Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore (best practices) พลเมืองดี ตามวิถี 4 ส โรงเรียนบ้านบุ่งเขียว

(best practices) พลเมืองดี ตามวิถี 4 ส โรงเรียนบ้านบุ่งเขียว

Published by kruneng1996, 2023-06-27 03:16:53

Description: (best practices) พลเมืองดี ตามวิถี 4 ส โรงเรียนบ้านบุ่งเขียว

Search

Read the Text Version

ก คำนำ เอกสารฉบับนี้ จัดทำขึ้นเพื่อนำเสนอผลงานการประกวดโรงเรียนที่มวี ิธีปฏิบัตทิ ีเ่ ป็นเลิศ (Best Practice) การนอ้ มนำพระบรมราโชบายด้านการศึกษาของในหลวงรัชการท่ี 10 ส่กู ารปฏบิ ัติงานที่เป็นระบบ โดยบูรณาการ และเชื่อมโยงพระบรมราโชบายกับการจัดการเรียนการสอนในด้านการเป็นพลเมืองดี (กิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณะประโยชน์) ภายใต้กิจกรรม “พลเมืองดี ตามวิถี 4 ส” โดยใช้ 4 กิจกรรมหลัก เป็นตัวขับเคลื่อน การ พัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ดังนี้ 1. กิจกรรมสภานักเรียน 2. กิจกรรมสาธารณะประโยชน์ 3. กิจกรรมการส่งเสริมคุณธรรม 4. กิจกรรมสร้าง จิตสำนึกกตัญญู ซึ่งกิจกรรมเหล่านี้เป็นส่วนที่มีความสำคัญในการสนับสนุนและส่งผลสำเร็จ ที่เป็นเลิศชัดเจน สามารถเป็นต้นแบบได้ ขอขอบคุณ คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน โรงเรียนบ้านบุ่งเขียวและ ผู้เกี่ยวข้องที่ให้ ความช่วยเหลือ ให้คำปรึกษา แนะนำ ในการปฏิบัติงาน ขอขอบคุณทุกท่านที่ให้การสนับสนุนให้ กำลังใจและ ใหค้ วามร่วมมอื ในการปฏิบตั ิงานดว้ ยดีตลอดมา ขอขอบพระคณุ มา ณ โอกาสนี้ โรงเรยี นบา้ นบ้านบุ่งเขียว

สารบัญ ข คำนำ หนา้ สารบญั ก การจัดทำผลงาน/นวตั กรรมการปฏบิ ตั ทิ เ่ี ป็นเลิศ (Best Practice) ข 1) ความสำคัญของผลงาน/นวตั กรรมท่ีเปน็ เลศิ (Best Practice) 1 2) จดุ ประสงค์และเป้าหมายของผลงาน 2 3) กระบวนการผลิตผลงานหรอื ขน้ั ตอนการดำเนินงาน 2 4) ผลการดำเนนิ การ/ผลสมั ฤทธิ/์ ประโยชนท์ ีไ่ ดร้ บั 3 5) ปัจจัยความสำเร็จ 8 6) บทเรียนทไ่ี ดร้ บั (Lesson Learned) 9 7) การเผยแพร่/การไดร้ บั การยอมรับ 9 8) ขยายผลและการต่อยอดผลงาน/นวัตกรรม 9 9) ข้อเสนอแนะในการนำผลงาน/นวตั กรรมไปใช้ 9 ภาคผนวก 10 11

1 การจัดทำผลงาน/นวตั กรรมการปฏิบตั ิท่ีเป็นเลิศ (Best Practice) ชื่อผลงาน “พลเมืองดี ตามวิถี 4 ส ” ด้าน จติ อาสาดว้ ยหัวใจ : การเปน็ พลเมอื งดี o วถิ คี นดี : มีทัศนคตทิ ี่ถูกต้องตอ่ บา้ นเมอื ง o มคี ุณธรรมนำชวี ติ : มพี ้ืนฐานชีวิตท่ีมนั่ คง - มีคุณธรรม o หน่ึงนกั เรยี น หนง่ึ อาชพี : มงี านทำ - มอี าชีพ o จิตอาสาดว้ ยหัวใจ : การเป็นพลเมอื งดี ชอื่ สถานศึกษา โรงเรยี นบา้ นบุ่งเขียว ขนาดโรงเรยี น □ ขนาดใหญ/่ ขนาดใหญพ่ ิเศษ ✓ ขนาดกลาง □ ขนาดเลก็ สงั กัด สำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาอำนาจเจริญ โทรศพั ท์ 086 882 7015 อีเมล [email protected]

2 รายละเอยี ดเอกสารการนำเสนอผลงาน/นวตั กรรมการปฏิบัตทิ ีเ่ ปน็ เลิศ (Best Practice ) 1. ความสำคัญของผลงาน/นวัตกรรมการปฏบิ ัติที่เป็นเลศิ (Best Practice) ท่ามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลงในยุคโลกาภิวัตน์ทำให้สังคมไทยต้องเผชิญกับปัญหาหลายด้าน ที่เกิด จากปญั หาดา้ นจิตใจของคนในสงั คมทเ่ี สอื่ มลง ทัง้ ทางดา้ นศีลธรรม วฒั นธรรม การเมอื ง เศรษฐกิจและสังคม ผู้คน เห็นแก่ตวั เอารดั เอาเปรยี บกันมากขึ้น ก่อให้เกิดปัญหาท่สี ำคญั ที่จำเป็นต้องเร่งแก้ไข ซ่ึงสว่ นใหญ่มีสาเหตุ มาจาก ปัญหาด้านคุณธรรม จริยธรรมที่สั่งสมโดยไม่รู้ตัวตั้งแต่วัยเยาว์ จึงทำให้หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องกับ การ สง่ เสรมิ การศึกษาได้ให้ความสำคัญ ในการพัฒนาสถานศึกษาโดยต้องมุง่ สรา้ งพนื้ ฐานใหผ้ ู้เรียนเป็นคนดี มีจิตอาสา เพราะถ้าผู้เรียนเป็นคนดมี ีจิตอาสาต้ังแต่เด็ก เขาก็จะคิดดี ทำดีมีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง สร้างประโยชนใ์ ห้ สังคมและอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข พระบรมราโชบายด้านการศึกษาของ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลง กรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงมกี ระแสรับส่ังให้จัดการศึกษาโดยต้องมุง่ สรา้ งพ้ืนฐานให้แก่ผูเ้ รียน ใน 4 เร่ือง คือ 1. ทัศนคติที่ถูกต้อง 2. พื้นฐานชีวิตที่มั่นคงเข้มแข็ง 3. มีอาชีพมีงานทำและ 4. เป็นพลเมืองดี ดังนั้น หน่วยงาน ทางการศึกษาจึงได้กำหนดนโยบาย แผน หลักสูตร ล้วนมุ่งที่จะเสริมสร้างผู้เรียนให้เป็นคนดีและเป็นคนท่ี มีจิต สาธารณะให้เกดิ ขึน้ ในสังคมไทย จากการสำรวจสภาพปัญหาที่ต้องเร่งหาแนวทางเพื่อพัฒนาให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของยุคโลกาภิวัตน์ และเพื่อสนองต่อพระบรมราโชบายด้านการศึกษาของในหลวงรัชกาลที่ 10 นั้น พบว่านักเรียนโรงเรียนบ้านบุ่ง เขียว ยังขาดความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อสังคม ขาดการมีจิตสาธารณะ และการมีวินัยต่อตนเอง เช่น อาสา ช่วยเหลืองานคุณครู ช่วยเหลืองาน โรงเรียน หรือช่วยเหลืองานในชุมชน นักเรียนยังขาดความมีระเบียบวินัย คือ ความรบั ผดิ ชอบต่อหน้าที่ เช่น ไมช่ ว่ ยกนั ทำความสะอาดเขตพืน้ ทรี่ บั ผิดชอบบริเวณโรงเรียนและหอ้ งเรยี น เปน็ ต้น ดังนั้น โรงเรียนบ้านบุ่งเขียวจึงได้หาแนวทางในการแก้ไขปัญหาและส่งเสริมการมีจิตสาธารณะของ นกั เรียน ผา่ นกระบวนการจัดการเรยี นการสอน ในรูปแบบการบริหารจัดการสร้างคนดี มีจติ สาธารณะดว้ ยกจิ กรรม “พลเมืองดี ตามวิถี 4 ส” ซึ่งเป็นนวัตกรรมหลักในการพัฒนาผู้เรียนและกิจกรรมอื่น ๆ เพื่อช่วยในการพัฒนา ความมีจิตสาธารณะของผู้เรียน ภายใต้บริบทของสถานศึกษาและกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ด้วย TONMOK Model โดยมเี ป้าหมายท่ีนักเรียนเพื่อพฒั นาให้มีทัศนคติ วสิ ยั ทัศนเ์ ชิงบวก ร่วมคดิ ร่วมทำ ส่งผล ให้ การบริหารจัดการด้านการส่งเสริมความมีจิตสาธารณะของผู้เรียน เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลเป็นไป ตามเป้าประสงค์ของโรงเรยี นสืบไป 2. จุดประสงคแ์ ละเป้าหมายของผลงาน/นวตั กรรมการปฏบิ ัติท่เี ป็นเลศิ (Best Practice) 2.1 เพื่อให้นักเรียนเป็นผู้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ 3 ประการ ตามคุณลักษณะที่พึงประสงค์หลักสูตร แกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ดังนี้ 2.1.1 ความมรี ะเบียบวินยั 2.1.2 ม่งุ มัน่ ในการทำงาน 2.1.3 มจี ิตสาธารณะ 2.2 เพ่ือใหน้ กั เรียนมีค่านยิ มที่ดีด้วยการปลูกฝงั ความมีจิตสาธารณะ โดยเน้นให้นกั เรียนตระหนักรู้ เขา้ ใจ และคิดอย่างมีเหตุผล ซึมซับคุณค่าความดี สร้างความรู้สึกรับผิดชอบช่ัวดี ภูมิใจในการทำความดี โดยเริ่มจากการ ฝกึ ใหน้ ักเรียนมีคณุ ธรรม มวี ินยั ในตนเอง

3 2.3 เพื่อสง่ เสริมให้ครูได้พัฒนานวัตกรรมในการส่งเสริมคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนผ่านการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ เปา้ หมายเชงิ ปรมิ าณ 1) นักเรียนโรงเรียนบ้านบุ่งเขียว ร้อยละ 75 มีจิตสำนึกในการบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อ ครอบครวั โรงเรยี น ชุมชน สังคมและประเทศชาติ 2) นักเรียนโรงเรียนบ้านบุ่งเขียว ร้อยละ 75 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการจัดกิจกรรมเพ่ือ สงั คมและ สาธารณประโยชน์ตามความถนดั และความสนใจในลักษณะอาสาสมคั ร 3) นักเรียนโรงเรียนบ้านบุ่งเขียว ร้อยละ 75 มีความรู้ คุณธรรม จริยธรรม ตามคุณลักษณะอัน พงึ ประสงค์ ของหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน 3 ขอ้ 4) นักเรยี นโรงเรยี นบ้านบุ่งเขียว รอ้ ยละ 75 มจี ิตสาธารณะและใชเ้ วลาวา่ งให้เป็นประโยชน์ เปา้ หมายเชิงคุณภาพ 1) ผู้เรียนมีจิตสำนึกในการบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อครอบครัว โรงเรียน ชุมชน สังคมและ ประเทศชาติ 2) ผู้เรียนมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณ ประโยชน์ตาม ความถนัดและ ความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร 3) ผูเ้ รียนมีความรู้ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ตามคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ 4) ผูเ้ รยี นมีจิตสาธารณะและใช้เวลาว่างใหเ้ ป็นประโยชน์ 3. กระบวนการผลิตผลงานหรอื ขั้นตอนการดาํ เนินงาน โรงเรียนบ้านบุ่งเขยี ว ได้นำกระบวนการจัดการความรู้มาบูรณาการและวธิ ีการได้มาขององค์ความรู้ ได้แก่ การประชุม การพบปะพูดคุย การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างกัน ซึ่งในการพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ของผู้เรียน โรงเรียนบ้านบุ่งเขียวได้นำ 4 กิจกรรมหลักมาพัฒนาผู้เรียน ได้แก่ 1. กิจกรรมสภานักเรียน 2. กิจกรรมสาธารณะประโยชน์ 3. กิจกรรมการสง่ เสริมคุณธรรม 4. กิจกรรมสร้างจิตสำนกึ กตัญญู ซงึ่ มีแนวทางใน การดำเนินงานดังแผนภาพในการบริหารจัดการและการพัฒนาคุณลักษะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยใช้รูปแบบ TONMOK MODEL เป็นกรอบในการ ดำเนินการและใช้วงจรคุณภาพ PDCA เพื่อตรวจสอบคุณภาพการดำเนินงาน ซึ่งมีเป้าหมายสำคัญคือการพัฒนา คณุ ภาพผู้เรยี น ดงั นี้

4 รปู แบบการดำเนินงานกิจกรรม “พลเมืองดี ตามวถิ ี 4 ส” ดว้ ย TONMOK MODEL โรงเรียนบ้านบุ่งเขียวมีการริเริ่มพัฒนาสถานศึกษาและคุณภาพผู้เรียนมีแผนปฏิบัติการสอดคล้องกับ มาตรฐานภาระงานโดยคำนึงถึงประโยชน์และความคมุ้ ค่าและมีการนำไปปฏิบัตจิ ึงบรรลุตามเป้าหมายมีการพัฒนา นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้และเผยแพร่ให้แก่สถานศึกษาใกล้เคยี งโดยใช้ TONMOK Model (ต้นโมก โมเดล) ใน การบรหิ ารงาน ซึง่ มีองคป์ ระกอบดังนี้ T : Team Work กระบวนการทำงานแบบมีส่วนร่วม และเป็นทีมเพื่อพัฒนาองค์กรให้สำเร็จ ตามเป้าหมาย O : Organizer มีการจดั ระบบโครงสรา้ งองคก์ ร N : Network ส่งเสรมิ การทำงานเป็นทีมและใช้กระบวนการ PLC M : Moral นำหลักคุณธรรมมาใช้ในการบรหิ ารงาน O : Opportunity สร้างโอกาสทางการศึกษาให้กับผเู้ รยี น K : Knowledge สง่ เสรมิ ความรู้เพ่ือการศึกษา

5 1. T : Team Work (ทีมเวริ ค์ ) คือ การทำงานเปน็ ทมี ที่คนจำนวน 2 คนข้นึ ไป มวี ตั ถปุ ระสงค์ที่จะทำงาน อย่างใดอย่างหนึ่งให้สำเร็จ จึงมาร่วมมือกันทำงาน โดยที่หน้าที่หรือลักษณะงานของแต่ละคนอาจไม่เหมือนกัน เพียงแต่มีความเกยี่ วเน่ืองกันในทางใดทางหนึง่ สนับสนนุ เก้ือหนุนซึ่งกนั และกัน แต่ละงานคอื ช้ินส่วนที่เป็นจ๊ิกซอว์ เติมเต็มให้แก่งานชิ้นเดียวกัน เมื่องานของแต่ละคนสำเร็จลง ก็หมายถึงงานที่ตั้งวัตถุประสงค์ไว้แต่ต้นสำเร็จ สมบูรณ์ 2. O : Organizer มีการจัดระบบโครงสร้างองค์กร การจัดการที่มีองค์ประกอบสำคัญ คือ ต้องบริหารได้ และต้องจัดการเป็น โดยเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง ที่สามารถบริหารจัดการเวลา คน ความรู้ ทักษะ บรรยากาศ และบริหารจัดการกับงานและอปุ สรรคทอ่ี ยูต่ รงหนา้ ได้ 3. N : Network สร้างเครือข่าย โรงเรียนมีการสร้างเครือข่ายกับชุมชน เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และ ร่วมกันขับเคลื่อนการมีจิตอาสา ทำเพื่อสังคมโดยไม่หวังสิ่งตอบแทน อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมาก ย่งิ ข้ึน รวมไปถึงการรว่ มมือกนั กับหนว่ ยงานภาครัฐ และภาคเอกชนท่ีมสี ว่ นร่วมในการขับเคล่ือนกิจกรรม พลเมือง ดี ตามวถิ ี 4 ส อาทิ โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตำบลโคกก่ง สาธารณสุขอำเภอชานมุ าน อบต.โคกกง่ เป็นต้น 4. M : Moral นำหลักคุณธรรมมาใช้ในการบริหารงาน ตามหลกั คณุ ธรรมหรือทางศีลธรรม คือพฤติกรรม ท่ีดแี ละการรผู้ ดิ ชอบช่วั ดี 5. O : Opportunity สรา้ งโอกาสทางการศึกษาให้กับผูเ้ รียน อยา่ งเหมาะสม จัดรปู แบบการจัดการศึกษา ตามสถานการณใ์ ห้เหมาะกับผเู้ รียน ส่งเสริมความหลากหลายของแค่ละบุคคล 6. K : Knowledge ส่งเสริมความรู้เพื่อการศึกษา แลกเปลี่ยนเรียนรู้พฤติกรรมการกระทำหรือการ แสดงออกซึ่ง ค่านิยมอันพึงประสงค์ มีคุณธรรม จริยธรรม โดยการส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ลงมอื ปฏิบัติจริง มุ่งเน้นให้ ผู้เรียนมีทักษะ ชวี ิตในดา้ นตา่ ง ๆ เช่น การจัดกจิ กรรมการเข้าค่ายคุณธรรม การจัดกิจกรรมใหค้ วามรู้เร่ืองจิตอาสา มกี ารบรู ณาการ การเรยี นการสอนในชนั้ เรียน และส่งเสรมิ ใหน้ ักเรียนทำกิจกรรมโครงงานท่ีเก่ยี วข้องกับ กิจกรรม เพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ การดำเนนิ งานกจิ กรรม “พลเมอื งดี ตามวถิ ี 4 ส” ด้วย TONMOK MODEL โดยใช้ 4 กิจกรรมหลัก เป็น ตัวขับเคลื่อนการพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 ดังน้ี 1. กิจกรรมสภานักเรียน เป็นกิจกรรมที่มุ่งเน้นให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการร่วมคิด ร่วมพัฒนา ร่วมแสดงออก ร่วมรับผิดชอบ ร่วมขับเคลื่อนโรงเรียนในรูปแบบประชาธิปไตยและมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้ ซงึ่ คณะกรรมการสภานักเรยี นถือเปน็ กลไกสำคญั ในการดำเนนิ กิจกรรม “พลเมืองดี ตามวถิ ี 4 ส” โดยดำเนินการ ทำความสะอาดในเขตพื้นท่ี รับผิดชอบของนักเรียนแต่ละชั้นก่อนทำกิจกรรมหน้าเสาธง ซึ่งคณะกรรมการสภา นักเรียนมีหน้าที่ตรวจความ เรียบร้อยของการทำงานของแต่ละชั้น ดูแลความเรียบร้อยการเข้าแถวเคารพธงชาติ ดูแลความเรยี บรอ้ ยการแตง่ กาย หลังจากน้ันบันทกึ และนำเสนอผลหลงั จากเสรจ็ กจิ กรรมหนา้ เสาธงให้คณะครูและ นักเรียนทราบ มีการมอบรางวัล และเกยี รติบตั รในแต่ละเดือน เพือ่ เปน็ ขวญั และกำลังใจให้แก่ชั้นเรียนท่ีทำความดี

6 มีความรับผิดชอบในการทำ กิจกรรมเพื่อสังคมและส่วนรวม นักเรียนมีระเบียบวินัย อีกทั้งยังเป็นการกระตุ้นให้ นักเรยี นมีความม่งุ มั่น ตง้ั ใจ ในการทำงาน และรว่ มกจิ กรรมจติ อาสาด้วยความสมัครใจ 2. กิจกรรมสาธารณะประโยชน์ เป็นกิจกรรมท่ีส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อครอบครวั ชุมชน สังคม และประเทศชาติในลักษณะอาสาสมัครเพื่อช่วยขัดเกลาจิตใจของผู้เรียนให้มีความ เมตตากรุ ณา มี ความเสียสละ และมีจิตสาธารณะเพื่อช่วยสร้างสรรค์สังคมให้อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข กิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์เป็นกิจกรรมที่ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถ พัฒนาตนเองตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ โดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสมอง เน้นให้ความสำคัญทั้งความรู้ และคุณธรรม จริยธรรม จัดกิจกรรมโดยให้ผู้เรียนคิดสร้างสรรค์ออกแบบกิจกรรมเพื่อสาธารณประโยชน์ อย่างหลากหลาย รูปแบบ เพื่อแสดงถึงความรับผิดชอบต่อสังคมในลักษณะจิตอาสา เช่น กิจกรรม Big Cleaning Day ในโรงเรียน กจิ กรรมจิตอาสาเก็บขยะตามสถานท่สี ำคัญไม่วา่ จะเปน็ ในชุมชน ในวดั และสถานท่ีราชการตา่ งๆ เปน็ ตน้ 3. กจิ กรรมการส่งเสริมคุณธรรม โดยใช้วิธกี ารปฏิบัติ ทเี่ ป็นเลศิ (Best Practice) เพ่อื เปน็ กิจกรรมเสริม และขบั เคลอื่ นกจิ กรรม “พลเมอื งดี ตามวถิ ี 4 ส” ให้ ประสบผลสำเร็จตามเปา้ หมายทไี่ ด้วางไวโ้ ดยใช้วิธีการปฏิบัติ ทเี่ ป็นเลศิ ดงั นี้ 1) กิจกรรมในวันสำคญั เช่น วนั ต่อต้านยาเสพติด วันสำคญั ทาพระพุทธศาสนา 2) กิจกรรมสง่ เสรมิ ความปลอดภัยในสถานศึกษา 3) กจิ กรรมลูกเสือ 4) กิจกรรมสวดมนตไ์ หว้พระทกุ วันศกุ ร์ 5) กิจกรรมโครงการสถานศึกษาสขี าว ปลอดยาเสพติดและอบายมขุ 4. กิจกรรมสร้างจติ สำนึกกตัญญู เปน็ กจิ กรรมที่บ่มเพาะสภาพจติ ทร่ี ับรูค้ วามดี และยินดีทีจ่ ะกระทำความ ดีโดยศรัทธามั่นใจ คนมีกตัญญูจึงไม่ลบล้างทำลายความดี และไม่ลบหลู่ผู้ที่ได้ทำความดีก่อน หากเพียรพยายาม รักษาความดที ั้งปวงไวใ้ ห้เป็นพืน้ ฐานในความประพฤติปฏิบัติทุกอย่างของตนเอง เมื่อเต็มใจและจงใจกระทำทกุ สิง่ ทุกอย่างด้วยความดีดังนี้ ก็ย่อมมีแต่ความเจริญมั่นคงและรุ่งเรืองก้าวหน้ายิ่งๆขึ้น จึงอาจกล่าวได้ว่า “ ความ กตัญญู” เป็นคุณสมบัติอันสำคัญยิ่งสำหรับนักพัฒนาและผู้ปรารถนาความเจริญก้าวหน้าทุกคน “ ความกตัญญู” ต่อบุคคลและสิ่งที่มีบุญคุณต่อเรา คือ บิดามารดา ครูอาจารย์ ญาติพี่น้อง และมิตรสหายที่ดี ธรรมชาติและ สิง่ แวดลอ้ มและโรงเรียนตลอดไป โดยใชก้ จิ กรรมท่ีหลากหลายสอดแทรกคุณธรรมน้ีไม่ว่าจะเปน็ กิจกรรมวันสำคัญ ต่างๆ วนั แม่ วนั พ่อ วนั ลกู เสอื โลก เป็นตน้ โรงเรียนบ้านบุ่งเขียว ได้นำวงจรหรือแนวคิดการบริหารงานคุณภาพ PDCA มาใช้เป็นกรอบในการ ตรวจสอบ และพฒั นาคณุ ภาพการจดั การเรยี นรู้ ดงั นี้ 1. P (Plan) การวางแผน 1) ศึกษาสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นร่วมกับคณะครูและคณะกรรมการสภานักเรียน ร่วมกันอภิปราย คิด วิเคราะห์ ดูสภาพปัญหาในปัจจบุ ันซึ่งมผี ลต่อสภาพสังคม และตัวนักเรียนเอง เช่น ปัญหาการทิ้งขยะ ไม่เป็นท่ี การละเลยในการทำความสะอาดพื้นที่รับผิดชอบของนักเรียนในแต่ละชั้น นักเรียนมาโรงเรียน สายไม่ทันเวลา ทำความสะอาดเขตรับผิดชอบในตอนเช้าโดยภาพรวมแล้วทำให้นักเรียนขาดความ รับผิดชอบและมลี ักษณะ ทไ่ี ม่พึงประสงค์

7 2) สร้างความตระหนกั ความเขา้ ใจ ใหน้ กั เรียนเห็นความสำคัญของการดูแลพ้ืนทรี่ บั ผดิ ชอบ การ แต่งกายให้ถูกระเบียบ การตรงต่อเวลาและไม่เอาเปรียบเพื่อนๆ ในการทำความสะอาดและมีความ รบั ผดิ ชอบ ตัง้ ใจ ทำงานที่ครูไดม้ อบหมาย 3) วางแผนการทำงานอย่างเป็นระบบ แต่งตั้งผู้รับผิดกิจกรรม โดยเฉพาะคณะกรรมการสภา นักเรียน จัดทำป้ายเขตพื้นที่รับผิดชอบเพื่อให้นักเรียนรู้เขตรับผิดชอบของตน ประสานงานกับคุณครูใน การหา เครื่องมือในการทำความสะอาดและการจัดกิจกรรมประกวดเขตพื้น ที่รับผิดชอบของนักเรียนแต่ ชนั้ โดยคณะกรรมการสภานักเรียนเป็นผู้ประเมินการทำความสะอาดเขตรบั ผิดชอบในแต่ละวัน ช่วงเวลา ก่อนเขา้ แถว เคารพธงชาตแิ ละประกาศคะแนนในกิจกรรมหน้าเสา คอยตรวจตราความเรียบร้อยให้เพ่ือน นักเรียนและน้อง ๆ เช่น แต่งตัวถูกระเบียบ การมาโรงเรียนแต่เช้า การทิ้งขยะให้เป็นที่และรักษาความ สะอาดอยเู่ สมอ 2. D (Do) การดำเนินกจิ กรรม กิจกรรมสภานักเรียน ดำเนินการช่วยเหลือคณะครูและบุคลากรทางการศึกษาในการดูแลเขต พื้นท่ี รับผิดชอบในการทำความสะอาดในตอนเช้าก่อนกิจกรรมหน้าเสาธงว่าเป็นไปด้วยความเรียบร้อย หรือจดบันทึก และสังเกตการทำกิจกรรมของนักเรียนในแต่ละชั้นพร้อมทั้งรายงานผลการทำกิจกรรมใน แตล่ ะวัน เพอื่ ให้เกดิ การแข่งขนั ในการทำความสะอาดและสร้างแรงจูงใจในการทำความดีมอบรางวัลและ เกยี รติบัตรให้ชัน้ เรียนทม่ี ี จติ อาสา รบั ผดิ ชอบ มคี วามมงุ่ ม่ันในการทำงานเป็นประจำทกุ เดือน กิจกรรมสาธารณะประโยชน์ เป็นการดำเนินกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนบำเพ็ญตนให้เป็น ประโยชนต์ อ่ ครอบครวั ชุมชน สงั คม และประเทศชาติผา่ นหลากหลายกจิ กรรมในลกั ษณะอาสาสมัครเพื่อ ช่วยขัดเกลาจิตใจของผู้เรียนให้มีความเมตตากรุณา มีความเสียสละ และมีจิตสาธารณะเพื่อช่วย สรา้ งสรรคส์ งั คมให้อยรู่ ่วมกันอยา่ งมคี วามสุข กิจกรรมการส่งเสริมคุณธรรม เป็นการกำเนินกิจกรรมโดยใช้วิธีการปฏิบัติ ที่เป็นเลิศ (Best Practice) เพื่อเป็นกิจกรรมเสริมและขับเคลื่อนกิจกรรม “พลเมืองดี ตามวิถี 4 ส” ให้ ประสบผลสำเร็จ ตามเป้าหมายท่ีไดว้ างไวโ้ ดยใช้วิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ ในกิจกรรมท่ีหลากหลาย เช่น กจิ กรรมในวันสำคัญ เช่น วันต่อต้านยาเสพติด วันสำคัญทาพระพุทธศาสนา กิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัยในสถานศึกษา กจิ กรรมลกู เสือ กิจกรรมสวดมนตไ์ หว้พระทุกวนั ศุกร์ กิจกรรมโครงการสถานศกึ ษาสีขาว ปลอดยาเสพติด และอบายมขุ เป็นตน้ กจิ กรรมสร้างจิตสำนึกกตัญญู เป็นการดำเนินกิจกรรมท่ีบ่มเพาะจิตสำนึกรูค้ วามดี และยินดีท่ีจะ กระทำความดีโดยศรัทธาม่นั ใจ ผ่านกิจกรรมตา่ งๆ ทโี่ รงเรียนดำเนินการอย่างหลากหลาย ประพฤตปิ ฏิบัติ ทุกอย่างอย่างเต็มใจและจงใจกระทำทุกสิ่งทุกอย่างด้วยความดี ต่อบุคคลและสิ่งที่มีบุญคุณต่อเรา คือ บดิ ามารดา ครอู าจารย์ ญาตพิ นี่ ้อง และมติ รสหายทดี่ ี ธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมและโรงเรียน

8 3. C (Check) การตรวจสอบ 1) สนบั สนุนส่งเสริมนักเรียน ให้มคี วามรับผดิ ชอบตอ่ ตนเองต่อสังคม มีจติ สาธารณะ มีความตรง ต่อเวลา ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซ่ือสัตย์และความมวี ินัยมุ่งมันในการทำงานที่ครูมอบหมาย โดยเฉพาะใน เขตพ้นื ทรี่ บั ผดิ ชอบ ของนักเรียนแต่ละชัน้ ที่ครูกำหนด 2) กำกับติดตาม ดูแล ตรวจสอบและประเมินผล โดยยึดกฎระเบียบ ข้อตกลงในห้องเรียน ให้ นักเรียน ช่วยกันตรวจตราดูความเรียบร้อย โดยครูที่ปรึกษาคอยให้คำแนะนำ คอยให้กำลังใจและชื่นชม นกั เรยี น ท่ปี ฏิบตั ไิ ด้ ถูกต้องและเป็นกจิ วัตร มุ่งใหเ้ กดิ ผลสัมฤทธโ์ิ ดยใชก้ ารตรวจสอบผลการปฏิบัตติ นตาม กจิ กรรมทแ่ี ต่ละคนไดร้ บั มอบหมาย ประสบผลสำเรจ็ มากน้อยเพยี งใด 3) หัวหน้าห้อง/สภานักเรียน ทำสรุปกิจกรรมส่งครูผู้รบั ผิดชอบ/ครทู ป่ี รกึ ษา หลงั ดำเนินกจิ กรรม เสรจ็ สิ้น ในแต่ละภาคเรยี น 4. A (Act) การปรับปรุงการดำเนนิ งาน วิเคราะห์ผลสำเร็จของการดำเนินงานกิจกรรม “พลเมืองดี ตามวิถี 4 ส” นำเสนออัตลักษณ์ ที่ เกิดขึ้นกับนักเรียน ที่สอดคล้องกับคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 บรรลุผลตามวัตถปุ ระสงคห์ รอื ไม่ พรอ้ มปรบั ปรงุ วิธีการดำเนนิ งาน 4. ผลการดำเนินการ/ผลสัมฤทธิ/์ ประโยชนท์ ไ่ี ด้รบั 4.1 ผลที่เกิดขึ้นกับนักเรียน นักเรียนได้รับการพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์จากรูปแบบกิจกรรม เพ่อื ให้ เกดิ คุณลกั ษณะท่ีดมี ีวินยั มงุ่ ม่ันในการทำงานและมจี ติ สาธารณะ 4.2 ผลที่เกิดขนึ้ กบั ครู ครูมรี ะเบยี บวินยั ตามวนิ ยั ขา้ ราชการ ประพฤติปฏบิ ัตติ นอย่ใู นความดี ทำงาน เต็ม เวลา และตรงเวลา อุทิศตนต่อส่วนรวมเสียสละเวลาเพื่อการทำงานอย่างเต็มที่ มีความพอเพียงใช้จ่าย อย่าง เหมาะสมตามฐานะ มีความสุภาพ ยิ้มไหว้ทักทายกับผู้อื่น พูดจาไพเราะ แต่งกายสุภาพเรียบร้อย มีมารยาท ชว่ ยเหลือกิจกรรมของ ชุมชน และเป็นแบบอยา่ งที่ดีใหก้ บั นกั เรยี น 4.3 ผลทีเ่ กิดขน้ึ กับโรงเรียน ผลการดำเนินงานดา้ นการพัฒนาคณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ของผู้เรยี น เพือ่ ให้ ผู้เรียนมีจิตสาธารณะมีทิศทางที่ชัดเจน จนเกิดเป็นแนวทางการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best practice) นักเรียน ครู ผู้ปกครอง และชุมชน มีความพงึ พอใจต่อระบบการบรหิ ารจัดการพัฒนาพฤตกิ รรม มีทักษะการคิดดว้ ยกิจกรรม ที่ หลากหลาย ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเชิงบวกในโรงเรียน ส่งผลต่อความเชื่อมั่นและความไว้วางใจ ตอ่ ชุมชนในการส่งบุตรหลานเข้าเรียน

9 5. ปจั จยั ความสำเร็จ 5.1 มีวัฒนธรรมขององค์กรที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศ และมีขั้นตอนการพัฒนาคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ของ ผู้เรยี นดว้ ย TONMOK Model ซึ่งทกุ ภาคส่วนมสี ่วนร่วมในการพัฒนาผูเ้ รียน 5.2 การสื่อสารสร้างความเข้าใจอันดี ทั้งในฝ่ายบริหาร ครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน ในรูปแบบ การประชุม การรับฟงั ขอ้ เสนอ เป็นตน้ 5.3 ครมู ีวธิ ีปฏบิ ตั ทิ ีเ่ ปน็ เลศิ (Best Practice) อย่างหลากหลายและมีกจิ กรรมในการพฒั นาผ้เู รียน ซึ่งเป็น อีกหน่งึ กลไกสำคัญในการพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 6. บทเรยี นทไี่ ดร้ บั (Lesson Learned) จากการดำเนินงานการพฒั นาโรงเรยี นด้วยหลักการเข้าใจ เขา้ ถึงและพัฒนา โดยอาศัยกระบวนการ ให้ทุก คนมีสว่ นรว่ มคิด ร่วมทำ ร่วมพฒั นา ตามรปู แบบการพัฒนาคณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ มีทกั ษะการคิด ดว้ ยกิจกรรม “พลเมืองดี ตามวถิ ี 4 ส” จนเกิดเป็นวฒั นธรรมในโรงเรยี นและผเู้ รียนมคี ุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ ตามวัตถปุ ระสงค์ ทีว่ างไว้ ดงั นี้ 6.1 ผู้เรียนมีจิตสำนึกในการบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อครอบครัว โรงเรียน ชุมชน สังคมและ ประเทศชาติ 6.2 ผู้เรียนมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ตามความถนัด และ ความสนใจในลกั ษณะอาสาสมัคร 6.3 ผเู้ รยี นมีความรู้ คุณธรรม จรยิ ธรรม ตามคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 6.4 ผู้เรียนมจี ติ สาธารณะและใชเ้ วลาว่างให้เป็นประโยชน์ ซึ่งอาศัยการพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ด้วยรูปแบบ TONMOK Model เพื่อให้การดำเนินงาน เป็นไปด้วยความเรียบร้อย นอกจากนี้ในส่วนของนักเรียนยังได้จัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการคิด โดยความรู้และ เจตคติที่นักเรียนได้รับเกิดจากการลงมือปฏิบัติในกิจกรรมจิตอาสาต่าง ๆ เช่น การทำความสะอาดชั้นเรียน ทำ ความ สะอาดรอบบริเวณโรงเรยี น ฯลฯ ซึ่งส่งผลใหเ้ กดิ พฤตกิ รรมทค่ี งทนและส่งผลต่อความย่ังยืน 7. การเผยแพร่/การได้รับการยอมรับ โรงเรียนมีการเผยแพร่รูปแบบการบริหารจัดการสร้างคนดี มีทักษะการคิดด้วยกิจกรรม “พลเมืองดี ตาม วิถี 4 ส” ด้วยวิธีการที่หลากหลาย อาทิ การจัดทำรายงาน การเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ของโรงเรียน การเผยแพร่วิธี ปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ผ่านทางเพจ Facebook ของโรงเรียน การจัดประชุมสัมมนา/การจัดกิจกรรม ร่วมกันของโรงเรยี นในกลมุ่ เครอื ข่ายสถานศกึ ษา เป็นตน้ 8. การขยายผลต่อยอดสู่ความย่งั ยนื ผลสำเร็จของการดำเนินงานกิจกรรม “พลเมืองดี ตามวิถี 4 ส” เป็นกิจกรรมที่ต้องดำเนินการ อย่าง ต่อเนื่องทุกปีการศึกษา เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากกิจกรรมต่าง ๆ ที่ครูพาทำ ครูเป็นต้นแบบในการทำ กิจกรรม โดยบรรจกุ ิจกรรม/โครงการในแผนปฏบิ ตั ิการประจำปขี องโรงเรยี นเพอื่ ขยายผลตอ่ ยอดสคู่ วามยั่งยนื

10 9. ข้อเสนอแนะในการนำผลงาน/นวตั กรรมไปใช้ 9.1 ครูผู้สอนที่ประสงค์จะนำรูปแบบวิธีการปฏิบัติไปใช้ควรศึกษารายละเอียดองค์ประกอบต่าง ๆ ของ รูปแบบกิจกรรม รวมทั้งบทบาทครูและบทบาทนักเรียนให้เข้าใจกอ่ นการนำไปใช้ในการจัดการเรยี นการสอน เพ่ือ เปน็ แนวปฏิบัติในการพฒั นาคุณลกั ษณะท่พี ึงประสงคแ์ ละจดั การเรียนการสอนเกดิ ประสิทธผิ ลมากท่สี ุด 9.2 ครูผู้สอนควรดำเนินการตามขั้นตอนรูปแบบการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์และ สามารถบูรณาการแนวคิดการเรียนรู้ที่เน้นกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการเป็นผู้สร้างสรรค์นวัตกรรมในการพัฒนา คุณภาพ ผู้เรียนจนสามารถประยุกต์เน้ือหาต่าง ๆ ในสาขาวิชาของตนได้ 9.3 การนำรูปแบบการเรียนการสอนไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ ครูผู้สอนสามารถปรับเปลี่ยนเนื้อหาการ สอนได้ โดยต้องคำนึงถึงผู้เรียน ระดับความยากง่ายของกิจกรรม จุดประสงค์การเรียนรู้ และขึ้นอยู่กับบริบทของ ผเู้ รียน และโรงเรยี นในแตล่ ะทดี่ ้วย 9.4 ครูผู้สอนควรชี้แจงและอธิบายกระบวนการจัดกิจกรรมตามรูปแบบเพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจ ใน จุดมุง่ หมาย เพอื่ สร้างทศั นคตทิ ด่ี ใี นการเป็นผ้ทู ี่มีจติ สาธารณะ

11 ภาคผนวก

12 ภาพการประชมุ การวางแผนการดำเนินงาน

13 ภาพการประชมุ การวางแผนการดำเนินงาน

14 ภาพกจิ กรรมสภานักเรยี น

15 ภาพกจิ กรรมสภานักเรยี น

16 ภาพกจิ กรรมสภานักเรยี น

17 ภาพกจิ กรรมสาธารณะประโยชน์

18 ภาพกจิ กรรมสาธารณะประโยชน์

19 ภาพกจิ กรรมสาธารณะประโยชน์

20 ภาพกิจกรรมการสง่ เสรมิ คุณธรรม

21 ภาพกิจกรรมการสง่ เสรมิ คุณธรรม

22 ภาพกิจกรรมการสง่ เสรมิ คุณธรรม

23 ภาพกิจกรรมการสง่ เสรมิ คุณธรรม

24 ภาพกิจกรรมการสง่ เสรมิ คุณธรรม

25 ภาพกิจกรรมสรา้ งจติ สำนึกกตญั ญู

26 ภาพกิจกรรมสรา้ งจติ สำนึกกตญั ญู

27 ภาพกิจกรรมสรา้ งจติ สำนึกกตญั ญู

28 การเผยแพรข่ อ้ มลู ข่าวสาร โรงเรยี นบ้านบุ่งเขยี ว

29 การเผยแพรข่ อ้ มลู ข่าวสาร โรงเรยี นบ้านบุ่งเขยี ว


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook