Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Training 2

Training 2

Published by parichatkate, 2018-10-06 02:58:21

Description: รายงานการเข้าร่วมอบรมครูผู้ช่วยเพื่อเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งครู

Search

Read the Text Version

รายงานผลการเข้ารว่ มอบรมครผู ชู้ ว่ ยเพ่ือเตรยี มความพรอ้ มและพฒั นาอยา่ งเขม้ กอ่ นแตง่ ตงั้ ใหด้ ารงตาแหน่งครู ตามหลกั เกณฑ์ท่ี ก.ค.ศ. กาหนด1. การเขา้ รว่ มการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการ อบรมครูผู้ช่วยเพ่ือเตรยี มความพร้อมและพัฒนาอยา่ งเขม้ ก่อนแต่งตัง้ ให้ดารงตาแหน่งครู ตามหลกั เกณฑ์ท่ี ก.ค.ศ. กาหนด2. หน่วยงานทจี่ ดั สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ3. หน่วยงานสนบั สนุนงบประมาณให้เข้าอบรม -4. ระยะเวลาอบรม ระหว่างวันท่ี 27-30 มถิ ุนายน 25615. สถานทจ่ี ัดอบรม โรงแรมชลพฤกษร์ สี อรท์ จงั หวัดนครนายก6. ความสอดคลอ้ งกบั ทศิ ทางการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษาและมาตรฐาน การจดั การศกึ ษา ทศิ ทางการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษาพนั ธกิจท่ี เป้าหมายท่ี กลยุทธท์ ี่4.พฒั นาครแู ละบคุ ลากร พัฒนาครูให้ปฏิบัติงานตามบทบาท กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาคุณภาพการทางการศึกษาตามมาตรฐาน หน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิด จดั การศกึ ษาวิชาชพี ประสทิ ธิผล มาตรฐานเพอ่ื การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษามาตรฐานด้าน มาตรฐานที่ ตัวบง่ ชี้มาตรฐานดา้ นครู มาตรฐานที่ 9 ครมู ีความสามารถใน 9.7 ครูในกลุ่มสาระการเรียนร้มู ี การจัดการเรียนการสอนอย่างมี ประสิทธภิ าพการสอนและการ ประสทิ ธภิ าพและเนน้ ผูเ้ รียนเปน็ พัฒนาตนเอง สาคัญ7.องค์ความรู้ท่ไี ด้รับ 1. การพฒั นาตนเอง พฒั นาบคุ ลิกภาพ องคค์ วามรูท้ ี่ได้จากการเรยี นรู้ 1) การแต่งกายชดุ พธิ กี ารชาย - หญงิ 2) ชดุ ประจาชาติ 3) การนั่ง 4) การยืน 5) การเดนิ 6) การแต่งกายชดุ สากลชาย - หญิง

7) มารยาทการรบั ประทานอาหาร 8) มารยาทการรับประทานอาหารบุพเฟ่ความรู้เก่ยี วกบั การพฒั นาบคุ ลกิ ภาพใหเ้ หมาะสมกับความเปน็ ครู ซ่งึ มีขอบเขตเน้อื หาดงั นี้ 1) อิทธิพลท่ีมีต่อ การพัฒนาบุคลกิ ภาพ- พันธกุ รรม - สง่ิ แวดลอ้ ม - การเลีย้ งดู2) การพัฒนาบุคลกิ ภาพมีจดุ มงุ่ หมายทจ่ี ะปรับปรุงบุคลกิ ของบคุ ล ให้เปน็ ท่ีพึงปรารถนาและเหมาะสมกับสภาพสังคม3) องค์ประกอบของบคุ ลกิ ภาพ - บคุ ลกิ ภาพทางกาย - บุคลิกภาพทางสงั คม - บคุ ลิกภาพทางอารมณ์ - บุคลกิ ภาพทางสตปิ ัญญา4) การแต่งกายของสภุ าพบุรุษ- การเลอื กเส้ือเชต้ิ - การเลอื กไท - การเลอื กกางเกง- การเลอื กสทู - การเลอื กรองเทา้5) การแต่งกายของสุภาพสตรี - ก้นใหญ่อย่าใส่กระโปรงสีออ่ น / ผ้ามนั - ผ้าไทย ลวดลาย - เสื้อ/ผา้ พื้น – กระโปรง- ถุงนอ่ งใส่เต็มตัว - แต่งกายใหเ้ ป็นผู้หญงิ- ควบคมุ นา้ หนักใหป้ กติ - ใสเ่ สื้อปดิ เนือ้ ที่ย้อยที่ศอก- เจ้าเนอื้ อยา่ ใสผ่ า้ ยืดแนบตัว - ใส่กระโปรงคลุมเข่า- เลือกแบบเสือ้ ผา้ ให้เหมาะกับรูปร่าง2. การพัฒนาวิชาการ องค์ความรูท้ ไ่ี ด้จากการเรยี นรู้ 1. การพัฒนาสือ่ /นวตั กรรม - ศกึ ษา สารวจ วเิ คราะห์ ปญั หา- จดั หาสอื่ และเทคโนโลยี- เลอื กใชส้ ่ือ/เทคโนโลยี- ผลติ และพัฒนาสื่อ/นวัตกรรม - มีสว่ นรว่ มในการพัฒนาศูนย์สื่อ/นวตั กรรม - ประสานความร่วมมือ (ชุมชน/โรงเรยี น : ผู้บรหิ ารสถานศึกษา, ครู, นักเรยี น และกลมุ่ สาระฯ) - ประเมินผลการผลิต/จดั หา/พฒั นา - เผยแพรส่ ่ือ/นวัตกรรมประเภทส่ือ : ส่ือส่ิงพมิ พ์ / เทคโนโลยี / อ่นื ๆ (บุคคล, ธรรมชาติ, สง่ิ แวดลอ้ ม, กิจกรรมและวสั ดุ)2. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ - การสารวจแหล่งการเรียนรู้- จดั ทาเอกสารอบรม- มีส่วนรว่ มในการจดั ต้งั- ประสานความรว่ มมือ - มสี ว่ นร่วมในการสง่ เสริม สนับสนนุ ท้งั ในและนอก แหล่งเรียนรู้ในโรงเรยี นมี 2 ประเภท คือ ตามธรรมชาติ และมนุษย์สรา้ งขนึ้

 แหล่งเรยี นรู้นอกโรงเรียนมี 2 ประเภท คอื ตามธรรมชาติ และสถานที่มนุษยส์ รา้ งขึ้น  ภมู ิปัญญาท้องถ่นิ มี 3 ลักษณะ คอื คน แนวคิด และผลงาน/ช้นิ งาน  การนาภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ : เชิญเข้ามาเป็นวิทยากร หรือ พา นกั เรียนออกไปศกึ ษา  กระบวนการเรียนรู้ : เรยี นรจู้ ากชวี ติ จรงิ และสนกุ สนาน 3. เครือข่ายทางวิชาการ : การแลกเปลย่ี นความรูร้ ะหวา่ งสถานศึกษา องคก์ ร ชุมชน มาพฒั นา งาน  หลักการสาคญั ของเครือขา่ ย : ความคดิ /ถา่ ยทอด/แลกเปล่ียน/การระดมและประสาน  ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาการ (PLC) : ชุมชนการเรียนรู้ เป็นการแลกเปล่ียน สนับสนุน ซ่ึงกนั และกัน มี 3 ระดับ คอื 1) ระดับสถานศึกษา (นักเรียน, ครู และชุมชน) 2) ระดับ เครือขา่ ย/กลุ่ม (สถาบนั , สมาชกิ ครู) 3) ระดับชาติ (สิงค์โปร์ “สอนให้น้อย กิจกรรมให้ มาก) 3. กิจกรรมกลุ่มสัมพนั ธ/์ การประพฤตติ นเปน็ ข้าราชการท่ดี ี องค์ความรูท้ ่ีไดจ้ ากการเรยี นรู้ 1. แนวคดิ จากกระแสพระราชดารัสของในหลวงรชั กาลท่ี ๙ 2. คา่ นิยมสรา้ งสรรค์ ๕ ประการ ทเ่ี จ้าหน้าที่ของรฐั ถอื ปฏิบตั ิ คอื 2.1 กล้ายืนหยัดทาในส่ิงที่ถูกต้อง หมายถึง ยึดม่ันในความถูกต้อง ดีงาม ชอบธรรมเสยี สละ อดทน ยดึ หลักวชิ าการและจรรยาวิชาชพี ไมย่ อมโอนออ่ นตามอิทธพิ ลใด ๆ 2.2 ซอ่ื สตั ยแ์ ละมคี วามรบั ผดิ ชอบ หมายถงึ ปฏบิ ัตหิ น้าท่ีด้วยความตรงไปตรงมามีหลักธรรมแยก เรอื่ งส่วนตัวออกจากหน้าทีก่ ารงานมีความรับผิดชอบตอ่ หน้าท่ี ต่อประชาชน ต่อผลการปฏิบตั ิงาน 2.2 โปร่งใส ตรวจสอบได้ หมายถึง ปรบั ปรุงกลไกการทางาน 2.4 ไม่เลือกปฏบิ ัติ หมายถึง การบรกิ ารประชาชนดว้ ยความเสมอภาค 2.5 มุ่งผลสัมฤทธ์ขิ องงาน หมายถงึ ทางานให้แลว้ เสรจ็ ตามกาหนด 3. ลักษณะของครใู นยศตวรรษที่ 21 3.1 ครจู ะต้องเปลย่ี นบทบาทใหม่จากเคยเปน็ ผู้สอน ผู้ให้ความรมู้ าเป็น - ครูเปน็ ผูอ้ านวยความสะดวก - ครเู ปน็ ผูแ้ นะแนวทาง - ครูเป็นผู้ร่วมเรยี น/ผูร้ ่วมศึกษา 4. ลกั ษณะของครทู ่ดี ี ท่ีพง่ึ ประสงค์ 4.1 มคี วามรู้รอบดา้ น 4.2 มอี ารมณ์ขนั 4.3 มีความยดื หยุ่น 4.4 มีวญิ ญาณความเป็นครู 4.5 มีความซื่อสัตย์ 4.6 มีความสามารถทาให้เข้าใจได้ชดั เจนและรวบรดั 4.7 เปน็ คนเปิดเผย 4.8 มคี วามอดทน 4.9 ทาตัวเปน็ แบบอย่างทด่ี ี 4.10 สามารถนาความรูท้ างทฤษฎไี ปปฏิบตั ิได้ 4.11 มคี วามเช่ือม่ันในตนเอง 4.12 มคี วามสามารถพิเศษ

5. สรปุ ภาพรวม 5.1 มคี วามร้ดู ี ทักษะในการสอนและการปฏบิ ตั ิงานครู 5.2 บคุ ลิกภาพที่ดี มคี ุณธรรมนยิ ม8. แนวคิด/เจตคตทิ ่ีไดร้ บั จากการอบรม - นาความรู้ที่ได้รบั ไปประยุกต์ใช้ใหเ้ หมาะสมกับภาระงานทไี่ ดร้ ับมอบหมายจากสถานศึกษาอยา่ งมีประสิทธภิ าพ9. การขยายผล - ........................................................ผรู้ ายงาน (นางสาวปารชิ าติ สงิ คาโล) ครผู ชู้ ว่ ยความเหน็ ของหัวหนา้ งานบุคคล.......................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................... ...................................................... (นางพิกุล เหมอื งคา) ตาแหนง่ ครู ค.ศ. 2ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา............................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................ ......... (นางวลิ าวัลย์ ปาลี) ผู้อานวยการโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

เกยี รติบตั รและภาพกจิ กรรม

ภาพกิจกรรม