Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Thai Constitution

Thai Constitution

Published by igustnet, 2019-02-02 04:15:29

Description: สถาบันการเมืองและรัฐธรรมนูญ
สรุปเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญไทยทุกฉบับ

Keywords: Thai Constitution

Search

Read the Text Version

0 สถาบนั การเมืองและรัฐธรรมนูญ บทที่ 5 สรปุ เปรียบเทียบรัฐธรรมนญู ไทยทุกฉบบั เสนอ พระใบฎกี าพงษ์ศักดิ์ ขนฺตพิ โล จดั ทาโดย นายปรัชญา พานิชกลุ รหัส 6026504053 นางสาวกตญั ชลี สาเภาเงนิ รหัส 6026504054

1 รายงานนเี้ ปน็ ส่วนหนงึ่ ของวชิ าสถาบนั การเมืองและรัฐธรรมนูญ คณะสังคมศาสตร์ สาขาวิชารฐั ศาสตร์ วิทยาลัยสงฆพ์ ุทธโสธร มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณร์ าชวทิ ยาลยั

1 คานา รายงานฉบับนี้ เป็นสว่ นหนง่ึ ของวิชาวชิ าสถาบันการเมืองและรัฐธรรมนูญระดบั อุดมศกึ ษา โดยพระใบฎีกาพงษ์ศักดิ์ ขนฺติพโล เป็นอาจารย์ประจาวิชา โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ทราบ เกี่ยวกับสถาบันการเมืองและรฐั ธรรมนูญ ซึ่งเป็นสง่ิ สาคัญและกฎหมายสูงสดุ ของประเทศและควร ทราบเพื่อความเข้าใจเป็นประโยชน์ในการนาไปใช้ในการศึกษาและนาไปปฏิบัติตามได้อย่าง ถูกตอ้ ง การจัดทารายงานฉบับนี้ผู้จัดทาได้ทาการค้นคว้าและเรียบเรียงข้อมูล คณะผู้จัดทาหวังว่า จะเป็นประโยชน์แก่ผู้สนใจบ้างตามสมควร หากเน้ือหาภายในรูปเล่มรายงานเกิดความผิดพลาด ประการใดตอ้ งขออภยั มา ณ ทน่ี ี้ดว้ ย คณะผ้จู ดั ทา

2 สารบัญ หน้า 1 เรอื่ ง 2 คานา 3 สารบัญ 20 สรปุ เปรยี บเทียบรฐั ธรรมนูญไทยทุกฉบบั บรรณานุกรม

3 บทที่ 5 สรปุ เปรยี บเทยี บรัฐธรรมนูญไทยทกุ ฉบับ ความนา การเปลี่ยนแปลงการปกครองโดย \"คณะราษฎร\" ในวันท่ี 24 มิถุนายน พ.ศ.2475 1 และอีก 3 วัน ต่อมา สยามประเทศในเวลน้นั ก็มีรัฐธรรมนูญฉบับชัว่ คราวขึ้นมาบังคับใช้ เปน็ รัฐธรรมนญู ลายลักณ์อักษรฉบับ แรกของไทย ซ่ึงประกาศใช้ในวันท่ี 27 มิถุนายน พ.ศ. 2475 และในวันที่ 28 มิถุนายน 2475 ก็มี นายกรัฐมนตรคี นแรกมนี ามวา่ พระยามโนปกรณ์นิติธาดาผู้เป็นจุดเริม่ ต้นของรปู แบบการปกครองแบบใหม่โดย นามาจากองั กฤษเป็นต้นแบบจากนนั้ ในวันท่ี๑๐ธันวาคม พ.ศ. 2475 ได้มีการประกาศใชร้ ฐั ธรรมนญู เป็นฉบบั ท่ี 2 มีการประกาศให้วันที่ 10 ธันวาคมเป็นวันรัฐธรรมนูญและเป็นวันสาคัญวันหนึ่งท่ีเป็นวันหยุดราชการมา จนถึงบัดนี้แต่ทว่ารัฐธรรมนูญฉบับวันท่ี 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 (คริสต์ศักราช 1932 )ก็มิได้เป็นรัฐธรรมนูญ ฉบับปัจจุบันของไทยซ่ึงผิดแผกจากต่างประเทศอาทิรัฐธรรมนูญพ. ศ. 1789 ของสหรัฐอเมริการัฐธรรมนูญ ค.ศ. 1949 ของสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีรัฐธรรมนูญ ค.ศ. 1947 ของอินเดียรัฐธรรมนูญ ค.ศ. 1947 ของ ญ่ีปุ่นรัฐธรรมนูญ ค.ศ. 1958 ของฝร่ังเศสซ่ึงเป็นรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันของประเทศท่ียกตัวอย่างขึ้นมา เหล่านี้ 1 เหตกุ ารณ์วนั ท่ี 24 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2475 : พออนโุ ลมให้ใช้ศพั ท์วา่ \"การปฏิวตั \"ิ ได้ โดยท่ีนายปรีดี พนมยงค์ ใช้คาวา่ \"การอภิวตั นิ ์การ ปกครอง พ.ศ.2475\" (คาวา่ \"อภิวตั น์\" แปลวา่ เปลีย่ นแปลง)

4 จาก พ.ศ. 2475 มาถึง พ.ศ. 2559 ประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญบังคับใช้ถึง 19 ฉบับในภาพรวมของ รัฐธรรมนูญไทยนั้นใช้คาว่าการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขในรูปแบบ ระบบรฐั สภาแตโ่ ดยเนอ้ื หาของรฐั ธรรมนญู จาแนกได้เปน็ 3 ประเภทดังนี้ 1 รฐั ธรรมนญู ประชาธิปไตย 2 รัฐธรรมนูญเผดจ็ การ 3 รัฐธรรมนญู ประชาธปิ ไตยครง่ึ ใบ รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย 19 ฉบับ2 รายช่อื ของรฐั ธรรมนูญไทยทุกฉบบั รวมถงึ วนั ประกาศพระราชกิจจานเุ บกษาอนั มีผลบงั คบั ใชม้ ีดงั น้ีคือ ฉบบั ที่ 1. พระราชบญั ญตั ิธรรมนูญการปกครองแผ่นดนิ สยามช่วั คราว พทุ ธศกั ราช 2475 ฉบับท่ี 2. รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รสยาม พทุ ธศักราช 2475 ฉบับที่ 3. รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2489 ฉบับที่ 4. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2490 รัฐธรรมนญู ตุ่มแดง หรือ รฐั ธรรมนูญใต้ตุ่ม ฉบับท่ี 5. รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2492 ฉบบั ที่ 6. รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2475 แกไ้ ขเพิม่ เติม พุทธศักราช 2495 ฉบับท่ี 7. ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พทุ ธศกั ราช 2502 ฉบับท่ี 8. รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2511 ฉบับที่ 9. ธรรมนญู การปกครองราชอาณาจักร พทุ ธศักราช 2515 2 โปรดอา่ นรายละเอียดเพ่ิมเติมใน : รุจิรา เตชางกรู , กระแสอาคเนย์ (กรุงเทพมหานคร : สานกั พิมพ์สมาธรรม, 2551) หน้า 20-34

5 ฉบบั ท่ี 10. รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2517 ฉบบั ท่ี 11. รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2519 ฉบบั ท่ี 12. ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พทุ ธศกั ราช 2520 ฉบบั ท่ี 13. รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2521 ฉบบั ท่ี 14. ธรรมนญู การปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2534 ฉบับที่ 15. รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2534 ฉบบั ท่ี 16. รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2540 ฉบบั ท่ี 17. รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย (ฉบบั ชัว่ คราว) พุทธศักราช 2549 ฉบบั ที่ 18. รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2550 ฉบบั ที่ 19. รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย (ฉบับช่วั คราว) พทุ ธศกั ราช 2557 ฉบับที่ 20. รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2560 การเปรยี บเทียบรัฐธรรมนูญไทยทัง้ 19 ฉบบั • รฐั ธรรมนญู ในแบบประชาธิปไตยมี 5 ฉบับไดแ้ ก่ 1 รัฐธรรมนญู พ.ศ. 2489 2 รฐั ธรรมนญู พ.ศ. 2492 3 รฐั ธรรมนญู พ.ศ. 2517 4 รฐั ธรรมนูญ พ.ศ. 2540 5 รฐั ธรรมนญู พ.ศ. 2550 • รัฐธรรมนูญในแบบเผด็จการมี 8 ฉบับได้แก่ 1 รฐั ธรรมนูญฉบับช่วั คราว พ.ศ. 2490 2 รัฐธรรมนญู การปกครอง พ.ศ. 2502 3 รัฐธรรมนูญการปกครอง พ.ศ. 2515 4 รฐั ธรรมนญู พ.ศ. 2519 5 รฐั ธรรมนูญการปกครอง พ.ศ. 2520 6 รฐั ธรรมนูญการปกครอง พ.ศ. 2534 7 รัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว พ.ศ. 2549 8 รฐั ธรรมนูญฉบับชว่ั คราว พ.ศ. 2557 • รัฐธรรมนูญฉบับอน่ื ๆอีก 6 ฉบับคอื ลักษณะของรัฐธรรมนูญในแบบประชาธิปไตยครงึ่ ใบ

6 หมายเหตุ รัฐธรรมนูญที่มีท่ีมาจากการยึดอานาจรัฐโดยวิธีการทารัฐประหารมักจะใช้คาว่าธรรมนูญ การปกครองแต่สาหรับรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2490 ฉบับ พ.ศ. 2549 ใช้คาว่า \"รัฐธรรมนูญฉบับช่ัวคราว\" (รัฐธรรมนญู พ.ศ. 2490 ใช้คาวา่ \"ฉะบับ\" ซ่ึงเปน็ ภาษาไทยในช่วงเวลานัน้ ) รัฐธรรมนูญประชาธิปไตยครึ่งใบ หมายความว่า เน้ือหาของรัฐธรรมนูญฉบับน้ัน มีทั้งในส่วนที่เป็น ประชาธิปไตย และมีทั้งในส่วนท่ีไม่เป็นประชาธิปไตยแอบแฝงอยู่ ภายใต้บางมาตราหรือปรากฏอยู่ในบท เฉพาะกาล ความหมายของรัฐธรรมนูญประชาธิปไตยคร่ึงใบอาจอธบิ ายสรุปได้ว่า เปน็ ลกั ษณะของ \"เผด็จการก็ มใิ ช่ ประชาธิปไตยกไ็ ม่เชิง\" ลาดับต่อไปเป็นการสรุปสาระสาคัญท่ีน่าสนใจของรัฐธรรมนูญไทยในอดีตท้ัง 19 ฉบับท่ีผ่านมา ตามลาดบั ดงั นีค้ ือ 1. พระราชบญั ญัตธิ รรมนูญการปกครองแผน่ ดินสยามชว่ั คราวพุทธศักราช 2475 รฐั ธรรมนญู ฉบบั ท่ี 1 รัฐธรรมนูญลายลักษณ์อักษรฉบับแรกของไทยที่ระบุให้เป็นฉบับช่ัวคราวมีจานวน 39 มาตรามี 5 หมวดได้แก่ หมวด 1 ข้อความทว่ั ไป หมวด 2 กษตั ริย์ หมวด 3 สภาผู้แทนราษฎร หมวด 4 คณะกรรมการราษฎร หมวด 5 ศาล สาระท่ีน่าสนใจได้แก่ การกาหนดว่าอานาจสูงสุดเป็นของราษฎร และผู้ใช้อานาจแทนราษฎรมี 4 องคก์ รไดแ้ ก่ กษัตริย์ สภาผูแ้ ทนราษฎร คณะกรรมการราษฎร 15 นายและศาล ภายใต้รัฐธรรมนูญฉบับแรกน้ี กาหนดให้มีสภาเดียว คือ สภาผู้แทนราษฎร มีจานวน 70 นาย ซ่ึงได้รับการ แต่งตั้งโดยคณะราษฎร คุณสมบัติของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) ต้องสอบไล่วิชาการเมืองได้ตาม หลักสูตรท่ีสภาได้ตั้งไว้ สิ่งท่ีต่างจากรัฐธรรมนูญฉบับอ่ืนๆ ได้แก่อายุของผู้แทน (Candidate) กับอายุของ ประชาชนผู้มีสิทธิ์เลือกต้ัง (Voters) กาหนดไว้เท่ากันคือ 20 ปี ซึ่งราษฎรไม่ว่าเพศใดมีสิทธ์ิออกเสียงเลือกตั้ง ได้ การสืบมรดก ให้เป็นไปตามกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พ.ศ. 2467 และด้วยความ เห็นชอบของสภาผแู้ ทนราษฎร ในหมวดศาล ปรากฏในมาตราสุดท้าย ระบุว่าการระงับข้อพิพาทให้เป็นไปตามกฎหมายท่ีใช้อยู่ใน เวลานี้

7 หมายเหตุ คณะราษฎรขอร้องให้พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงอยู่ใต้พระราชบัญญัติ ธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พ.ศ. 2475 เพ่ือบ้านเมืองจะได้เจริญขึ้น ทรงยอมรับและทรงลง พระปรมาภิไธย และประกาศในราชกิจจานุเบกษาลงวันท่ี 27 มิถุนายน พ.ศ. 2475 (ซึ่งข้อความดังกล่าวนี้ เขียนไว้ก่อนข้นึ หมวด 1 ) และไมป่ รากฏช่อื ผลู้ งนามรบั สนองพระบรมราชโองการเพยี งฉบับเดียว 2. รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยามพุทธศกั ราช 2475 ประกาศใช้บังคับวนั ท่ี 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 มีจานวน 68 มาตรา โดยมผี ู้ลงนามรับสนองพระบรม ราชโองการคอื พระยามโนปกรณ์นิติธาดา ประธานคณะกรรมการราษฎร สาระท่ีน่าสนใจได้แก่ การกาหนดว่าสยามประเทศเป็นราชอาณาจักรหน่ึงเดียว จะแบ่งแยกมิได้ ซ่ึง แสดงถึงรูปแบบของรัฐท่ีกาหนดให้เป็นรัฐเดี่ยว (Unitary State) การกาหนดว่าอานาจอธิปไตยมาจากปวงชน สาหรับคุณสมบัติของ ส.ส. และผู้เลือกต้ัง ระบุให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้ง ส.ส. สาหรับ คณะรัฐมนตรี กาหนดใหม้ ีนายกนายหนง่ึ และมรี ฐั มนตรอี ยา่ งน้อย 14 นายหรอื อยา่ งมาก 24 นาย สภาผู้แทนมี 2 ประเภท ได้แก่ สมาชิกประเภทเลือกต้ังกับสมาชิกประเภทแต่งต้ัง ซ่ึงในวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 มกี ารเลอื กตงั้ ส.ส. ครั้งแรก (เปน็ การเลือกทางออ้ มโดยผู้แทนตาบล) ในปี พ.ศ. 2482 ไดม้ ีการเปล่ยี นนามประเทศจากสยามเป็นไทย จงึ ไดม้ ีการแก้ไขรฐั ธรรมนูญ โดยจอม พล ป.พิบลู สงคราม ในตาแหน่งนายกรัฐมนตรีเป็นผ้ลู งนามรบั สนองพระบรมราชโองการ รัฐธรรมนูญฉบับนี้ใช้บังคับนานประมาณ 13 ปี 5 เดือน โดยมีผู้มาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี ภายใต้รัฐธรรมนูญฉบับนี้ถึง 7 คน ได้แก่ พระยามโนปกรณ์นิติธาดา พระยาพหลพลพยุหเสนา หลวงพิบูล สงคราม นายควง อภัยวงศ์ นายทวี บุณยเกตุ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช และหลวงประดิษฐ์มนูธรรมหรือ นายปรีดี พนมยงค์ เม่ือนายปรีดี ขึ้นมาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรีได้ยกเลิกรัฐธรรมนูญฉบับที่ 2 เพ่ือต้องการ รฐั ธรรมนญู แบบประชาธิปไตย 3. รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทยพุทธศักราช 2489 รฐั ธรรมนูญฉบับน้ีเป็นรฐั ธรรมนูญฉบับประชาธิปไตยฉบับแรกของไทยมีจานวน 96 มาตราโดยมีนาย ปรีดี พนมยงค์ ในตาแหน่งนายกรฐั มนตรีเปน็ ผลู้ งนามรบั สนอง เน้ือหาสาระของรัฐธรรมนูญในประเด็นที่สาคัญๆ และน่าสนใจได้แก่ การกาหนดให้มีวุฒิสภาเป็นครั้ง แรก ซึ่งในเวลาน้ันใช้คาว่า \"พฤฒสภา\" มีจานวน 80 นาย มีวาระสมัย 6 ปี โดยมีที่มาจากการเลือกตั้งโดย ทางอ้อม คุณสมบัติของพฤฒสภา คือ ต้องมีอายุไม่ต่ากว่า 40 ปี จบการศึกษาในระดับปริญญาตรีหรือ

8 เทียบเท่ามาแล้วไม่ต่ากว่า 5 ปี หรือเป็นข้าราชการตาแหน่งไม่ต่ากว่าหัวหน้ากองหรือเทียบเท่า หรือเคยเป็น ส.ส. มาแล้ว รัฐธรรมนูญยังกาหนดให้ \"คณะกรรมการตุลาการรัฐธรรมนูญ\" มีจานวน 15 คน โดยนาแบบฉบับมา จากของประเทศฝรั่งเศส ทาหน้าที่วินิจฉัยในปัญหาเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ อาทิ พ.ร.บ. ท่ีออกโดยรัฐสภา จะขัด กบั รัฐธรรมนูญไมไ่ ดเ้ ป็นตน้ มาตราท่ีน่าสนใจอีก ได้แก่ บุคคลมีสิทธ์ิเสนอเรื่องราวร้องทุกข์ ภายใต้เงื่อนไขและวิธีการท่ีกฎหมาย บัญญัติ ภายใต้รัฐธรรมนูญประชาธิปไตยฉบับน้ี มีนายกรัฐมนตรี 2 ท่าน ได้แก่นายปรีดี พนมยงค์ (หลวง ประดิษฐ์มนธู รรม) และพลเรือเอกถวัลย์ ธารงนาวาสวัสด์ิ (หลวงธารงนาวาสวัสด์ิ) ซ่ึงรัฐธรรมนูญต้องสน้ิ สดุ ลง โดยการทารฐั ประหารในวนั ท่ี 8 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2490 นาโดย พลโทผิน ชณุ หะวัณ 4. รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทยฉบับชวั่ คราวพทุ ธศักราช 2490 เป็นรัฐธรรมนูญท่ีมาจากการทารัฐประหารใน พ.ศ. 2490 มีจานวน 98 มาตรา โดยผู้ลงนามรับสนอง ฯ รัฐธรรมนญู ฉบบั นีค้ อื จอมพล ป.พิบลู สงคราม ในตาแหน่งผูบ้ ญั ชาการทหารแหง่ ประเทศไทย รฐั ธรรมนูญฉบับนี้ กาหนดว่าให้มีนายกรัฐมนตรีคนหนึ่ง และมีรฐั มนตรอี ย่างน้อย 15 นาย อย่างมาก 15 นาย รวมเป็นคณะรัฐมนตรี สาหรับ ส.ส. ตอ้ งมีอายุไม่ต่ากว่า 35 ปี ส่วนพฤฒสภา มีการเปลี่ยนช่ือใหมเ่ ป็น วุฒิสภา โดยมาจากการแต่งต้ัง และให้มจี านวนเทา่ กบั ส.ส. มวี าระสมยั 6 ปี มกี ารกาหนดตาแหน่ง \"คณะอภริ ฐั มนตรี\" ไว้ในรฐั ธรรมนูญ (ซึ่งตอ่ มาได้เปล่ยี นชือ่ เป็นคณะองคมนตรี) โดยรฐั ธรรมนูญกาหนดใหป้ ระธานคณะอภิรัฐมนตรี เปน็ ผลู้ งนามรบั สนองในการแตง่ ตั้งนายกรัฐมนตรี ผู้ดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรีภายใต้รัฐธรรมนูญฉบับนี้ได้แก่ นายควง อภัยวงศ์ (กลับมาดารง ตาแหน่งอกี เป็นสมยั ท่ี 2 อยูใ่ นช่วง พ.ศ. 2490 - 2495 และจอมพล ป.พบิ ูลสงคราม ภายใตร้ ฐั ธรรมนูญฉบับน้ที ี่ระบวุ ่าเปน็ ฉบบั ช่วั คราวได้มกี ารจัดตั้ง \"สภารา่ งรัฐธรรมนญู \" ขนึ้ และเมอ่ื มี การร่างรัฐธรรมนูญเสร็จสิ้นแล้ว จึงได้ยกเลิกรัฐธรรมนูญฉบับท่ี 4 น้ี และนารัฐธรรมนูญฉบับท่ีร่างเสร็จมา ประกาศบังคับใช้เปน็ ฉบับท่ี 5 5. รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2492 รัฐธรรมนูญฉบับนี้เป็นรัฐธรรมนูญประชาธิปไตย มีจานวน 188 มาตรา โดยมีเจ้าพระยาศรีธรรมาธิ เบศ ในตาแหนง่ ประธานวฒุ ิสภา เป็นผ้ลู งนามรับสนองฯ สาระสาคัญของรฐั ธรรมนูญฉบบั น้ีได้แก่

