเปน็ ระบบและมปี ระสิทธิภาพ - ผู้เรียนได้รับบริการทางการศึกษาอย่างมีคุณภาพ สอดคล้องกับความต้องการ จำเปน็ พเิ ศษเฉพาะบุคคล - หน่วยงานเครอื ขา่ ยสามารถขอดแู ละเขา้ ถึงข้อมลู เด็กพิการในพ้ืนท่ี เพ่อื ให้ ความร่วมมอื ในการช่วยเหลอื ส่งเสริมสนบั สนนุ เด็กพิการในพ้นื ทีใ่ ห้มีคณุ ภาพ ชีวติ ที่ดี

๕.๓ ขนั้ ตอนการดำเนนิ งานพฒั นา ๑. ประชุมวางแผนการ ดำเนินการประชุมผทู้ ีเ่ กี่ยวข้องในการวางแผนการนำ ดำเนินงาน เทคโนโลยี Google Apps มาใช้พฒั นาระบบสารสนเทศ ในการจัดเก็บขอ้ มูลผู้เรียนรายบุคคลใหเ้ ปน็ ระบบและ สามารถใช้งานไดง้ า่ ย ๒. ออกแบบการจัดเก็บ ดำเนินการสร้าง ออกแบบและพฒั นาเว็บไซตผ์ า่ น ข้อมูลผเู้ รยี นดว้ ย Google Site ให้เขา้ ใจง่าย มีรายละเอยี ดของข้อมูล Google site ทถ่ี กู ต้องครอบถ้วน ๓. ลงพืน้ ที่เกบ็ ข้อมลู ดำเนนิ การให้ครูและบคุ ลากรลงพนื้ ที่สำรวจข้อมูล เยย่ี ม และปกั หมดุ บา้ นผเู้ รยี น บ้านนกั เรียน เก็บข้อมูลพนื้ ฐาน สภาพทอ่ี ยู่อาศัย ปกั หมดุ ตำแหน่งท่ีต้งั บ้านนักเรยี นด้วย Google Map ด้วย Google Map และแชรข์ ้อมูลผ่าน Application Line ๔. จัดเกบ็ รวบรวม ดำเนินการจัดเก็บ รวบรวมขอ้ มูลผูเ้ รยี นผ่าน Google Site ขอ้ มูลผู้เรยี นในระบบ ประกอบด้วย ลิงค์ปักหมุดแผนทบ่ี า้ นนักเรียนกับ ดว้ ย Google site Google Map, ข้อมูลพ้นื ฐานผเู้ รยี น, ภาพถา่ ยผู้เรยี น, สภาพทีอ่ ยู่อาศัย ฯลฯ ๕. พัฒนาระบบ ทดลองใช้ ดำเนินการทดลองใช้สารสนเทศคน้ หาและนำทางไปบ้าน ปรับปรงุ ผูเ้ รยี น พรอ้ มกบั ปรบั ปรงุ ข้อมูลทีม่ คี วามเคล่ือน และไม่ สมบูรณ์ใหม้ คี วามถูกตอ้ ง ๖. นำไปใช้ประโยชนก์ ับ ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาใช้สารสนเทศในรปู แบบ กลมุ่ เปา้ หมาย ออนไลน์ไปใช้ประโยชนใ์ นการปฏิบตั ิงาน  ผู้เรียนไดร้ ับบรกิ ารฟื้นฟูสมรรถภาพ การสนบั สนุน ชว่ ยเหลอื อย่างมีคุณภาพทว่ั ถึงและต่อเนอ่ื ง  ครูและบุคลากรางการศึกษาเขา้ ถึงข้อมลู ผ้เู รียนได้ ง่ายและสะดวกบน Smart Phone หรอื Tablet ไดง้ ่าย สะดวกในการใช้งานทุกสถานการณ์

๕.๔ ผลงานท่ีเกดิ ขน้ึ จากการดำเนนิ งาน การพัฒนาระบบสารสนเทศด้วยเทคโนโลยี Google Apps เพื่อการค้นหาและนำทาง (ปักหมุด) สู่การพัฒนาผู้เรียน ของศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดระนอง ส่งผลให้การปฏิบัติงาน ของครูและบุคลากรทางการศึกษา ในการออกพื้นท่ีให้บริการช่วยเหลือระยะแรกเร่ิม (Early Intervention : EI) และเตรียมความพร้อม ตลอดจนการติดตาม ดูแล ช่วยเหลือ และเยี่ยม บ้านเด็กพิการในพื้นที่จังหวัดระนอง ด้วยระบบเทคโนโลยีในการค้นหา และนำทางไปบ้านเด็กพิการ มีประสิทธิภาพ เด็กพิการได้รับโอกาสในการรับบริการทางการศึกษาอย่างทั่วถึง และเสมอภาค ส่งผลให้เด็กพิการในพ้ืนท่ีได้รับการพัฒนาคุณภาพ มีพัฒนาการเต็มตามศักยภาพของแต่ละบุคคล และมีคุณภาพชีวิตที่ดี พร้อมทั้งได้รับการดูแลช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุนจากหน่วยงานเครือข่าย ทั้งภายในและภายนอก ให้เด็กพิการมีสภาพความเป็นอยู่ที่ดี สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมร่วมกับ ผู้อืน่ ในสงั คมได้อย่างมคี วามสขุ ▪ ผลงานท่ีเป็นชิน้ งานนวัตกรรม สารสนเทศเพื่อการค้นหาและนำทาง (ปักหมุด) ของศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัด ระนอง สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ในพื้นที่จังหวัดระนอง แยกตามอำเภอ จำนวน ๕ อำเภอ ไดแ้ ก่ อำเภอเมอื ง อำเภอกระบุรี อำเภอกะเปอร์ อำเภอละอุ่น และอำเภอ สขุ สำราญ ท่อี ยู่ : https://sites.google.com/view/ranongsec QR code ขัน้ ตอนการจัดทำสารสนเทศแผนทบี่ า้ นนักเรยี น

สารสนเทศเพื่อการค้นหาและนำทาง (ปักหมุด) ในพื้นท่ีอำเภอเมือง แยกตามตำบล จำนวน ๘ ตำบล ได้แก่ ตำบลราชกรูด ตำบลหงาว ตำบลบางริ้น ตำบลบางนอน ตำบลหาดสม้ แป้น ตำบลเขานเิ วศน์ ตำบลปากนำ้ และตำบลทรายแดง ทอ่ี ยู่ : https://sites.google.com/view/ranongsec/อำเภอเมอื ง สารสนเทศเพื่อการค้นหาและนำทาง (ปักหมุด) ในพื้นที่อำเภอกระบุรี แยกตามตำบล จำนวน ๗ ตำบล ได้แก่ ตำบล จ.ป.ร. ตำบลปากจั่น ตำบลน้ำจืด ตำบลน้ำจืดน้อย ตำบลบางใหญ่ ตำบลลำเลยี ง และตำบลมะมุ ท่อี ยู่ : https://sites.google.com/view/ranongsec/อำเภอกระบรุ ี

สารสนเทศเพื่อการค้นหาและนำทาง (ปักหมุด) ในพื้นท่ีอำเภอกะเปอร์ แยกตามตำบล จำนวน ๕ ตำบล ได้แก่ ตำบลกะเปอร์ ตำบลเชี่ยวเหลียง ตำบลบางหิน ตำบลบ้านนา และตำบล มว่ งกลาง ทอ่ี ยู่ : https://sites.google.com/view/ranongsec/อำเภอกะเปอร์ สารสนเทศเพื่อการค้นหาและนำทาง (ปักหมุด) ในพื้นท่ีอำเภอละอุ่น แยกตามตำบล จำนวน ๕ ตำบล ได้แก่ ตำบลบางพระใต้ ตำบลในวงใต้ ตำบลละอุ่นใต้ ตำบลบางพระเหนือ และ ตำบลบางแก้ว ท่ีอยู่ : https://sites.google.com/view/ranongsec/อำเภอละอุน่

สารสนเทศเพื่อการค้นหาและนำทาง (ปักหมุด) ในพื้นท่ีอำเภอสุขสำราญ แยกตามตำบล จำนวน ๒ ตำบล ไดแ้ ก่ ตำบลกำพวน และตำบลนาคา ที่อยู่ : https://sites.google.com/view/ranongsec/อำเภอสขุ สำราญ ▪ ผลการใชน้ วตั กรรมสง่ ผลตอ่ การพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียน ผู้เรียนมีพัฒนาการตามศักยภาพของแต่ละบุคคล ตามทักษะตามที่ระบุไว้ในแผนการจัด การศึกษาเฉพาะบคุ คล หรอื แผนการใหบ้ รกิ ารช่วยเหลือเฉพาะครอบครวั ตารางท่ี ๑ ผลการพฒั นาผเู้ รียน ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ จำนวนผู้เรยี น/ผลการพฒั นา ที่ ประเภทความพกิ าร นร.ท่ีรบั ผลการ นร.ทร่ี ับ ผลการ บริการท่ีศนู ย์ พฒั นาระดบั บรกิ ารที่บา้ น พัฒนาระดับ (ไป-กลับ) ดีขึน้ ไป ดขี ้นึ ไป ๑. บคุ คลท่มี คี วามบกพรอ่ งทางการเห็น - - ๑๑ ๒. บุคคลที่มคี วามบกพร่องทางการไดย้ ิน ๗๖๑๑ ๓. บคุ คลทม่ี ีความบกพร่องทางสติปญั ญา ๔๘ ๔๗ ๕ ๓ ๔. บคุ คลทม่ี คี วามบกพรอ่ งทางรา่ งกายหรอื สขุ ภาพ ๓๐ ๒๖ ๓๐ ๒๓ ๕. บุคคลทีม่ คี วามบกพร่องทางการเรยี นรู้ ๑๑ - - ๖. บุคคลทม่ี คี วามบกพรอ่ งทางการพูดและภาษา - - - - ๗. บุคคลที่มคี วามบกพรอ่ งทางพฤติกรรมหรอื - - - - อารมณ์ ๘. บคุ คลออทิสติก ๓๖ ๓๒ ๒ ๑ ๙. บคุ คลพกิ ารซอ้ น ๖๖๖๔ รวม ๑๒๘ ๑๑๘ ๔๕ ๓๓

ผู้เรียนผ่านการฟื้นฟูเตรียมความพร้อม จากศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดระนอง ให้มีความพร้อมเข้าสู่บรกิ ารช่วงเชื่อมต่อหรือการส่งต่อ โดยมีเป้าหมายที่มีสภาพดีกว่าเดิม เช่น เข้าสู่ การศกึ ษาในระดบั ท่ีสงู ข้ึน การแพทยห์ รอื การดำเนินชวี ิตในสังคมไดต้ ามศักยภาพของแตล่ ะบุคคล ตารางที่ ๒ ผลการส่งตอ่ ผู้เรยี น ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ ที่ ประเภทการสง่ ตอ่ จำนวน (คน) ๑. โรงเรยี นเรียนรวม ๓ ๒. โรงเรียนเฉพาะความพิการ ๔ ๓. การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ๖ ๔. ดา้ นการแพทย์ ๒ ๑๕ รวม ผู้เรียนได้รับบริการพัฒนาศักยภาพด้านต่างๆ ที่เหมาะสมและสอดคล้องกับความต้องการ จำเปน็ พิเศษแต่ละบคุ คล ตารางที่ ๓ ข้อมูลการใหบ้ รกิ ารฟ้นื ฟูและพัฒนาศักยภาพผู้เรียน (ออกใหบ้ ริการทีบ่ ้าน) ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ที่ กิจกรรมการให้บริการ จำนวน (คน) จำนวน (คร้งั /ป)ี ๑. บริการด้านกายภาพบำบัด ๖๖ ๑,๕๘๔ ๒. จัดกิจกรรมการเรียนการสอน ๑๔๘ ๑,๗๗๖ ๓. บริการส่อื การเรียนการสอน ๑๗๓ ๑๗๓ ๔. ใหค้ ำแนะนำ ปรกึ ษา แก่ผปู้ กครอง ๑๓๖ ๑,๖๓๒ ๕. ให้บรกิ ารจดั ปรับสภาพแวดล้อมใหเ้ ออ้ื ๖๒ ๖๒ ตอ่ การเรยี นรู้ ๕๘๕ รวม ๕,๒๒๗ ผู้เรียนได้รับการส่งเสริม สนับสนุน ช่วยเหลือจากหน่วยงานภาคนอกทั้งภาครัฐและเอกชน ให้ได้รับการพฒั นาศักยภาพและมีคณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ี ตารางท่ี ๔ ข้อมลู ผ้เู รียนท่ีได้รับการสง่ เสริม สนบั สนุน ช่วยเหลอื ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ ท่ี กจิ กรรมการให้บริการ หนว่ ยงานให้การสนับสนนุ จำนวนนักเรยี น มลู นธิ ิคณุ พุ่ม (คน) 1. ทนุ การศึกษาสำหรบั เด็ก 80 ออทิสตกิ และเดก็ พกิ ารรุนแรง ชมรมพอ่ ค้าจงั หวดั ระนองและ ในมลู นิธิคุณพุ่ม หอการค้าจังหวดั ระนอง 5 2. สรา้ งห้องน้ำให้เด็กพิการ พฒั นาสังคมและความมั่นคงของ 2 มนุษย์จงั หวดั ระนอง 3. การปรบั สภาพบ้านและ สงิ่ แวดลอ้ ม

พฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ยจ์ ังหวัดระนอง ร่วมกับคณะครูศูนยก์ ารศึกษาพเิ ศษ ประจำจังหวดั ระนอง ช่วยเหลอื การปรบั สภาพบา้ นสำหรับเด็กพกิ ารในพนื้ ท่ี ปรับสภาพแวดล้อมท่ีอยู่อาศัยใหแ้ กค่ นพิการ การสร้างหลงั คาบา้ น (อำเภอกระบุรี) ก่อนทำ หลังทำ ปรับสภาพแวดล้อมท่ีอยู่อาศัยใหแ้ กค่ นพกิ าร สรา้ งหอ้ งนำ้ (อำเภอสุขสำราญ) ระหวา่ งทำ หลงั ทำ

ผเู้ รียนมีพัฒนาการทแี่ สดงออกถงึ ความรู้ ความสามารถ ตารางที่ ๕ ข้อมูลผลการเขา้ ร่วมกิจกรรม ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ ที่ ช่อื – สกลุ (ผเู้ รียน) รางวัลทไี่ ดร้ บั ๑. ด.ญ.พรทิพย์ ประมงกิจ รางวัลระดับเหรียญทองชนะเลิศ กิจกรรมการแข่งขันระบายสี รปู ภาพ บกพร่องทางการได้ยิน ระดบั อายุ ๓-๖ ปี การแข่งขันงาน มหกรรมความสามารถทางศลิ ปหตั ถกรรม วชิ าการและเทคโนโลยี ของนักเรียน ระดบั ชาติ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ๒. ด.ญ.วรรณลิสา จุไล่ รางวัลระดับเหรยี ญทองชนะเลศิ กิจกรรมประกวดร้องเพลง ระดบั อายุ ๗-๑๒ ปี ประเภทบกพร่องทางร่างกายหรือการเคลื่อนไหวหรือ สุขภาพ การแขง่ ขนั งานมหกรรมความสามารถทางศิลปหตั ถกรรม วชิ าการและเทคโนโลยีของนักเรยี น ระดบั ชาติ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ ๓. ด.ช.เปี่ยมสขุ โมฬี รางวลั ระดบั เหรียญทองชนะเลิศ กจิ กรรมการแขง่ ขนั ระบายสี รปู ภาพ บุคคลออทิสติก ระดับอายุ ๓-๖ ปี การแขง่ ขันงานมหกรรม ความสามารถทางศิลปหัตถกรรม วชิ าการและเทคโนโลยี ของนักเรยี น ระดบั ชาติ ปีการศกึ ษา 2562 ๔. ด.ช.กรวชิ ญ์ ไชยสิน ได้รับรางวลั ระดบั เหรียญทองชนะเลิศ กจิ กรรมการแข่งขนั ระบายสี รูปภาพ บกพร่องทางสติปญั ญาระดับอายุ ๗-๑๒ ปี การแขง่ ขันงาน มหกรรมความสามารถทางศลิ ปหตั ถกรรม วชิ าการและเทคโนโลยี ของนักเรยี น ระดบั ชาติ ปีการศึกษา 2562 ๕. น.ส.นฤมล เดชน่นุ รางวลั ระดบั เหรยี ญทองชนะเลิศ กจิ กรรมการแข่งขันระบายสี รปู ภาพ บกพร่องทางสติปญั ญา ระดบั อายุ 13-18ปี การแข่งขัน งานมหกรรมความสามารถทางศิลปหัตถกรรม วิชาการและ เทคโนโลยขี องนักเรยี น ระดบั ชาติ ปกี ารศกึ ษา 2562 ๖. ด.ญ.ณชิ านันท์ รางวัลระดบั เหรยี ญทองชนะเลศิ กิจกรรมการแขง่ ขันระบายสี พง่ึ พสธุ าดล รปู ภาพ บกพร่องทางสตปิ ญั ญาระดับอายุ 7-12 ปี การแข่งขนั งาน มหกรรมความสามารถทางศลิ ปหตั ถกรรม วชิ าการและเทคโนโลยี ของนักเรียน ระดับชาติ ปีการศึกษา 2562 ๗. ด.ช.สหรฐั ศรีสวสั ดิ์ รางวัลระดบั เหรยี ญทองชนะเลิศ กจิ กรรมการแข่งขันป้นั ดินนำ้ มัน ด.ช.ธนภัทร ชาวเผอื ก ตามท่กี ำหนด ระดับ อายุ 7-12 ปี ประเภทบกพร่องทาง ด.ช.ไพศาล กลนิ่ พะยูน สติปัญญาประเภททมี การแข่งขนั งานมหกรรมความสามารถทาง ศิลปหตั ถกรรม วิชาการและเทคโนโลยขี องนกั เรียน ระดับชาติ ปีการศึกษา 2562 ๘. ด.ช.กรวชิ ญ์ ไชยสิน รางวลั ระดับเหรยี ญทองชนะเลิศ กิจกรรมการแข่งขันปั้นดินนำ้ มัน น.ส.ภสั รา กา้ หรมี ล่า ตามท่ีกำหนด ระดับ อายุ 13-18 ปี ประเภทบกพร่องทางการได้ น.ส.หสั นา ผดงุ ชาติ ยนิ ประเภททีม การแข่งขนั งานมหกรรมความสามารถทาง ศลิ ปหัตถกรรม วิชาการและเทคโนโลยขี องนักเรยี น ระดบั ชาติ ปีการศึกษา 2562

๕.๕ สรปุ ส่งิ ทเ่ี รยี นรู้และการปรับปรุงให้ดีขึน้ การพัฒนาระบบสารสนเทศด้วยเทคโนโลยี Google Apps เพื่อการค้นหาและนำทาง (ปักหมุด) สู่การพัฒนาผู้เรียน ของศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดระนอง ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ ในการทำงานมากขึ้น รวมทั้งก่อให้เกิดความสะดวกรวดเร็วในการปฏิบัติเข้าถึงได้ในทุกสถานการณ์ ข้อมูลไม่มีความซ้ำซ้อน ตรงตามความต้องการและลักษณะงานที่ปฏิบัติของครูและบุคลากรทางการ ศึกษา ในการออกพื้นที่ให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้เรียน รวมถึงการติดตาม ดูแล ช่วยเหลือผู้เรียน ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ซึ่งการจัดเก็บและรวบรวมข้อมูลผู้เรียนด้วยเทคโนโลยี ให้อยู่ในรูปแบบ ออนไลน์ ส่งผลให้บุคลากรสามารถเข้าถึง และใช้ข้อมูลผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิด ประโยชนส์ ูงสดุ ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น ▪ ข้อคิด ประสบการณ์ องค์ความรทู้ ี่ได้จากการพัฒนา ๑) การนำเทคโนโลยี Google Apps มาใช้ในการพัฒนาระบบสารสนเทศ จัดการข้อมูล ผู้เรียนให้อยู่ในรูปแบบออนไลน์ ด้วย Google Site และ Google Map สามารถค้นหาข้อมูล พิกัด ตำแหน่งที่ตั้ง และนำทางไปบ้านผู้เรียนได้ง่ายและสะดวก ลดข้อจำกัดในการปฏิบัติงาน เช่น ประหยัดเวลาในการเดินทาง ไม่รจู้ กั เสน้ ทางท่ีใช้ในการเดินทาง เป็นตน้ ๒) ครูและบุคลากรทางการศึกษาเกิดการพัฒนา เรียนรู้การใช้เทคโนโลยี ปรับเปลี่ยน พฤติกรรมยอมรบั ความเปลย่ี นแปลงท่ีเกิดขึน้ ๓) การนำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ของศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดระนอง เป็นการเพิ่มพูนประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของ บุคลากรในการปฏบิ ัติงานในหน้าที่ ๔) การจัดการข้อมูลของผู้เรียนด้วยกันอย่างเป็นระบบ เกิดเป็นระบบข้อมูลใหม่ที่สามารถ นำไปใช้ไดต้ ามวัตถุประสงค์ที่ต้ังไว้ ๕) การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของสถานศึกษา ดำเนินการโดย การพิจารณาให้เกิดความ สอดคลอ้ ง ตรงกบั ความต้องการและลักษณะงานทป่ี ฏบิ ัติ ๖) สถานศกึ ษามีระบบสารสนเทศของผ้เู รียนท่ีเป็นรูปธรรม ชัดเจน เขา้ ถึงงา่ ยและสะดวกต่อ การใชง้ านในทกุ สถานการณ์ บน Smart Phone หรือ Tablet ๗) อำนวยความสะดวก ลดข้อผิดพลาด และยังเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการเดินทางของ ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาในการออกให้บรกิ ารฟ้ืนฟสู มรรถภาพคนพิการที่บ้าน ▪ ปญั หาที่เกดิ และการแกไ้ ข ปรับปรุงพฒั นา ๑) การใช้เทคโนโลยี Google Map ของบุคลากรในการปักหมุดบ้านผูเ้ รียน เกิดข้อผิดพลาด และความคลาดเคลื่อนในเรื่องของพิกัดตำแหน่งที่ตั้งบ้านผู้เรียน ส่งผลให้ข้อมูลที่ได้ไม่ถูกต้องหรือ ไม่สมบูรณ์ ดำเนินการแก้ปัญหาโดยการให้คำแนะนำวิธีการใช้แก่บุคลากร และปรับปรุงแก้ไขพิกัด ปักหมดุ บ้านผเู้ รยี นใหม่ให้มีความถกู ต้องแมน่ ยำ ๒) การดำเนนิ งานในพ้ืนทห่ี ่างไกลไม่มีสญั ญาณอนิ เตอรเ์ นต็ ทำใหก้ ารปกั หมดุ บ้านผู้เรียนเป็น ปัญหาไม่สามารถเชื่อมต่อกับ Google Map ได้ แก้ไขโดยการปักหมุดพิกัดให้อยู่ในบริเวณใกล้เคียง บ้านผูเ้ รียนมากที่สดุ ๓) การค้นหาบ้านเด็กพิการในพื้นที่มีความยากลำบาก เนื่องจากสภาพภูมิศาสตร์ที่เป็น ขอ้ จำกัดในการเดนิ ทาง ไดด้ ำเนนิ การทำงานรว่ มกบั เครือขา่ ยทอ่ี ยู่ในพ้ืนท่ีในการค้นหาและเดนิ ทาง

๕.๖ การขยายผล และการเผยแพรผ่ ลการพฒั นา เผยแพร่ และขยายผลการพัฒนาระบบสารสนเทศด้วยเทคโนโลยี Google Apps เพื่อการ ค้นหาและนำทาง (ปักหมุด) ให้ผู้ที่สนใจสามารถเข้าดูขั้นตอน วิธีการจัดเก็บและรวบรวมข้อมูล เพื่อนำไปใช้เป็นแนวทางในการจัดทำสารสนเทศผู้เรียน ผ่านช่องทางต่างๆ ได้แก่ You tube, เว็ปไซต์ ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดระนอง และFacebook ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำ จงั หวัดระนอง เผยแพรท่ างช่องทาง ➢ You tube ทีอ่ ยู่ : https://www.youtube.com/watch?v=A0KTFmUjl74&t=20s ยอดผ้เู ขา้ ชม ๘๗ ครงั้

เผยแพร่ทางช่องทาง ➢ เว็ปไซต์ ศูนย์การศกึ ษาพิเศษประจำจงั หวดั ระนอง ทอ่ี ยู่ : Wetsite : www.speranong.com เผยแพรท่ างช่องทาง ➢ Facebook ศูนยก์ ารศึกษาพิเศษประจำจังหวัดระนอง ทอ่ี ยู่ Facebook : https://www.facebook.com/sp.ranong

๖. ข้อเสนอแนะและแนวทางการพฒั นาอยา่ งต่อเนื่อง าและคจวาากมกสาำรคพญั ฒั นาระบบสารสนเทศด้วยเทคโนโลยี Google Apps เพื่อการค้นหาและนำทาง (ปักหมดุ ) สกู่ ารพฒั นาผู้เรยี น ของศนู ย์การศึกษาพเิ ศษประจำจังหวัดระนอง มีข้อเสนอแนะในการ พฒั นาอยา่ งต่อเน่ือง ดังนี้ ๖.๑ พัฒนาระบบสารสนเทศการจัดเก็บ และรวบรวมข้อมูลของผู้เรียนทุกด้านให้อยู่ใน รปู แบบแอพพลิเคชัน่ ทสี่ ามารถแบ่งปนั และเผยแพรข่ อ้ มลู สารสนเทศได้สะดวก รวดเร็ว ๖.๒ พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ ความเข้าใจ ความพร้อมและเห็น ความสำคัญในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ พร้อมทั้งสามารถใช้คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์สารสนเทศ พื้นฐานในการปฏบิ ตั งิ านใหเ้ กิดประสทิ ธิภาพ ๖.๓ พัฒนาระบบสารสนเทศของสถานศึกษา ให้สอดคล้องกับการปฏิบัติงานของครูและ บคุ ลากรทางการศกึ ษา และตรงตามความตอ้ งการของผใู้ ชง้ าน ๖.๔ ประยุกต์ใช้ Google App ไปปรับปรุงพัฒนางานให้มีคุณภาพ เพื่อใช้ในการบริหาร จัดการของสถานศึกษา ให้ครอบคลมุ และเกิดประสทิ ธิภาพมากยง่ิ ขน้ึ ๗. จุดเด่น หรอื ลักษณะพเิ ศษของผลงานนวตั กรรม วามสำคญั ๗.๑ เป็นระบบที่สามารถใช้งานได้ผ่านโทรศัพท์มือถือ แท็บแล็ต เพื่อให้ผู้ใช้สามารถใช้งาน ไดต้ ามความสะดวก และสามารถเรียกดูข้อมลู ทสี่ นใจไดท้ นั ที ๗.๒ ประหยัดงบประมาณเนื่องจากไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการจัดทำ สามารถเก็บรวบรวม ขอ้ มลู ไวใ้ นทเ่ี ดยี ว และมีพ้ืนที่จดั เกบ็ ขอ้ มูลได้ไมจ่ ำกัด ๗.๓ ข้อมูลสารสนเทศผู้เรียนรายบุคคลที่ถูกจัดเป็นระบบชัดเจน มีความถูกต้อง แยกเป็น อำเภอ ตำบล เข้าใจง่ายไม่มีความซับซ้อน ใช้งานง่าย สะดวกต่อการค้นหา และการเดินทางของผู้ใช้ งานทำให้ครูและบุคลากรสามารถใช้ข้อมูลเดินทางไปบ้านผู้เรียนได้อย่างถูกต้อง ครอบคลุมและ รวดเรว็ ลดข้ันตอนหรือระยะเวลาในการออกพน้ื ท่ีให้บริการผเู้ รียน ๗.๔ ครปู ระจำช้นั สามารถดูข้อมลู พื้นฐานของผู้เรียน เพอ่ื ใชใ้ นการวางแผนพัฒนา ช่วยเหลือ ด้านการศึกษาหรอื การฟนื้ ฟสู มรรถภาพความพิการใหก้ ับผู้เรียนได้ทันที ๗.๕ ครูและบุคลากรทางการศึกษามีช่องทางในการติดต่อสื่อสารกับผู้ปกครองได้สะดวก รวดเรว็ มากขนึ้ ๗.๖ ระบบสารสนเทศทพี่ ัฒนาขนึ้ สามารถเพิ่ม ลบหรือแกไ้ ขขอ้ มูลผู้เรยี น เช่น ประวตั ิ ข้อมูล บิดา มารดา ผู้ปกครอง ที่อยู่ พิกัดตำแหน่งที่ตั้ง และสามารถเพิ่มข้อมูลปักหมุดบ้านผู้เรียนกับ Google Map ในการนำทางไปบา้ นผู้เรียนได้ ๗.๗ บคุ ลกรทางการศึกษา หน่วยงานดา้ นสังคมสงเคราะห์ ผสู้ นใจท่ัวไปสามารถเข้าถึงข้อมูล คนพกิ ารในจังหวดั ได้ ๗.๘ ข้อมูลสามารถนำไปใช้ในการวางแผนการบริหารงานด้านนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการ พฒั นา สง่ เสริมคณุ ภาพผูเ้ รียน

๘. บรรณานุกรม มสำคัญ กระทรวงศึกษาธกิ าร. (๒๕๕๙). การศึกษาวิเคราะหเ์ พ่อื พฒั นาและจัดทำฐานขอ้ มลู และสารสนเทศ ทางการศกึ ษาเพอ่ื การบริหารและการจัดการศึกษาขนั้ พื้นฐานและการัดสนิ ใจเชิงนโยบายของ หนว่ ยงานส่วนกลาง. พมิ พค์ รง้ั ที่ ๑. บริษทั พรกิ หวานกราฟฟิค จำกัด. พระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ.๒๕๔๒. (๒๕๔๒, ๑๙ สงิ หาคม). ราชกจิ จานุเบกษา. เลม่ ๑๑๖ (ตอนที่ ๗๔ ก), หนา้ ๔. ภาสกร เรอื งรอง. (๒๕๕๘). การใช้เทคโนโลยี Google Apps ในการพัฒนานวัตกรรมการเรยี น การสอน. (รายงานการวิจัย). มหาวิทยาลัยนเรศวร. รตั พีรพฒั น์ ทะมานนท.์ (๒๕๖๑). ระบบสารสนเทศเพ่ือการบรหิ ารสถานศกึ ษา InformationSystems Management for Educational Institutions. ปีที่ ๒. ฉบบั ท่ี ๒ กรกฎาคม – ธนั วาคม ๒๕๖๑. สบื ค้นจาก file:///C:/Users/Admin/Downloads/182766- Article%20Text-526235-1-10-20190408.pdf. สุทธิพร จติ ตม์ ติ รภาพ. (๒๕๕๓). การเปลย่ี นแปลงโลกของการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ และการ พฒั นาสู่ “ครูมืออาชีพ”. ข่าวสารวชิ าการ, มนี าคม ๒๕๕๖, ๑-๕. สำนกั บรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ. (๒๕๖๑). คมู่ อื การปฏบิ ัตงิ านศูนย์การศึกษาพิเศษ สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน.