Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ข้อมูลแหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอเสิงสาง

ข้อมูลแหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอเสิงสาง

Published by 0930958006num, 2020-06-04 02:10:53

Description: ข้อมูลแหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอเสิงสาง

Search

Read the Text Version

แหลง่ เรียนรปู้ ราชญ์ชาวบ้านและภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่น กองการศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม องค์การบริหารส่วนตาบลโนนสมบรู ณ์ อาเภอเสงิ สาง จงั หวดั นครราชสมี า

๒ ความหมาย / ความเปน็ มา / ลักษณะทัว่ ไปของแหล่งเรยี นรู้ ภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน แหล่งเรยี นรู้ หมายถึง แหลง่ ข้อมลู ข่าวสาร สารสนเทศ วิทยากร ภูมิปญั ญาชาวบ้านและประสบการณ์ อืน่ ๆ ท่ีสนบั สนุนสง่ เสรมิ ใหผ้ ้เู รียนเกิดกระบวนการเรยี นร้แู ละเปน็ บุคคลแหง่ การเรียนรู้ ภูมิปัญญา ( Wisdom) หมายถงึ ความรู้ ความสามารถ ความเชอ่ื ความสามารถทางพฤติกรรม และความสนใจในการแก้ปญั หาของมนษุ ย์ ความหมายของภูมปิ ัญญาไทย จากการศึกษาความหมายทีผ่ ้เู ชย่ี วชาญ นกั วชิ าการตา่ งๆ ซึง่ ครอบคลุมคาวา่ ภมู ปิ ัญญาพนื้ บา้ น ภูมิปัญญาชาวบ้าน ภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่ิน ภูมปิ ญั ญาไทย ไดใ้ ห้ความหมายพอสรปุ ได้ ดังนี้ ภมู ิปญั ญาพ้ืนบ้านหรอื ภูมิปัญญาชาวบ้าน( Popular Wisdom) หมายถงึ องค์ความรู้ ความสามารถและ ประสบการณ์ทีส่ ่ังสมและสบื ทอดกันมา อันเปน็ ความสามารถและศกั ยภาพในเชิงแก้ปญั หา การปรับตวั เรยี นรู้ และสบื ทอดไปสคู่ นรุ่นใหม่ เพื่อการดารงอยู่รอดของเผา่ พันธจุ์ ึงตกทอดเป็นมรดก ทางวัฒนธรรมของธรรมชาติ เผ่าพันธ์ุ หรอื เปน็ วิธขี องชาวบา้ น ( ยงิ่ ยง เทาประเสรฐิ ) ภูมิปัญญาท้องถิ่น หมายถงึ กระบวนทัศน์ของบุคคลที่มีตอ่ ตนเอง ตอ่ โลกและสิง่ แวดล้อม ซึ่งกระบวนการดังกลา่ ว จะมีรากฐานคาสอนทางศาสนา คติ จารีต ประเพณี ทไ่ี ด้รบั การถา่ ยทอดส่ังสอนและ ปฏบิ ัตสิ ืบเนอ่ื งกนั มา ปรับปรงุ เขา้ กับบริบททางสงั คมท่ีเปล่ยี นแปลงไปแตล่ ะสมัย ทั้งนีโ้ ดยมีเป้าหมายเพ่อื ความสงบสขุ ในส่วนทเ่ี ปน็ ชุมชน และปัจเจกบุคคล ซงึ่ กระบวนทัศนท์ เ่ี ปน็ ภูมปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ จาแนกได้ 3 ลักษณะ คือ 1.ภมู ิปัญญาเกยี่ วกับการจดั การความสัมพนั ธ์ระหวา่ งมนุษย์กบั ธรรมชาตแิ วดลอ้ ม 2.ภมู ิปญั ญาเกี่ยวกับสังคมหรือการจัดความสมั พนั ธร์ ะหว่างมนษุ ยก์ บั มนษุ ย์ 3.ภูมิปญั ญาเกีย่ วกบั ระบบการผลิตหรอื ประกอบอาชพี ที่มีลักษณะมุง่ เนน้ ระบบการผลิตเพ่อื ตนเอง ภูมิปัญญาไทย หมายถึง องคค์ วามรู้ในด้านตา่ งๆ ของการดารงชวี ิตของคนไทยท่ีเกดิ จาก การสะสม ประสบการณ์ทัง้ ทางตรงและทางอ้อม ประกอบกบั แนวความคดิ วิเคราะหใ์ นการแกป้ ัญหาต่างๆ ของตนเอง จนเกิดหลอมตวั เปน็ แนวคดิ ในการแกไ้ ขปญั หาท่เี ปน็ ลกั ษณะของตนเอง ท่ีสามารถพฒั นาความรูด้ งั กลา่ วมา ประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกบั กาลสมัย ในการแก้ปญั หาของการดารงชวี ิต ลักษณะของแหลง่ เรยี นรู้ จดั ได้ 3 ประเภท คือ 1. แหล่งเรียนรู้ทีเ่ กิดขนึ้ เองตามธรรมชาติ เช่น อุทยานแหง่ ชาติ สวนพฤกษชาติ ภเู ขา แม่น้า ทะเล น้าพุรอน ปรากฏการทางธรรมชาติ เชน่ ฝนตก แดดออก นา้ ท่วม ความแหง้ แลง้ 2. แหล่งเรยี นรทู้ ี่จัดข้นึ หรือสรา้ งขนึ้ ซ่ึงมใี นสถานศึกษาและนอกสถานศึกษา เพอื่ ใช้เป็นแหลง่ ศึกษา หาความรไู้ ดส้ ะดวกและรวดเร็ว

๓ 3. แหลง่ เรยี นรทู้ ่ีเป็นทรัพยากรบุคคล ไดแ้ ก่ ครู ผูป้ กครอง พ่อแม่ พระภกิ ษสุ งฆ์ ตลอดจนผรู้ ู้ ผู้เชีย่ วชาญในอาชีพแขนงตา่ งๆ ท่มี อี ยูใ่ นชมุ ชน รวมทงั้ สถานที่ประกอบการ รา้ นคา้ หนว่ ยงาน หรอื องคก์ ร ต่างๆ ในท้องถน่ิ ความเป็นมาและความสาคัญของแหล่งเรียนรู้ และภมู ปิ ัญญาท้องถิน่ โลกปจั จบุ นั เปน็ โลกแห่งข้อมลู ข่าวสารท่ีแพร่หลายท่ัวถึงกันไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว ไร้อาณาเขตขวางกัน้ สภาพดงั กลา่ วมีสว่ นกระทบถงึ วิถชี วี ติ ของผคู้ นพลเมอื งโดยท่ัวไป เพราะเปน็ สภาพทเี่ ออ้ื อานวยในการรับและ ถา่ ยโยงเอาศาสตร์หรอื ภูมปิ ญั ญาตะวันตกเข้ามาในการพฒั นาประเทศและพัฒนาผลผลิต ตลอดจนการดาเนนิ ชวี ติ อยา่ งมไิ ด้มีการปรับปนกบั ภูมปิ ัญญาไทยที่มีความเหมาะสมกับสภาพท้องถิน่ ทเ่ี ปน็ ทุนเดิมอยู่แลว้ ทาใหช้ ุมชนชนบทประสบปญั หาดังท่ีกลา่ วว่าชุมชนลม่ สลาย อันมีผลรวมไปถงึ ความทรุดโทรมของสง่ิ แวดลอ้ ม อย่างกวา้ งขวาง การพยายามใช้กลไกลทางการศกึ ษาจากเงื่อนไขทเ่ี ปิดโอกาสใหม้ กี ารพฒั นาหลักสูตร ตามความต้องการ ของท้องถนิ่ เป็นชอ่ งทางในการประยกุ ตเ์ อาภูมิปญั ญาชาวบ้านทีม่ ีจดุ เดน่ ท่ีสามารถพิสจู น์ ตัวเองในการยนื หยัดอย่รู อดได้ ทา่ มกลางกระแส การล่มสลายของชมุ ชนและการทรุดโทรมของส่ิงแวดลอ้ ม ดังกลา่ ว มาส่หู ลกั สูตรและกระบวนการเรียนร้ใู นแนวทางของการคดิ ปฏบิ ัติจริง จากการประยกุ ต์ปรบั ปน ภมู ปิ ัญญาชาวบ้านหรอื ภูมปิ ญั ญาไทยกบั ปญั ญาสากล เพอ่ื ให้ผู้เรยี นคน้ พบคุณคา่ ภูมิปญั ญาทีม่ ีในท้องถิน่ ท่ี เหมาะสมกับวิถชี ีวิตของชุมชน และสามารถประยุกต์ใช้ได้อยา่ งไมม่ ีท่ีส้นิ สุด นามาซ่งึ ดลุ ยภาพท่สี งบสนั ติสขุ ของบุคคล ชุมชนและชาติ ความสาคญั ของแหลง่ เรียนรู้ 1.เป็นแหล่งเสริมสรา้ งจินตนาการและความคิดริเรมิ่ สรา้ งสรรค์ 2.เปน็ แหล่งศึกษาตามอธั ยาศัย 3.เป็นแหล่งเรยี นรู้ตลอดชวี ติ 4.เป็นแหล่งสรา้ งความรู้ ความคิด วิชาการและประสบการณ์ 5. เปน็ แหล่งปลูกฝงั ค่านยิ มรกั การอา่ นและแหลง่ ศกึ ษาคน้ ควา้ แสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง 6.เปน็ แหลง่ สรา้ งความคดิ เกดิ อาชีพใหมส่ ู่ความเปน็ สากล 7.เปน็ แหลง่ เสรมิ ประสบการณ์ตรง 8.เปน็ แหล่งสง่ เสรมิ มิตรภาพความสมั พันธร์ ะหวา่ คนในชมุ ชนหรอื ผู้เป็นภูมิปญั ญาทอ้ งถิ่น การจัดกระบวนการเรยี นร้กู ับภูมิปญั ญาทอ้ งถิน่ แหลง่ เรียนรู้ การเรียนการสอนเปน็ กระบวนการสอ่ื สารความรู้ ประสบการณ์ ทกั ษะ ความคดิ เห็น ตลอดจนเจตคติ ซ่ึงอาจทาได้หลายวธิ ี และอาจใชเ้ ครือ่ งมือประกอบการสอนตา่ งๆ อีกมากมาย โดยมีการจดั การเรยี นรทู้ ่เี น้น ผู้เรยี นเปน็ สาคญั ให้ผเู้ รียนมีทัง้ ความรู้ คณุ ธรรมจรยิ ธรรม ค่านยิ มทีพ่ งึ ประสงคแ์ ละสามารถดาเนนิ ชวี ิตอยใู่ น สังคม ได้โดยปกตสิ ขุ จึงจาเปน็ ตอ้ งพัฒนาศกั ยภาพ ความสามารถของ ผู้เรียนอยา่ งเตม็ ที่ เพอ่ื ใหม้ ีนสิ ัยใฝร่ ู้ ใฝเ่ รียน แสวงหาความรไู้ ด้ดว้ ยตนเอง การนาแหล่งเรียนรใู้ น ชุมชน ท้องถน่ิ ตลอดจนวิทยากรท้องถนิ่

๔ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่ิน มาใชป้ ระโยชน์ในการจดั กระบวน การเรียนการสอน จึงเป็นวถิ ีทางหนึ่งท่จี ะช่วยให้การะ บวนการเรยี น การสอนบรรลุจดุ มงุ่ หมายได้ตามทีต่ อ้ งการ การนาภูมิปญั ญาชาวบา้ น แหล่งเรียนรู้ มาใชใ้ น หลกั สตู รการเรียน เปน็ กจิ กรรมทีต่ ง้ั อยูบ่ นพน้ื ฐานความเช่ือท่วี า่ ภมู ปิ ัญญาชาวบ้าน ภมู ิปญั ญาท้องถิน่ และแหล่งเรียนรู้ เป็นชุดความร้ใู นชุมชนทีม่ ีการใช้เพ่อื การดาเนินวิถีชีวิตที่ได้ผลมาในอดตี สามารถดารงความ สันตสิ ขุ แกบ่ คุ คล ครอบครวั และชุมชน ตลอดจนความมีดลุ ยภาพอยรู่ ่วมกบั ธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมไดอ้ ยา่ ง ผสมกลมกลนื เปน็ กระบวนการพัฒนาหลักสตู รทไ่ี ดเ้ น้นการมสี ่วนร่วมของ ชุมชน โดยเฉพาะปราชญช์ าวบา้ นท่ี เปน็ ผูเ้ ชื่อมโยงชุดความรู้ท่เี ป็นภมู ปิ ญั ญาท้องถ่ิน ร่วมกับสถานศกึ ษาเขา้ สู่หลักสูตร และกระบวนการเรยี นการ สอนของสถานศึกษา ในแต่ละทอ้ งถ่นิ แนวทางในการนาแหลง่ เรียนรู้ และภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ มาใชใ้ นการเรยี นการสอน แนวทางการสรา้ งและพฒั นาส่อื การเรียนการสอนและแหลง่ เรยี นรู้ 1. กาหนดจุดประสงค์จากผลการเรยี นที่คาดหวังให้ชัดเจนว่าตอ้ งการใหผ้ ้เู รียนเกดิ การเรยี นรู้และ ได้รบั ประสบการณ์ใดบ้างจากบทเรยี นน้นั เพ่ือจะไดส้ ร้างส่อื หรอื เลือก แหล่งเรยี นรู้ ให้สัมพันธ์กบั จดุ มุ่ง ประสงค์และกจิ กรรมการเรยี นการสอน 2. ศึกษาผู้เรียน โดยพิจารณาถงึ วยั ระดับช้ัน ความรู้ ประสบการณ์ และความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล เพื่อเปน็ ขอ้ มูลในการเลอื กใชแ้ หลง่ เรียนรู้ 3. ศกึ ษาธรรมชาตขิ องเน้ือหา สาระ ท่ตี ้องการให้ผู้เรียนไดเ้ รยี นรแู้ ต่ละเรื่อง อาจมลี ักษณะเฉพาะบาง เร่อื งด้วยการปฏิบัตจิ รงิ หรอื เรยี นรจู้ ริง ดูการสาธิตจาก ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน และบางเร่ืองต้องอาศัยจากการ สืบค้นข้อมูล การฟงั การดู และการอา่ น 4. พจิ ารณาประโยชน์และความคมุ้ คา่ ของแหลง่ เรียนร้วู า่ สามารถเรา้ ความสนใจ ส่อื ความหมายและ ประสบการณ์การเรยี นการสอนแกผ่ เู้ รียน การจดั ประสบการณ์เรียนรแู้ ก่ ผู้เรียน เพ่ือชว่ ยให้ผูเ้ รียนได้ ประสบการณ์ตรง 5. หาประสทิ ธิภาพของสือ่ และแหลง่ เรยี นรู้ โดยการปรับปรงุ สอื่ ทจี่ ัดไว้ เพอ่ื เป็นการปรับคุณภาพของ สอ่ื วา่ เหมาะสม ในการนาไปใช้ วธิ กี ารใชแ้ หลง่ เรียนรู้ วิธกี ารใช้แหลง่ เรยี นรู้ คือ การนาผเู้ รียนไปสแู่ หล่งเรยี นรู้ตา่ งๆ ท้ังในบริเวณโรงเรียนและนอกบรเิ วณ โรงเรยี น เพอ่ื ให้เกิดความร้แู ละประสบการณจ์ ริง และสอดคลอ้ ง กบั การจัดการเรยี นการสอนตามหลกั สูตร การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน โดยยดึ หลกั ดังนี้ 1. การใชแ้ หลง่ เรยี นรูต้ า่ งๆ ตอ้ งเรมิ จากแหล่งเรียนร้ทู ีอ่ ยใู่ กลต้ ัว เชน่ ในบ้าน ในห้องเรียน นอกบรเิ วณโรงเรยี น เชน่ ไร่ นา แปลงเกษตรสาธิต ไร่นาสวนผสม โบราณสถาน โบราณวัตถุ สถานทรี่ าชการ สถานทปี่ ระกอบการ เปน็ ตน้

๕ 2. การใช้แหล่งเรียนรู้เพื่อฝึกปฏิบัติ ทดลอง ศกึ ษาเพือ่ ใหผ้ เู้ รียนได้ปฏบิ ัติจริง เช่น การปฏบิ ัตกิ าร เก่ยี วขา้ ว การทานา การทาไร่ งานเชอ่ื มโลหะ งานปนู งานไม้ และการฝกึ งานในสถานทีร่ าชการ สถานประกอบการ เปน็ ต้น การนาภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิน่ มาใชใ้ นการเรยี นรู้ การนาภมู ิปญั ญาท้องถิ่นมาสู่การเรียนการสอน เปน็ การนาคตินิยม ความเชอ่ื หรือหลักการพ้นื ฐานท่ี เกดิ จากการส่ังสมหรอื สืบทอดกนั มา หรอื ขนมธรรมเนยี มประเพณี ศลิ ปะและจริยธรรม ทแ่ี สดงออกถงึ ความ เจริญงอกงามและความเป็นระเบียบแบบแผนทเี่ คยยดึ ถอื ปฏิบตั สิ บื ทอดกนั มา ท่ีสอดคล้องกับเนื้อหาสาระมา ให้นักเรียนไดเ้ รยี นรู้ตามขน้ั ตอนกจิ กรรมการเรียนการสอน เพอ่ื ให้บรรลวุ ัตถปุ ระสงค์การเรยี นรทู้ ีก่ าหนดไว้ ลักษณะภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ เขา้ สู่ระบบโรงเรยี น มี 3 ลักษณะ คือ 1. คน 2. แนวคิดชาวบา้ น 3. ผลงานชาวบา้ น การนาภูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ มาใช้ในการจัดการเรียนการสอน สามารถดาเนนิ การได้ 2 วิธี คือ 1. การเชิญภูมิปัญญาท้องถิ่นมารว่ มการจดั การเรียนรูใ้ นโรงเรียน 2. การนานักเรียนไปยังแหล่งเรียนร้หู รอื สถานประกอบการของภมู ปิ ัญญาทอ้ งถิ่น การนาภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่นมาใชใ้ นการเรียนการสอนในโรงเรียน การนาภูมิปญั ญาท้องถน่ิ มาใช้ในการเรียนการสอนในโรงเรียน โรงเรียน ครผู ้สู อนหรือผ้ทู ี่รับผดิ ชอบ จะตอ้ งศึกษาและจัดทารายละเอียด ข้อมลู ในการจดั ทา โดยมขี น้ั ตอนทส่ี าคญั คือ 1. ศกึ ษาหลกั สตู รแมบ่ ทหรอื หลักสูตรแกนกลาง 2. จดั ทาขอ้ มูลสารสนเทศภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่ิน การนาแหลง่ เรยี นรู้และภมู ปิ ัญญาท้องถ่ินมาใชใ้ นการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน มีแนวทางดังน้ี 1. ศกึ ษาหลกั สูตร และสาระการเรียนรู้ 2. จดั ทาข้อมลู สารสนเทศแหล่งเรยี นรู้ ภูมิปญั ญาท้องถ่ิน 3. จัดทาแผนการเรียนรู้ กระบวนการเรยี นรูใ้ ห้สอดคลอ้ งกับจุดประสงค์ 4. ขอความร่วมมอื กับชมุ ชนและตัววิทยากรทอ้ งถน่ิ 5. เชิญวทิ ยากรทอ้ งถน่ิ มาถา่ ยทอดความรู้ หรือนานกั เรียนไปยังแหล่งเรียนรู้

๖ 6. ทาการวัด ประเมินผล 7. รายงานผล สรุปผลใหผ้ ทู้ ีเ่ กย่ี วข้องได้ทราบ ข้อดีในการนาแหลง่ เรยี นรู้ และภมู ิปัญญาทอ้ งถ่นิ มาใช้ในกระบวนการเรยี นการสอน 1. ผู้เรยี นได้เรียนรู้จากของจรงิ ทาให้เกิดประสบการณ์ตรง 2. ผู้เรียนเกิดความสนกุ สนาน 3. ผู้เรียนมเี จตคตทิ ด่ี ตี ่อชมุ ชน และกระบวนการเรียนรู้ 4. ผู้เรียนเห็นคุณค่าของแหลง่ เรียนรู้ ภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่น 5. ผู้เรียนเกดิ ความรกั ท้องถิ่นและเกดิ ความรใู้ นการอนุรกั ษ์สิง่ ทมี่ คี ุณค่าในท้องถนิ่

ทะเบียนแหล่งเรยี นรู้ปราชญ์ชาวบา้ นและภมู ิปญั ญาทอ้ งถิน่ องคก์ ารบริหารส่วนตาบลโนนสมบรู ณ์ ภาพถา่ ย รายละเอียด ช่อื – สกลุ สถานทีต่ งั้ ภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ ด้าน นายสขุ เสตสิทธ์ิ บ้านเลขท่ี 13 หมู่ 3 ผลิตภณั ฑ์ ตาบลโนนสมบรู ณ์ อาเภอเสงิ สาง จงั หวดั นครราชสีมา โทร: ภูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ ดา้ น นายหมอ้ เสตสิทธ์ิ บา้ นเลขท่ี 13 หมู่ 3 จกั รสานซมุ่ ไก่ ตาบลโนนสมบูรณ์ อาเภอเสิงสาง จังหวดั นครราชสมี า โทร: ภมู ิปัญญาท้องถิน่ ดา้ น นายเก่ง วงศแ์ ก้ว บ้านเลขที่ 100 หมู่ 3 จักรสาน ประเภท : ตาบลโนนสมบูรณ์ อาเภอเสิงสาง ฮวดข้าว กระดง้ ฯลฯ จังหวดั นครราชสมี า โทร: ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ด้าน นางกัญญา เหลา่ มาก บา้ นเลขที่ 49 หมู่ 7 จกั รสาน ประเภท :ทอ ตาบลโนนสมบรู ณ์ อาเภอเสงิ สาง เสอื่ กก จงั หวัดนครราชสมี า โทร:

ภูมปิ ัญญาทอ้ งถิ่นด้าน นายทองใบ สวามิ ๘ สตั ว์ บา้ นเลขท่ี 23 หมู่ 7 ตาบลโนนสมบรู ณ์ อาเภอเสิงสาง จงั หวัดนครราชสีมา โทร: ภูมิปัญญาท้องถน่ิ ด้าน นางสง่า อมกระโทก บ้านเลขท่ี 65 หมู่ 10 พชื ตาบลโนนสมบูรณ์ อาเภอเสิงสาง จังหวดั นครราชสมี า โทร: ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นดา้ น นายสุข คาแกว้ บา้ นเลขท่ี 84 หมู่ 10 สัตว์ ตาบลโนนสมบูรณ์ อาเภอเสงิ สาง จังหวัดนครราชสมี า โทร: ภมู ิปญั ญาท้องถน่ิ ดา้ น นางเสาร์ ประทุมทอง บ้านเลขท่ี 67 หมู่ 3 งานถัก/สาน/ประดิษฐ์ ตาบลโนนสมบรู ณ์ ดอกไมจ้ ากวัสดุ อาเภอเสิงสาง พืน้ บ้าน จังหวัดนครราชสมี า โทร:

ภูมปิ ัญญาท้องถิน่ ดา้ น นางสุข ปตั ตานงั ๙ งานถักและสาน บา้ นเลขท่ี 43 หมู่ 3 ตาบลโนนสมบรู ณ์ อาเภอเสิงสาง จังหวดั นครราชสีมา โทร: ภมู ปิ ญั ญาท้องถิ่นด้าน นายคา่ ย เชือ้ ชยั บ้านเลขท่ี 13 หมู่ 10 จักรสาน ตาบลโนนสมบรู ณ์ อาเภอเสิงสาง จังหวดั นครราชสีมา โทร: ภมู ิปัญญาท้องถน่ิ ดา้ น นางหนูสิน บุตรดี บา้ นเลขที่ 48 หมู่ 10 งานประดิษฐบ์ ายศรี/ ตาบลโนนสมบรู ณ์ งานกระทง (ด้วย อาเภอเสิงสาง ใบตอง) จงั หวัดนครราชสีมา โทร: ภมู ิปัญญาทอ้ งถิน่ ด้าน นายใส ทองยศ หมอแคนชาวบ้าน บา้ นเลขที่ 25 หมู่ 5 ตาบลโนนสมบรู ณ์ อาเภอเสิงสาง จงั หวดั นครราชสมี า โทร:

๑๐