9 ในเรื่องสิทธิเสรีภาพอาทินอกจากสิทธิ์ในการเลือกต้ัง ยังมีในเรื่องสิทธิ์ออกเสียงประชามติ สิทธิเสนอ เรื่องราวร้องทุกข์ เสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธ การห้ามปิดโรงพิมพ์และห้ามทาการพิมพ์ เพ่ือดัดลอนเสรีภาพ สิทธิของบุคคลที่จะฟ้องหน่วยราชการ การเนรเทศบุคคลผู้มีสัญชาติไทยออกนอก ราชอาณาจักรจะกระทามไิ ด้ การป้องกนั และปราบปรามโรคระบาดใหป้ ระชาชนโดยไม่คิดมลู คา่ มีแนวนโยบายแห่งรัฐเป็นครั้งแรก อาทิ รัฐพึงช่วยเหลือให้มีอุปกรณ์การศึกษาอบรมตามควร รัฐพึง สนับสนุนการค้นคว้าในทางศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ รัฐพึงรักษาไว้ซ่ึงวัฒนธรรมประจาชาติ แต่ต้องไม่ กระทาโดยวิธีการอันเป็นการบังคับฝืนใจบุคคล รัฐพ่ึงส่งเสริมการสาธารณสุขตลอดถึงการมารดาและทารก สงเคราะห์ เป็นต้น คณะรัฐมนตรี ได้แก่ นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี จานวนระหว่าง 15-25 คน โดยกาหนดให้ประธาน รัฐสภาเป็นผู้ลงนามรับสนองฯ การแต่งต้ังนายกรัฐมนตรี ในส่วนของรัฐสภาประกอบด้วย 2 สภา ได้แก่ ส.ส. ซึ่งต้องมีอายุไม่ต่ากว่า 30 ปี และ ส.ว. ซ่ึงต้องมีอายุไม่ต่ากว่า 40 ปี โดยท่ี ส.ว. จานวน 100 คน มาจากการ แตง่ ต้งั และให้ประธานองคมนตรี เป็นผูล้ งนามรบั สนองฯ ในการแตง่ ตัง้ ส.ว. การมคี ณะกรรมการตลุ าการรัฐธรรมนญู จานวน 9 คน การกาหนดใหห้ นงั สอื สญั ญา ตอ้ งไดร้ ับความเห็นชอบจากรฐั สภากอ่ น เป็นที่น่าเสียดายท่ีรัฐธรรมนูญประชาธิปไตยฉบับน้ี ได้ถูกยกเลิกใน พ.ศ. 2494 โดยนายกรัฐมนตรีใน เวลานั้นคือ จอมพล ป.พิบูลสงคราม (แปลก ขีตะสังคะ) ซึ่งเหตุการณ์คร้ังน้ีเรียกว่า \"เป็นการทารัฐประหาร ตนเอง\" เพราะไม่มีผู้ใดมายกเลิกรัฐธรรมนูญท่ีใช้บังคับอยู่ แต่เป็นการยกเลิกเองโดยผู้ใช้อานาจรัฐ ณ เวลานั้น การยกเลิกรัฐธรรมนูญฉบับนี้ ผู้นาประเทศได้นารัฐธรรมนูญฉบับท่ี 2 (ฉบับท่ี 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475) มาดดั แปลงใช้เป็นฉบับที่ 6 6. รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทยพุทธศักราช 2475 แก้ไขเพม่ิ เตมิ พทุ ธศกั ราช 2495 เป็นรัฐธรรมนูญท่ีมาจากการทารัฐประหารตนเองของจอมพล ป. พิบูลสงคราม โดยมีประกาศวันท่ี 6 ธันวาคม พ.ศ. 2494 รัฐธรรมนูญฉบับนี้มี 123 มาตรา โดยจอมพล ป. เองเป็นผู้ลงนามรับสนองฯ เป็นการใช้ อานาจปกครองในแบบถอยหลังเข้าคลอง กล่าวคือกับไปใช้ระบบสภาเดียวอีกคร้ังโดยท่ีสภาผู้แทนแบ่งเป็น 2 ประเภท คอื ประเภทเลอื กต้งั กับประเภทแต่งตัง้ โดยวาระสมยั ของ ส.ส. คือ 5 ปี เนือ่ งจากเป็นการนารัฐธรรมนูญฉบบั ที่ 2 ซงึ่ เป็นรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม จึงมีการกาหนด ไว้ในมาตราแรกว่า ให้นารัฐธรรมนูญฉบับ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 แก้ไขเพิ่มเติมว่าด้วยนามประเทศ พ.ศ. 2482 มาใช้บังคบั

10 ประเทศไทยกาลังก้าวหนา้ ไปเรือ่ ยๆ ภายใต้ระบอบประชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2489 และ รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2492 การต้องมาสะดุดลงด้วยวิธีการทารัฐประหารใน พ.ศ. 2490 และการทารัฐประหาร ตนเองใน พ.ศ. 2494 ได้สร้างความไม่พึงพอใจในหมู่ปัญญาชน แม้ผู้นาจะจัดให้มีการเลือกต้ังในปี พ.ศ. 2500 ก็มีการประท้วงโดยนิสิตนักศึกษาว่าเป็นการเลือกต้ังที่สกปรก ความขัดแย้งทางความคิดความไม่พึงพอใจใน วธิ กี ารปกครองของจอมพล ป. ในที่สุดจอมพลสฤษด์ิ ธนะรชั ต์ ได้ทารฐั ประหารในวนั ท่ี 20 ตุลาคม พ.ศ. 2500 เป็นการหมดยุคจอมพล ป. (ในช่วง พ.ศ. 2491 - 2500 จอมพล ป. ได้ล้ีภัยการเมืองไปอยู่ต่างประเทศ จอม พลสฤษด์ิ ได้มอบให้นายพจน์ สารสิน มาเป็นนายกรัฐมนตรีชั่วคราวในช่วง พ.ศ. 2500 และต่อมาให้จอมพล ถนอม กิตติขจร มาเป็นนายกรัฐมนตรีใน พ.ศ. 2501 ภายใตร้ ฐั ธรรมนูญฉบับที่ 6 จงึ มีนายกรฐั มนตรี 3 คน คือ จอมพล ป. นายพจน์ และจอมพลถนอม ต่อมาจอมพลสฤษด์ิ ได้ทาการรัฐประหารซ้า (โดยเป็นท่ีรู้กันทั่วไปว่า เป็นการตกลงกันภายในไว้แล้ว ระหว่างจอมพลสฤษด์ิ กับจอมพลถนอม) ใน พ.ศ. 2501 ถือว่าเป็นการยกเลิก รัฐธรรมนญู ฉบับท่ี 6 โดยจอมพลสฤษด์ิ 7. รฐั ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักรพุทธศกั ราช 2502 เป็นรัฐธรรมนูญฉบับแรกที่ใช้คานาหน้าว่า \"ธรรมนูญการปกครอง\" ต่อมารัฐธรรมนูญไทยเกือบทุก ฉบบั ที่มาจากการทารฐั ประหารจะใช้คานาหน้าว่า \"ธรรมนญู การปกครอง\" (ยกเว้นฉบับท่ี 4 กับฉบบั ท่ี 17 ที่ใช้ คาวา่ \"ชว่ั คราว\") นิยมเรียกกันว่าเป็นรัฐธรรมนูญฉบับจอมพลสฤษด์ิ เป็นรัฐธรรมนูญท่ีมีเน้ือหาสั้นที่สุด คือมีเพียง 20 มาตรา แต่มีมาตรา 17 ท่ีให้นายกรัฐมนตรีทาหน้าท่ีพิพากษาบุคคลผู้ซึ่งมีการกระทาอันเป็นภัยต่อความมั่นคง แห่งราชอาณาจักรไทย มีการตัดสินด้วยวิธีการยิงเป้า โดยไม่ต้องผ่านกระบวนการของฝ่ายตุลาการ ด้วยเหตุน้ี มาตรา 17 ภายใต้รัฐธรรมนูญจงึ เปน็ การปฏิเสธหลัก Rule of law รัฐธรรมนญู ฉบับท่ี 7 นี้ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรชั ต์ เป็นผลู้ งนามรับสนองฯ โดยใช้ตาแหนง่ ว่าเปน็ หัวหน้า คณะปฏวิ ตั ิ (แต่แท้จรงิ แลว้ คือ การทารฐั ประหาร) ภายใต้รัฐธรรมนูญฉบับน้ีกาหนดว่าในเมื่อไม่มีบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้บังคับให้วินิจฉัยไปตาม ประเพณีการปกครองในระบอบประชาธิปไตย นอกจากนี้ให้มี \"สภาร่างรัฐธรรมนูญ\" ทาหน้าที่รา่ งรัฐธรรมนูญ ฉบบั ใหม่ พร้อมกับทาหนา้ ทีน่ ิติบญั ญัติ (รฐั สภา) ไปด้วย มีจานวน 240 คน จอมพลสฤษด์ิ ดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรีตั้งแต่ พ.ศ. 2502 ถึง พ.ศ. 2506 ได้ถึงแก่กรรมด้วยการ เจ็บป่วย ซึ่งจอมพลถนอม ได้ขึ้นมารับตาแหน่งต่อภายใต้รัฐธรรมนูญฉบับนี้อยู่ระยะหนึ่ง จึงให้ยกเลิก รัฐธรรมนูญฉบับที่ 7 และนารัฐธรรมนูญท่ีร่างโดยสภาร่างรัฐธรรมนูญ 240 คน มาบังคับใช้เป็นรัฐธรรมนูญ ฉบบั ท่ี 8

11 8. รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทยพทุ ธศกั ราช 2511 ภายใต้รัฐธรรมนูญฉบับนี้ จอมพลถนอม กิตติขจร ดารงตาแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีต่อ สาหรับผู้ลง นามรับสนองฯ รัฐธรรมนูญฉบับนี้ คือ นายทวี บุณยเกตุ ในตาแหน่งประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ ถือว่าเป็น รฐั ธรรมนูญท่ีใช้เวลารา่ งยาวนานท่ีสุด (พ.ศ. 2502 ถึง พ.ศ. 2511) มจี านวน 183 มาตรา ประเด็นทน่ี า่ สนใจภายใตร้ ฐั ธรรมนูญได้แก่ การห้าม ส.ส. เปน็ รฐั มนตรใี นเวลาเดยี วกัน การใหเ้ สรีภาพในการจดั ตง้ั พรรคการเมอื ง รฐั สภาประกอบด้วย 2 สภา โดย ส.ส. ต้องมีอายุไม่ต่ากว่า 30 ปี และ ส.ว. ต้องมีอายุไม่ต่ากวา่ 40 ปี มีจานวน 3 ใน 4 ของ ส.ส. วาระสมัย 6 ปี มาจากการแต่งตั้ง แต่มีอานาจเท่ากับ ส.ส. และไม่ห้ามข้าราชการ ประจาเปน็ ส.ว. การมคี ณะกรรมการตุลาการรัฐธรรมนูญ 9 คน ตลอดจนความเปน็ อิสระของผพู้ พิ ากษา ประชาชนมีเสรีภาพในการชมุ นุมโดยสงบ และปราศจากอาวธุ การทาหนังสอื สญั ญา ตอ้ งได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภา รัฐพงึ สนับสนุนการปกครองทอ้ งถ่นิ รฐั จะใหเ้ งนิ หรอื ทรพั ยส์ นิ อุดหนุนหนงั สือพิมพ์เอกชนไมไ่ ด้ กล่าวได้ว่าเนื้อหาของรัฐธรรมนูญ มีความเป็นประชาธิปไตยอยู่หลายมาตรา แม้จะไม่ใช่รัฐธรรมนูญ แบบประชาธปิ ไตยคลาสสคิ ก็ตาม ต่อมาในวันท่ี 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 จอมพลถนอม ไดป้ ระกาศยกเลิก รฐั ธรรมนูญฉบับนี้ และนารฐั ธรรมนูญในแบบฉบับเดยี วกบั รฐั ธรรมนญู ของจอมพลสฤษด์ิ มาใช้เป็นรฐั ธรรมนูญ ฉบับที่ 9 ด้วยเหตุนี้การส้ินสุดลงของรัฐธรรมนูญฉบับท่ี 8 เกิดจาก \"การทารัฐประหารตนเอง\" ของจอมพล ถนอม กิตตขิ จร 9. ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักรพุทธศักราช 2515 รฐั ธรรมนูญฉบับน้ีมีทั้งชื่อและหลักการเหมือนกับรัฐธรรมนญู ในสมัยจอมพลสฤษดิ์ โดยจอมพลถนอม เป็นผู้ลงนามรับสนองฯ รัฐธรรมนูญและใช้คานาหน้าว่า \"หัวหน้าคณะปฏิวัติ\" (ในความเป็นจริงไม่มีการปฏิวัติ ไม่มีการทารัฐประหาร หากจะเป็นการยกเลิกรัฐธรรมนูญฉบับท่ีตนเป็นผู้ใช้อานาจรัฐ เพื่อนารัฐธรรมนูญฉบับ ใหม่ทผี่ นู้ าพอใจมาใช้บงั คบั แทน จงึ เรียกวา่ การทารัฐประหารตนเองใน พ.ศ. 2514) รัฐธรรมนูญฉบับที่ 9 น้ี มี 23 มาตราและมีมาตรา 17 กาหนดให้มีสภาเดียวเรียกว่า \"สภานิติบัญญัติ แห่งชาติ\" มีจานวน 219 คนมีอายุไม่ต่ากว่า 35 ปีและมีวาระสมัย 3 ปี มาทาหน้าท่ีตามพระราชบัญญัติ

12 ตลอดจนทาหน้าที่ตีความและวินิจฉัยชี้ขาดในกรณีมีปัญหาว่าการกระทาหรือการปฏิบัติใดขัดหรือแย้งต่อ รัฐธรรมนูญฉบับนี้หรือไม่ สาหรับมาตรา 17 (ท่ีเป็นเช่นเดียวกบั รัฐธรรมนญู สมัยจอมพลสฤษด์ิ) ใหเ้ ป็นอานาจ ของนายกรัฐมนตรี และหากนายกรัฐมนตรีได้ใช้มาตรา 17 ไปแล้วให้แจ้งให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติทราบ กล่าวได้ว่าการมีมาตรา 17 อีกครั้ง ประกอบกบั การมีมหาวิทยาลัยเพ่ิมขน้ึ ในประเทศไทยการกาหนดกตกิ าชาติ บ้านเมืองตามความพึงพอใจของผู้มีอานาจรัฐ คงไม่ใช่เป็นส่ิงง่ายดายอีกต่อไป ในท่ีสุดประวัติศาสตร์ของการ เมืองไทยจึงได้มีเหตุการณ์วันท่ี 14 ตุลาคม พ.ศ. 25163 จบลงโดยจอมพลถนอม กิตติขจร ยอมเสียสละ ตาแหน่งและไปอยู่ต่างประเทศด้วยความปรารถนาให้เหตุวุ่นวายกับคืนสู่เหตุการณ์ปกติ รวมเวลาการดารง ตาแหน่งนายกรัฐมนตรีของจอมพลถนอม คือตั้งแต่ พ.ศ. 2506 ถึง พ.ศ. 2516 จากนั้นนายสัญญา ธรรมศักดิ์ ก็ขึ้นมาเป็นนายกรัฐมนตรีสืบต่อ และจัดให้มีสภานิติบัญญัติแห่งชาติมาประชุมกันท่ีสนามม้านางเลิ้ง เพื่อมา จดั ทารัฐธรรมนูญฉบับใหม่ 10 รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทยพทุ ธศกั ราช 2517 รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2517 เป็นรัฐธรรมนูญแบบประชาธิปไตยคลาสสิกอีกฉบับหนึ่งของไทย มีจานวน 238 มาตรา ผู้ลงนามรับสนองฯ รัฐธรรมนญู ฉบบั น้ีคอื หม่อมราชวงศค์ ึกฤทธ์ิ ปราโมช ในตาแหน่งประธานสภา นิติบัญญัติแห่งชาติ โดยมีนายสัญญา ธรรมศักดิ์ ยังคงเป็นนายกรัฐมนตรีต่อเนื่องจาก พ.ศ. 2516 ถึง พ.ศ. 2518 และภายหลังจากการเลือกต้ัง ผู้ดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี ตัง้ แต่ พ.ศ. 2518 ถงึ พ.ศ. 2519 เป็นสอง หมอ่ มราชวงศ์สลบั กันดงั นี้ คอื พ.ศ. 2518 - 2519 หม่อมราชวงศเ์ สนยี ์ปราโมช พ.ศ. 2518 หมอ่ มราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมทย์ เพยี ง 18 เสยี ง พ.ศ. 2519 หม่อมราชวงศเ์ สนีย์ปราโมช ทั้งนี้ เพราะรัฐธรรมนูญกาหนดว่า ในการบริหารราชการแผ่นดิน คณะรัฐมนตรีต้องแถลงนโยบาย และตอ้ งได้รบั ความไวว้ างใจจากสภาผแู้ ทนราษฎรดว้ ย (มาตรา 184) สาระสาคัญภายใต้รัฐธรรมนญู พ.ศ. 2517 ไดแ้ ก่ การบัญญัติว่าอานาจอธิปไตยเป็นของประชาชนชาวไทย (รัฐธรรมนูญฉบับอื่นๆ ส่วนใหญ่จะใช้คาว่า \"มาจาก\") ตาแหน่งนายกรฐั มนตรีตอ้ งมาจากการเลอื กตัง้ (ตอ้ งเปน็ ส.ส. และ ส.ส. ต้องสังกัดพรรคการเมอื ง คณะรัฐมนตรีตอ้ งแสดงสินทรพั ย์และหนส้ี ินของตน (มาตรา 181) 3 14 ตลุ าคม พ.ศ.2516 : ชาวไทยรู้จกั ในนาม \"วนั มหาวปิ โยค\" ซง่ึ ล้นเกล้าฯ รชั กาลปัจจบุ นั ทรงบญั ญัตศิ พั ท์นี ้ในหลกั ทางวิชาการ เรียกวา่ Uprising หมายถงึ \"การจลาจลทางการเมือง\"

13 มีในสว่ นที่ว่าดว้ ยผูต้ รวจเงินแผ่นดนิ ของรฐั สภา และขา้ ราชการฝา่ ยรฐั สภา การกาหนดเป็นคร้งั แรกวา่ ราชธดิ าสามารถครองราชยไ์ ด้ (มาตรา 25) การให้เสรีภาพแก่ประชาชนอย่างมาก รวมถึงเรื่องสิทธิ์ในการแสดงประชามติ เรียกได้ว่าเป็น รัฐธรรมนูญประชาธิปไตยแบบอุดมคติ แม้ว่ารัฐธรรมนูญฉบับนี้ จะเป็นตัวอย่างที่ดีของรัฐธรรมนูญในแบบประชาธิปไตยฉบับหน่ึงก็ตาม แต่ ควรเก็บกดทางการเมืองภายใต้ระบอบท่ีไม่ได้เป็นประชาธิปไตยแบบรูปธรรม จึงเกิดเหตุการณ์แสดงพลัง ประชาธิปไตยในรูปแบบต่างๆ โดยตลอดความชุลมุนวุ่นวายมาถึงจุดจบ เม่ือมีขบวนการต่อต้านการกลับมา เมอื งไทยของอดีตนายกรัฐมนตรจี อมพลถนอม ในภาพชุดผา้ เหลืองเป็นพระภิกษุเพ่ือกลบั มาดแู ลบุพการีท่ีป่วย การชุมนุมต่อต้านที่สนามบินดอนเมืองและการประท้วงบริเวณอ่ืนๆ นามาซ่ึงการทารัฐประหารในวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 โดยมีการปราบปรามที่รุนแรงนักศึกษาจานวนไม่น้อยต้องเสียชีวิตและหลบหนีเข้าป่าเป็น การส้นิ สดุ ลงของรัฐธรรมนญู ฉบับที่ 10 11. รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทยพทุ ธศักราช 2519 ที่มาของรัฐธรรมนูญฉบับน้ีเกิดจากการทารัฐประหาร แต่ไม่ได้ใช้ช่ือว่า \"ธรรมนูญการปกครอง\" และ ไม่ไดใ้ ห้ใช้คาคาวา่ \"ฉบับช่ัวคราว\" แต่แท้จริงแล้วรัฐธรรมนญู ฉบับน้ี เปน็ รัฐธรรมนูญในแบบเผดจ็ การฉบับหน่ึง ของไทย ผลู้ งนามรับสนองฯ รฐั ธรรมนญู ฉบับน้ี คอื พลเรือเอกสงัด ชลออยู่ ในตาแหน่งหัวหน้าคณะปฏริ ูปการ ปกครองแผ่นดินและคณะทหารแต่งตั้งให้ นายธานินทร์ กรัยวิเชียร เป็นนายกรัฐมนตรีโดยมาตรา 21 บัญญัติ ว่าเม่ือนายกรัฐมนตรีสั่งการหรือกระทาการใด ให้นายกรัฐมนตรีแจ้งให้สภาปฏิรูปการปกครองแผ่นดินทราบ และมาตรา 18 กาหนดให้มีสภาท่ีปรึกษาของนายกรัฐมนตรีประกอบด้วยบุคคลในคณะปฏิรูปการปกครอง แผน่ ดนิ และเมอื งไทยในช่วงน้ีจึงถูกมองวา่ เป็นนายกรัฐมนตรภี ายใต้อาณัติทหาร รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2519 มีจานวน 29 มาตรา และมีมาตรา 21 ซึ่งก็คือ มาตรา 17 ที่เคยมีในอดีต น่ันเอง การสิ้นสุดลงของรัฐธรรมนูญฉบับนี้ เกิดจากการทารัฐประหารซ้าอีกในวันท่ี 20 ตุลาคม พ.ศ. 2520 ภายใต้กระบวนการ Young Turk หรือทหารประชาธปิ ไตย 12. ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักรพุทธศักราช 2520 เปน็ รัฐธรรมนูญอีกฉบับหนึ่งท่ีมีที่มาจากการทารฐั ประหาร โดยผู้ลงนามรับสนองฯ รัฐธรรมนูญฉบับน้ี คือ พลเรือเอกสงัด ชลออยู่ ในตาแหน่งหัวหน้าคณะปฏิวัติ (ผู้ยึดอานาจไม่เคยมีใครกล้าใช้คาว่า \"รัฐประหาร\" เพราะคานี้ถือว่าขาดความชอบธรรมทางการเมือง) สว่ นผู้ท่ีข้ึนมาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรีคือพลเอกเกรียง ศกั ดิ์ ชมะนันทน์

14 รัฐธรรมนูญฉบับน้ีมี 32 มาตรา โดยมีมาตรา 27 (ซ่ึงก็คือมาตรา 17 ของรัฐธรรมนูญจอมพลสฤษด์ิ) รฐั ธรรมนูญฉบับน้ีกาหนดไว้ชัดเจนว่าเป็นรัฐธรรมนูญชั่วคราว โดยมีบทเฉพาะการระบุว่า ให้มีสภานิติบัญญัติ แห่งชาติ มีจานวนไม่น้อยกว่า 300 คน แต่ไม่เกิน 400 คน เพ่ือจัดทารัฐธรรมนูญฉบับใหม่ให้เสร็จภายในปี พ.ศ. 2521 โดยกาหนดให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติแต่งต้ังคณะกรรมาธิการข้ึนคณะหน่ึงทาหน้าที่ร่าง รฐั ธรรมนญู เพอ่ื เสนอต่อสภานติ ิบญั ญตั แิ หง่ ชาติ (มาตรา 9) ภายใต้รฐั ธรรมนูญฉบบั ที่ 12 น้ี ได้มตี าแหน่งสภานโยบายแห่งชาติ โดยระบุให้หวั หน้าคณะปฏิวัติเป็น ประธานสภานโยบายแห่งชาติ มีอานาจหน้าท่ีกาหนดแนวนโยบายแห่งรัฐ และให้ความคิดเห็นแก่คณะรฐั มนตรี สาหรับไปบริหารราชการแผ่นดิน และประธานสภานโยบายแห่งชาติยังเป็นผู้แต่งตั้งและถอดถอน นายกรฐั มนตรีอกี ด้วย รฐั ธรรมนูญฉบบั น้ีสนิ้ สุดลงเม่อื มีการจัดทารฐั ธรรมนูญฉบับใหม่เสรจ็ ส้ินไปฉบับที่ 13 13. รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทยพทุ ธศกั ราช 2521 การประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับนี้ ผู้ลงนามรับสนองฯ คือ พลอากาศเอกหะริน หงสกุล ได้ตาแหน่ง ประธานสภานิติบัญญตั ิแห่งชาติ รฐั ธรรมนญู มีจานวน 206 มาตรา และก็ยงั มมี าตรา 17 เก่าของจอมพลสฤษดิ์ ปรากฏอยดู่ ้วยภายใต้มาตรา 200 รัฐธรรมนูญกาหนดให้ตาแหน่งประธานวุฒิสภาเป็นประธานรัฐสภาและยังเป็นประธานตุลาการ รฐั ธรรมนูญดว้ ย ภายใต้มาตรา 202 ได้กาหนดชัดเจนว่าให้มกี ารเลือกตง้ั สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎรภายในปี พ.ศ. 2521 แต่ไมไ่ ดร้ ะบุวา่ ตาแหน่งนายกรัฐมนตรตี อ้ งมาจาก ส.ส. ผู้ดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรีภายใต้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2521 มี 3 คน ได้แก่พลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะ นันทน์ ดารงตาแหน่งต่อเน่ืองจากรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2520 ไปจนถึง พ.ศ. 2523 ต่อมาได้ลาออกจาก ตาแหน่งและพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ขึ้นมาดารงตาแหนง่ นายกรฐั มนตรสี ืบตอ่ ใน พ.ศ. 2523 ถึง พ.ศ. 2531 โดยสละตาแหน่งนายกมนตรีคนต่อไปให้พลเอกชาติชาย ชณุ หะวัณ ที่ชนะการเลือกต้ังใน พ.ศ. 2531 ซ่ึงต่อมา ในปี พ.ศ. 2532 ไดม้ กี ารแก้ไขรัฐธรรมนญู ใหป้ ระธานสภาผแู้ ทนราษฎรเปน็ ประธานรัฐสภา รัฐธรรมนูญฉบับนี้ได้มีผู้พยายามโค่นล้มในยุคที่พลเอกเปรม เป็นนายกรัฐมนตรีถึง 2 คร้ัง แต่ก็ไม่ สาเร็จท้ัง 2 ครั้ง จึงกลายเป็นกบฏเดือนเมษายน พ.ศ. 2524 กับกบฏเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2528 แต่ในท่ีสุด การโค่นล้มรัฐธรรมนูญก็กระทาสาเร็จ ในการทารัฐประหารวันท่ี 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 โดยคณะผู้รักษา ความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ หรือ รสช. ซง่ึ นาโดยพลเอกสนุ ทร คงสมพงษ์ เข้ายึดอานาจรัฐบาลชดุ พลเอกชาติ ชาย ชุณหะวัณ ได้สาเรจ็

15 14. ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจกั รพุทธศกั ราช 2534 เป็นรัฐธรรมนูญท่ีมีที่มาจากการทารัฐประหารวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 ผู้ลงนามรับสนองฯ รัฐธรรมนูญฉบับน้ีคือ พลเอกสุนทร คงสมพงษ์ ได้ตาแหน่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ รัฐธรรมนูญมีจานวน 33 มาตรา และมีมาตรา 27 (หรือมาตรา 17 ภายใต้รัฐธรรมนูญของจอมพลสฤษดิ์) โดย กาหนดใหป้ ระธาน รสช. เป็นผูใ้ ช้มาตรา 27 และเป็นผแู้ ต่งตัง้ และถอดถอนนายกรัฐมนตรี สาหรับผู้ที่มาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรีภายใต้รัฐธรรมนูญฉบับนี้ คือ นายอานันท์ ปันยารชุน ใน พ.ศ. 2534 ภายใตร้ ฐั ธรรมนูญฉบบั น้ี กาหนดใหม้ สี ภานติ ิบัญญัติแหง่ ชาติ มีหนา้ ทีจ่ ัดทารัฐธรรมนูญฉบับใหม่ และ ทาหน้าทพี่ จิ ารณารา่ งพระราชบญั ญัติดว้ ย รฐั ธรรมนญู ยังกาหนดใหม้ กี ารเลือกต้งั ใน พ.ศ. 2534 อกี ด้วย รฐั ธรรมนญู ฉบับที่ 14 สน้ิ สุดลง เมือ่ มกี ารจดั ทารฐั ธรรมนญู ฉบับท่ี 15 เสรจ็ สน้ิ และประกาศใชบ้ งั คับ 15. รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทยพทุ ธศกั ราช 2534 ในปี พ.ศ. 2534 ประเทศไทยมีการประกาศใชร้ ฐั ธรรมนูญถงึ 2 ฉบับ คอื ฉบบั ท่ี 14 และฉบบั ท่ี 15 รฐั ธรรมนูญฉบับที่ 15 มีจานวน 211 มาตรา โดยผลู้ งนามรบั สนองฯ รฐั ธรรมนูญฉบับน้คี ือ นายอกุ ฤษ มงคลนาวิน ในตาแหน่งประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ สาหรับนายกรัฐมนตรียังคงเป็นนายอานันท์ ปันยา รชนุ ซ่ึงเป็นศูนยเ์ นื่องต่อตงั้ แต่วนั ที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2534 ถึงวันท่ี 6 เมษายน พ.ศ. 2535 ภายใต้การบังคับใช้รัฐธรรมนูญฉบับน้ี ได้เกิดเหตุการณ์นองเลือดในช่วงวันท่ี 17 - 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 ที่เรียกกันว่า \"พฤษภาทมิฬ\" ซึ่งเป็นเหตุการณ์ Uprising (การจราจลทางการเมือง) คนไทยต้อง เสียชีวิตมากมายภายใต้การวิเคราะห์การเมืองไทยช่วงน้ันว่า เป็นการต่อสู้ระหว่างฝ่ายรัฐบาลภายใต้พลเอกสุ จนิ ดา คราประยูร ในตาแหนง่ นายกรัฐมนตรีกับกลมุ่ ที่นาโดยพลตรีจาลอง ศรีเมือง โดยทเ่ี หตุการณ์สงบลงด้วย พระบารมขี องพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ วั องคป์ จั จุบนั ในปพี . ศ. 2535 มกี ารเลอื กต้งั 2 คร้ังไดแ้ ก่ (1) วันท่ี 22 มีนาคม ซึ่งพลเอกสุจินดา คราประยูร ดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี ต้ังแต่วันท่ี 7 เมษายน ถึงวันที่ 24 พฤษภาคม (รวม 48 วัน) และในช่วงต่อมานายอานันท์ ปันยารชนุ กลับเข้าดารงตาแหน่ง นายกรัฐมนตรีอีกรอบหนึง่ ในช่วงเดือนมิถุนายนถึงเดอื นกนั ยายน

16 (2) วันที่ 13 กันยายน ซึ่งนายชวน หลีกภัย ได้ดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี ต้ังแต่วันท่ี 23 กันยายน พ.ศ. 2535 ถึงวนั ท่ี 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2538 หลงั จากนั้น นายกรัฐมนตรีภายใต้รัฐธรรมนูญ 9 ธนั วาคม พ.ศ. 2534 ทีม่ าจากการเลือกต้งั ได้แก่ นายบรรหาร ศลิ ปอาชา (18 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 ถงึ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539) พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ (25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559 ถงึ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540) หมายเหตุ พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ เป็นนายกรัฐมนตรีภายใต้รัฐธรรมนูญ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2534 และ ตอ่ เน่ืองถึงรฐั ธรรมนูญ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2540 ดว้ ย กล่าวได้ว่า รัฐธรรมนูญฉบับที่ 15 (9 ธันวาคม พ.ศ. 2534) เป็นรัฐธรรมนูญที่มีการแก้ไขมากที่สุด กลา่ วคือ ปี พ.ศ. 2535 มีการแกไ้ ข 4 ครง้ั ปี พ.ศ. 2538 มกี ารแก้ไข 1 ครั้ง ปี พ.ศ. 2539 มกี ารแก้ไข 1 ครั้ง โดยการแกไ้ ขรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2539 เพือ่ ยกเลิกรัฐธรรมนูญฉบบั เกา่ และยกร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ โดยมีวัตถุประสงคเ์ พ่ือตอ้ งการปฏริ ูปการเมืองแบบใหม่ 16. รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทยพุทธศักราช 2540 รัฐธรรมนูญฉบับนี้ ได้รับการกล่าวขวัญว่าเป็นรัฐธรรมนูญท่ีมีท้ังเนื้อหาสาระและท่ีมาในการจัดทา รัฐธรรมนูญในแบบท่ีเป็นประชาธิปไตย เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญต้องการปฏิรูปการเมืองใหม่ ดังน้ี จึงมี หลักการใหม่ๆ ที่ไม่เคยมีภายใต้รฐั ธรรมนูญในอดีตที่ผ่านมาทั้ง 15 ฉบับ อาทิ การมอี งค์กรอิสระทางการเมือง ได้แก่ กกต. ปปช. ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลปกครอง ศาลฎีกา สาหรับผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง ผู้ตรวจการ แผน่ ดินของรฐั สภา กรรมการสิทธิมนุษยชนแหง่ ชาติ สภาทีป่ รึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ เปน็ ต้น การนาหลักประชาธิปไตยแบบมีสว่ นร่วมมากาหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ เช่น ในเรื่องประชามติ เร่ืองการ ถอดถอนผู้ใช้อานาจรัฐ เรื่องการมีส่วนร่วมเสนอกฎหมายจากประชาชนฯลฯ ซ่ึงเป็นประชาธิปไตยเกือบ โดยตรงคลา้ ยกบั การเมอื งการปกครองของสวิตเซอร์แลนด์ จุดเด่นของรัฐธรรมนูญฉบับน้ี คือ กาหนดให้สมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) จานวน 200 คนมาจากการ เลือกตั้งจากประชาชน โดยให้จังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง โดยที่ 76 จังหวัด มีจานวน ส.ว. ไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับ ขนาดใหญ่เล็กและจานวนประชากร โดยที่ กทม. จะมี ส.ว. มากท่ีสดุ คือ 18 คน และจงั หวัดท่มี ีประชากรน้อย กว่าก็มีจานวน ส.ว. ลดหล่ันกันไป แต่อย่างน้อยท่ีสุดจังหวัดหน่ึงต้องมี ส.ว. 1 คน รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 กาหนดบทบาทหน้าที่อานาจของ ส.ว. ให้เป็นสภาตรวจสอบเป็นองคก์ รท่ีมีอานาจมากท่ีสุดภายใต้รัฐธรรมนูญ

17 เพราะประธานวุฒิสภาเป็นผู้ลงนามรับสนองฯ ในการแต่งต้งั และในการถอดถอนทุกองค์กรท่ีใช้อานาจรฐั หาก ไดม้ กี ารอา่ นทุกมาตราของรฐั ธรรมนญู ฉบบั นี้แลว้ สามารถวเิ คราะหไ์ ดว้ ่าองค์กรท่ีมอี านาจแทจ้ ริงไดแ้ ก่ 1) แตร่ ฐั ธรรมนูญจานวน 15 คน 2) ส.ว. จานวน 200 คน ผู้ดารงตาแหน่งนายกรฐั มนตรภี ายใตร้ ฐั ธรรมนญู ฉบับนี้ ไดแ้ ก่ พลเอกชวลิต ยงใจยทุ ธ (25 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2539 ถึง 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540) นายชวน หลกี ภยั (9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540 ถึง 9 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2543) พลตารวจโททกั ษณิ ชนิ วัตร (9 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2544 ถึง 5 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2548) หมายเหตุ พลตารวจโททักษิณ เป็นนายกรฐั มนตรที ่ีมาจากการเลือกตั้งคนเดยี วท่ีอยู่ครบวาระสมัย 4 ปี การพ้นจากตาแหน่งสมัยแรก เพราะครบวาระ 4 ปี ที่ต้องมีการเลือกต้ังทั่วประเทศต่อมาพันตารวจโท ทักษิณ ได้ดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรีเป็นสมัยท่ี 2 (9 มีนาคม พ.ศ. 2548 ถึงวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549) และก็เป็นการเมอื งไทยคร้งั แรกเช่นกันท่ีการจัดตั้งรัฐบาลไมไ่ ดเ้ ป็นรฐั บาลพรรคผสม แต่เป็นทางรัฐบาล ทีม่ าจากพรรคเดียว คอื พรรคไทยรักไทย เหตุการณ์บ้านเมืองภายใต้ พันตารวจโททักษิณ เป็นนายกรัฐมนตรีสมยั ที่ 2 เร่มิ เข้าสู่สภาวะวนุ่ วายมี กลุ่มอารยะขัดขืน มีกระแสจากส่ือหลายแขนงท่ีมองว่า การเมืองจะแปรเปลี่ยนจากระบอบประชาธิปไตยมา เป็นระบอบทักษิณ (หมายความว่า เป็นกติกาตามที่ผู้นาปรารถนา) ภายหลังการประกาศยุบสภาในวันที่ 24 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2549 ไดก้ าหนดให้มีการเลอื กตั้ง ส.ส. ในวนั ท่ี 2 เมษายน พ.ศ. 2549 ผลจากการเลือกต้งั คร้ัง นี้ปรากฏว่าพรรคประชาธิปัตย์ Boycott ไม่ส่งผู้สมัครแข่งขันและช่องคะแนน No vote (ไม่เลือกใคร) ในบาง จุดมีมากกว่าผู้ได้รับเลือก ในเวลาต่อมาศาลได้ประกาศให้การเลือกต้ังครั้งน้ีเป็นโมฆะ รัฐบาลจึงกาหนดวัน เลอื กตั้งใหม่ คือวันท่ี 15 ตุลาคม พ.ศ. 2549 แต่ได้เกิดเหตกุ ารณร์ ัฐประหารข้ึนก่อนในวนั ที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 ภายใต้การนาของพลเอกสนธิ บุญยรัตกลิน พร้อมผู้นาทั้ง 4 เหล่าทัพ โดยใช้ชื่อว่า \"คณะปฏิรูปการ ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข\" (คปค.) เป็นการสิ้นสุดการบังคับใช้ รฐั ธรรมนูญฉบบั พ.ศ 2540 หมายเหตุ ในช่วงเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2549 ประเทศไทยจัดงานมงคลย่งิ ใหญ่ของชาติ คือพระราชพิธี ครองสิรริ าชสมบตั ิครบ 60 ปี ในพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวโดยมีประมขุ แห่งรัฐท่ีเปน็ กษัตรยิ ์หรือพระราชินี หรือพระเจ้าจักรพรรดิหรือเจา้ ชายเสดจ็ มารว่ มเปน็ เกยี รตใิ นพระราชพิธีดังกล่าว 25 ประเทศ 17. รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบบั ชวั่ คราว พ.ศ. 2549

18 ภายหลังการทารัฐประหารยกเลิกรฐั ธรรมนญู ฉบบั พ.ศ. 2540 ในวนั ท่ี 1 ตุลาคม พ.ศ. 2549 ได้มีการ ประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว พ.ศ. 2549 โดยมีพลเอกสนธิ บญุ ยรตั กลิน เปน็ ผู้ลงนามรับสนองฯ และมี พลเอกสรุ ยุทธ์ จุลานนท์ ดารงตาแหนง่ นายกรฐั มนตรคี นที่ 24 ภายใต้รัฐธรรมนูญฉบับที่ 17 ซึ่งมี 39 มาตราได้กาหนดให้มีองค์กรข้ึนมาทาหน้าที่เก่ียวข้องกับ การเมืองการปกครองหลายองคก์ ร ไดแ้ ก่ ใหม้ ีสมาชกิ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) มีจานวนไม่เกิน 250 คน และมีอายุไม่ต่ากว่า 35 ปี มาทา หน้าทเ่ี ป็นท้งั ส.ส. และ ส.ว. ซ่งึ กค็ ือรฐั สภานน่ั เอง ใหม้ ีสมาชกิ สภารา่ งรัฐธรรมนญู (ส.ส.ร.) จานวน 100 คน มาโดยวิธีการสรรหาจากภาครฐั ภาคเอกชน ภาคสังคม ภาควิชาการ จานวน 2,000 คน เรียกว่า สมัชชาแห่งชาติ โดยให้เลือกกันเองให้เหลือ 200 คน จากนั้นคณะรัฐมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ (คมช.) จะคัดให้เหลือ 100 คน เพ่อื ให้ สสร. 100 คนน้ี มาทาหน้าท่ี รา่ งรัฐธรรมนญู ฉบับใหม่ โดยมีเงือ่ นไขว่าต้องเสรจ็ สิน้ ภายในเวลา 180 วัน และในการจัดทารฐั ธรรมนญู ตอ้ งจัด ใหม้ ีการรับฟงั ความคิดเห็นจากประชาชน (Public hearing) ให้มีการเปรียบเทียบร่างรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2550 กับรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2540 โดยจัดทาคา ช้ีแจงว่าร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ที่จัดทาขึ้นนั้น มีความแตกต่างจากรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2540 อย่างไรบ้าง พร้อมยกเหตุผล โดยที่คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญต้องได้รบั การยอมรับจาก สสร. ทุกคนในทุกมาตรา ท่ีกาหนดข้ึน อีกท้ังยังต้องเสนอร่างรัฐธรรมนูญไปยัง 12 องค์กรต่อไปน้ี เพ่ือให้พิจารณาและเสนอความเห็น แนะนาหรือแกไ้ ข ได้แก่ 1 คณะมนตรคี วามม่ันคงแหง่ ชาติ 2 สภานิติบญั ญัติแห่งชาติ 3 คณะรัฐมนตรี 4 ศาลฎกี า 5 ศาลปกครองสงู สดุ 6 คณะกรรมการเลอื กตง้ั 7 คณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ รติ แห่งชาติ 8 ผู้วา่ การตรวจเงนิ แผน่ ดนิ 9 ผ้ตู รวจการแผน่ ดินของรัฐสภา 10 คณะกรรมการสิทธมิ นุษยชนแห่งชาติ 11 สภาทป่ี รกึ ษาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ 12 สถาบันอดุ มศึกษา

19 นอกจากน้ีคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ จะต้องเผยแพร่ร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ให้ประชาชน ได้ทราบด้วย ให้ประชาชนออกเสียงประชามติ (Referendum) ว่ารับหรือไม่รับร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ โดยมี เงื่อนไขว่าหากเสยี งประชามติไม่รบั มีมากกวา่ รับ ร่างรฐั ธรรมนูญฉบบั สสร. กต็ ้องตกไป และให้เป็นอานาจของ คมช. จะหยิบยกนาเอารัฐธรรมนูญในอดีตฉบับใดข้ึนมาบังคับก็ได้ ซึ่งผลปรากฏว่าปรากฏการณ์ครั้งแรกของ เมืองไทยท่ีจัดให้มีวันทาประชามติในเรื่องรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ในวันท่ี 19 สิงหาคม พ.ศ. 2550 โดยผล ประชามติออกมาว่ารับร่างรัฐธรรมนูญ และในวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2550 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงลงพระปรมาภิไธย โดยมนี ายมชี ยั ฤชุพันธ์ุ ประธาน สนช. เปน็ ผู้ลงนามรับสนองฯ จากนัน้ ได้มกี ารประกาศ ในราชกจิ จานุเบกษา อนั มผี ลบงั คับใช้เป็นรฐั ธรรมนญู ฉบบั ที่ 18 18. รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทยพุทธศักราช 2550 รฐั ธรรมนูญ พ.ศ. 2550 เป็นรัฐธรรมนูญฉบบั แรกท่ีมาจากการทาประชามติในวนั ท่ี 19 สิงหาคม พ.ศ. 2550 เน้ือหาของรัฐธรรมนูญมี 309 มาตรา เมื่อประกาศใช้บังคับในวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ 2550 องค์กรที่ ต้องสิ้นสุดลงคือ รัฐธรรมนญู ฉบับ พ.ศ. 2549 สสร. 100 คน คมช. ค.ร.ม. สาหรบั เจตนารมณ์หรอื วัตถปุ ระสงค์ของรฐั ธรรมนญู ฉบบั น้คี อื 1) คุ้มครองสง่ เสริมสทิ ธเ์ิ สรีภาพของประชาชน 2) ลดการผูกขาดการใช้อานาจรฐั ตลอดจนขจดั การใช้อานาจอย่างไมเ่ ปน็ ธรรม 3) ทาใหก้ ารเมอื งมคี วามโปร่งใสมคี ุณธรรมจรยิ ธรรม 4) การทาให้ระบบตรวจสอบมีความเขม้ แข็งมีประสิทธภิ าพ สาหรับการยกรา่ งรัฐธรรมนูญ ไดแ้ บ่งเปน็ 3 กรอบกวา้ งๆคือ 1. บทบัญญตั ิเกี่ยวกับสิทธเิ สรีภาพ การมีสว่ นร่วมของประชาชน การกระจายอานาจใหแ้ ก่องค์กรปกครองทอ้ งถ่นิ 2. บทบัญญัตเิ กี่ยวขอ้ งกบั สถาบันการเมือง 3. บทบญั ญตั ิเกี่ยวกบั ศาล

20 องคก์ รอสิ ระ การตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ กล่าวได้ว่ารัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2550 เป็นประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมของประชาชนมากยิ่งกว่า รัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2540 รวมท้ังการบัญญัติเพ่ิมเติมในหลายประเด็น ที่ไม่เคยมีภายใต้รัฐธรรมนูญไทยใน อดีตทุกฉบับ โดยกาหนดเง่ือนไขของการต้องตราพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ให้เสร็จภายใน 1 ปี หรือ 2 ปี เพอ่ื ใหม้ ีผลบังคับใช้ในทางปฏบิ ัตดิ ว้ ย การเลอื กตง้ั หลังจากการบงั คบั ใชร้ ฐั ธรรมนูญ พ.ศ. 2550 ไดแ้ ก่ การเลือกตั้ง ส.ส. ในวนั ที่ 13 ธนั วาคม พ.ศ. 2550 การเลือกต้งั ส.ว. ในวนั ที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2551 การเลอื กตง้ั ส.ส. ในวนั ท่ี 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 สาหรบั ผดู้ ารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี ได้แก่ 1 นายสมัคร สุนทรเวช 29 มกราคมพ.ศ 2551 2 นายสมชาย วงศส์ วัสดิ์ 17 กนั ยายนพ.ศ 2551 3 นายอภิสิทธิ์ เวชชาชวี ะ 17 ธันวาคมพ.ศ 2551 4 นางสาวยิง่ ลักษณ์ ชินวตั ร 5 สงิ หาคมพ.ศ 2554 หมายเหตุ ภายใต้รัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2550 พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ ดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี ก่อนที่จะมกี ารเลอื กตัง้ ส.ส. 19. รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทยฉบบั ชั่วคราวพทุ ธศักราช 2557 เป็นรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 19 จัดร่างโดยคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) คณะผู้ยึดอานาจการปกครองหลังรัฐประหารเม่ือวันท่ี 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 ซ่ึงพระบาทสมเด็จพระ ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระราชทานพระบรมราชานุญาต และลงพระปรมาภิไธยเม่ือวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 โดยมีพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ในฐานะหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ เป็น ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกาเล่ม 131 ตอนท่ี 55 และมีผล บงั คับใช้เปน็ กฎหมายทันที แทนทร่ี ัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทยพทุ ธศักราช 2550 รัฐธรรมนูญฉบับน้ีเปิดทางให้สถาปนาสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เพ่ือใช้อานาจนิติบัญญัติคณะรัฐมนตรี ชั่วคราวเพื่อรับผิดชอบการบริหารราชการแผ่นดิน สภาปฏิรูปแห่งชาติ (และต่อมาสภาขับเคลื่อนการปฏิรูป ประเทศ) เพื่อดาเนินการปฏิรูปประเทศอย่างกว้างขวางและอนุมัติร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ และกรรมาธิการ ร่างรัฐธรรมนญู เพื่อรา่ งรฐั ธรรมนญู ฉบับใหม่

21 รฐั ธรรมนูญน้ีมี 48 มาตรา ถูกวิจารณ์อย่างกว้างขวางว่าไม่เป็นประชาธิปไตย และยิ่งเสริมอานาจของ ทหารโดยมาตรา 48 นิรโทษกรรมความผิดของทหารทั้งในอดีตและอนาคต และให้สิทธิคณะรักษาความสงบ แห่งชาติในการออกคาสั่งใดๆ เพื่อการปฏิรูปหรือความม่ันคงและคาส่ังเหล่าน้ันถือว่าชอบด้วยกฎหมาย โดย มาตรา 44 ของรัฐธรรมนูญฉบับน้ี ให้อานาจแก่หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ มีอานาจของฝ่ายบริหาร นิติบัญญัติ และตุลาการ ซึ่งคล้ายคลึงกับธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักรพุทธศักราช 2502 มาตรา 17 ที่ จอมพลสฤษด์ิ ธนะรัชต์ เป็นผู้ร่างทาให้ผู้เผด็จการส่ังการฆ่าคนนอกกระบวนการยุติธรรมได้ นักการเมืองจาก พรรคเพื่อไทย และพรรคประชาธิปัตยแ์ สดงความกังวลต่อมาตรานี้ และขอให้ คสช. ใชอ้ านาจในมาตราน้ีตาม ความจาเป็น วันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2559 มีการออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ ออกมาปรากฏว่าร่าง รฐั ธรรมนูญผ่านความเห็นชอบด้วยคะแนนเสยี ง 15,562,027 คะแนน ขณะท่ีคาถามวา่ ดว้ ยการกาหนดให้ ส.ส. และ ส.ว. เลือกนายกรัฐมนตรีภายในระยะเวลา 5 ปีแรกผ่านความเห็นชอบด้วยคะแนนเสียง 13,969,594 คะแนน ด้วยหลังจากน้ันคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญจะนาร่างรัฐธรรมนูญไปปรบั ปรุงในบางมาตรา และใน บทเฉพาะกาลเพอ่ื ให้เข้ากับคาถามเพอื่ นเป็นเวลา 30 วัน หลังจากน้ันเมื่อปรบั ปรุงรา่ งรัฐธรรมนูญเสร็จสิ้นแล้ว คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญจะทาการส่งร่างกลับคืนนายกรัฐมนตรีนาขึ้นทูลเกล้าเพ่ือให้ทรงลงพระ ปรมาภไิ ธย ในวันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2559 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงลงพระปรมาภิไธยและ พระราชทานรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับชั่วคราวพุทธศักราช 2557 ฉบับแก้ไขเพ่ิมเติมฉบับที่ 3 พ.ศ. 2559 ท่ีกาหนดให้มีการแต่งต้ังสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติเพิ่มเติมจากเดมิ 220 คนเป็น 250 คนโดย ได้มีการประกาศลงราชกิจจานุเบกษา เม่ือวันท่ี 1 กันยายน พ.ศ. 2559 และให้มีผลบังคับใช้ในวันที่ 2 กนั ยายน พ.ศ. 2559 หลังจากนั้นคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ (กรธ.) จะได้ทาการร่างพระราชบัญญัติประกอบ รัฐธรรมนูญที่สาคัญ 4 ฉบับ จากท้ังหมด 10 ฉบับ ได้แก่ร่าง พ.ร.ป. และว่าด้วยพรรคการเมือง ร่าง พรบว่า ด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ส.ส ร่าง พ.ร.ป. ว่าด้วยการได้มาซ่ึงสมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) และร่าง พ.ร.ป. ว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกต้ัง (กกต.) โดย สภาขับเคล่ือนการปฏิรูปประเทศ หรือ สปท. จะได้ส่ง ความคิดเห็นไปยังคณะ กรธ. เพ่ือประกอบร่าง พ.ร.ป. จากน้ันจะได้ส่งไปยัง สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) เพ่ือทาการพิจารณาร่าง พ.ร.ป. ท้ัง 4 ฉบับ โดยใช้เวลาทั้งส้ิน 8 เดือน หรือ 240 วัน จากนั้น สนช. จะได้ทา การพิจารณาร่าง พ.ร.ป. อีก 6 ฉบบั จนครบ 10 ฉบับ เพอื่ จะเข้าสูก่ ารเลือกต้ังในช่วงปลายปี พ.ศ. 2560 หรือ ต้นปี พ.ศ. 2561

22 หมายเหตุ ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 พลเอก ประยุทธ์ จนั ทรโ์ อชา ดารงตาแหนง่ นายกรัฐมนตรี บทสรุป รฐั ธรรมนูญซึ่งเป็นสถาบันการเมืองในการกาหนดระเบียบการเมืองการปกครองของประเทศ และเป็น กติกาทางการเมืองน้ัน แม้จะมีฐานะเป็นกฎหมาย โดยเฉพาะกฎหมายในการปกครองประเทศ ทาให้ รฐั ธรรมนูญเปน็ กฎหมายหลกั หรือกฎหมายแมบ่ ทของประเทศ ทาให้มีฐานะเป็นกฎหมายสงู สดุ ในการบังคับใช้ กฎหมายอ่ืนๆ ท่ีมีมาก่อนหรือการจัดทากฎหมายในอนาคตของประเทศก็จะต้องมีให้ขัดหรือแย้งกับ รัฐธรรมนูญ และด้วยเหตุที่รัฐธรรมนูญมีฐานะเป็นกฎหมายของประเทศในประเภทกฎหมายมหาชนกฎหมาย ทุกฉบับท่ีมีการประกาศใช้นั้นย่อมไม่มีกฎหมายใดท่ีสมบูรณ์แบบ และเมื่อสภาพสังคมเศรษฐกิจ และการเมือง ของประเทศเปลีย่ นแปลงไป รัฐธรรมนญู ซึ่งเป็นกฎหมายหลักในการปกครองประเทศก็ย่อมจะไม่สอดคล้องกับ การเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก ด้วยเหตุนี้ รัฐธรรมนูญเม่ือมีการใช้ไปในช่วงเวลาหน่ึงๆ ก็อาจจะไม่เหมาะสม สอดคล้องกับยุคสมัย จึงต้องมีการแก้ไขเพ่ิมเติมเพ่ือให้สอดคล้องและเหมาะสมกับสภาพสังคมเศรษฐกิจ และ การเมืองในช่วงน้ันๆ แม้ประเทศสหรัฐอเมริกาซ่ึงเป็นประเทศท่ีได้ช่ือว่าเป็นประเทศที่ใช้รัฐธรรมนูญแบบลาย ลักษณ์อักษรท่ียืนยาวนานมากท่ีสุดในโลกถึง 200 กว่าปี ก็มีการแก้ไขเพิ่มเติมเป็นระยะๆ เพราะฉะน้ันในทุก ประเภทแม้กระทั่งประเทศไทย รัฐธรรมนูญท่ีมีการประกาศใช้ก็ต้องมีการแก้ไขเพิ่มเติมเป็นธรรมดา ซึ่งการ แก้ไขเพ่ิมเติมรัฐธรรมนูญน้ันก็ควรต้องแก้ไขเพ่ิมเติมตามกระบวนการ ท่ีมีบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญแต่ละฉบับ น้ันๆ ไม่ควรต้องมีการแก้ไขเพ่ิมเติมนอกกรอบกระบวนการรัฐธรรมนูญ อันจะทาให้การเมืองการปกครอง ประเทศเกิดจราจล ความวุ่นวายถ้าทุกฝ่ายของผู้มีอานาจในบ้านเมือง ต่างก็เคารพกติการัฐธรรมนูญแล้ว การเมืองการปกครองของประเทศ ก็จะพัฒนาก้าวหน้านาความเจริญผาสุกสู่ประชาชน และประเทศชาติได้ใน ท่ีสดุ บรรณานกุ รม เกษม อุทยานิน 2516, รัฐศาสตร,์ กรุงเทพมหานคร : สานักพมิ พ์ไทยวฒั นพานชิ โกวิท วงศ์สุรวฒั น์ 2519, รัฐศาสตรเ์ บอื้ งต้น, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรสุ ภา

23 คณิน บุญสุวรรณ. 2519 อธิบายศพั ท์รฐั ธรรมนูญอังกฤษ - ไทย ไทย - อังกฤษ กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์ เดอื นตลุ าจากัด โครงการจัดทาสื่อเผยแพรเ่ กียรตคิ ุณนายปรดี ี พนมยงค.์ 2542. คณะราษฎรกับการอภิวัตนป์ ระชาธปิ ไตย 24 มถิ ุนายน. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์กงั หนั ปรดี ี พนมยงค์ 2542, คณะราษฎรกับการอภิวฒั น์ประชาธิปไตย 24 มิถนุ ายน ความเปน็ มาของศพั ท์ไทย \"ปฏวิ ัติ, รัฐประหาร, วิวฒั น,์ อภิวตั น\"์ (ผจู้ ดั พิมพ์ คณะกรรมการดาเนินงานโครงการ ฉลอง 100 ปี ชาตกาล นายปรีดี พนมยงค์ รัฐบรุ ษุ อาวุโส) กรุงเทพมหานคร : สานักพมิ พ์มูลนิธเิ ดก็ วิษณุ เครอื งาม 2530, กฎหมายรัฐธรรมนูญ, กรงุ เทพมหานคร : เรือนแกว้ การพมิ พ์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook