Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้ที่ 4

ใบความรู้ที่ 4

Published by Aiyarath Y., 2019-07-09 12:33:21

Description: ใบความรู้ที่ 4

Search

Read the Text Version

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 4 การควบคุมและป้องกนั อบุ ตั ิภัย จากการทางาน

ใบความรทู้ ่ี 4 เรื่อง การควบคมุ และปอ้ งกันอบุ ัติภัยจากการทางาน 1. ความหมายและองคป์ ระกอบสาคญั ของอบุ ัตภิ ัย อุบัติเหตุ คือ สถานการณ์หรือเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้น โดยไม่ทราบ ล่วงหน้ามาก่อน หรือโดยบังเอิญ เมื่อเกิดข้ึนแล้วก็จะทาให้เกิดผลกระทบ ต่อการปฏิบัติงาน มีการบาดเจ็บ พิการ เสียชีวิตสูญเสียทรัพย์สิน และ ผลผลติ ตา่ ลง อุบัตเิ หตมุ ีองคป์ ระกอบทสี่ าคัญ ดังนี้ 1. แหล่งหรือต้นตอของอันตราย คือ เป็นตัวการที่ก่อให้เกิด อุบัติเหตุและทาให้บาดเจ็บ พิการ เสียชีวิต หรือทรัพย์สินเสียหาย ต่อ บุคคล 2. ส่ิงที่ได้รับจากการเกิดอุบัติเหตุ คือ หลังจากการเกิดอุบัติเหตุ ยอ่ มนามาซงึ่ ความสูญเสยี ทงั้ รา่ งกายและทรพั ย์สิน 3. การสมั ผสั กนั คอื การสัมผัสกันระหว่างแหล่งหรอื ตน้ ตออนั ตราย กบั สิ่งทเ่ี กิดขึ้นหลังการเกิดอนั ตรายนัน้ ซ่ึงอาจเป็นบุคคลหรือทรพั ย์สิน 2. ทฤษฎกี ารเกดิ อุบตั ิภยั การเกิดอุบัติเหตุในการปฏิบัติงานอาจมีสาเหตุหลายประการ แต่ หากมีการเกิดอุบัติเหตุแล้วก็จะมีการสูญเสียทรัพย์สิน ร่างกาย และจิตใจ จงึ มกี ารศึกษาแนวคดิ เกีย่ วกับทฤษฎีการเกิดอบุ ัติเหตุ 1. ทฤษฎีโดมิโน (Domino theory) ของเฮนรชิ (Heinrich) หรือ ทฤษฎีลูกโซ่ เป็นทฤษฎีท่ีพัฒนามาจากหลักความเป็นจริงเก่ียวกับความ

ปลอดภัยในการปฏิบัติงานที่เกี่ยวกับสาเหตุและลาดับขั้นตลอดถึง กระบวนเกิดอบุ ตั เิ หตสุ ามารถอธิบายไดด้ ว้ ยโดมิโน 5 ตัว 2. ทฤษฎีมลู เหตเุ ชิงซ้อน (Multiple Causation Theory) ของ แดน ปีเตอร์สัน โดยทฤษฎีโดมิโนเป็นทฤษฎีท่ีใช้ป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ แต่ความถ่ีในการเกิดและความรุนแรงยังไม่เป็นศูนย์ เพราะมองการเกิด อุบัติเหตุยังไม่ครอบคลุมถึงสาเหตุที่แท้จริง จึงเป็นเพียงการแก้ไขสภาพ การกระทาของผปู้ ฏิบตั งิ านเทา่ นนั้ แต่แดน ปเี ตอรส์ ัน ได้กล่าวถงึ อบุ ตั ิเหตุ วา่ “อบุ ตั ิเหตยุ ่อมเกิดข้นึ ได้จากเหตตุ ่างๆ หลายอยา่ งซงึ่ อยเู่ บ้ืองหลัง และ สาเหตุต่างๆ เหล่านั้นรวมกันมากเข้าย่อมทาให้เกิดอุบัติเหตุได้” อีกท้ังยัง ชี้ให้เห็นว่าสาเหตุท่ีแท้จริงที่ทาให้เกิดอุบัติเหตุ คือ การบริหารจัดการ ความปลอดภัย ทฤษฎีมูลเหตุเชิงซ้อนเป็นการจัดการท่ีเน้นการป้องกัน ไม่ให้เกิดอุบัติเหตุ โดยการบริหารจัดการเก่ียวกับความปลอดภัยในสถาน ประกอบการ จัดให้มีคณะทางานด้านความปลอดภัยโดยเฉพาะ เพ่ือลด อบุ ัติเหตใุ ห้เป็นศูนย์ เพิ่มผลผลิต ผู้ปฏิบัติงานมีความสุข สุขภาพอนามัยดี มคี วามปลอดภยั ในการปฏิบัตงิ านทาให้งานมีประสทิ ธภิ าพ 3. สาเหตขุ องการเกิดอบุ ัตภิ ยั 1) เกิดจากตวั บคุ คล เช่น ขาดความรคู้ วามเขา้ ใจในการใช้เครือ่ งและ อปุ กรณต์ ่างๆ ขาดความรับผิดชอบ และความระมัดระวังในการปฏิบตั ิงาน ประมาทเลนิ เล่อ นอกจากนกี้ ารที่สภาพรา่ งกายและจิตใจไม่ปกติ เจ็บป่วย ยอ่ ม มีส่วนทาใหเ้ กิดอันตรายหรอื อบุ ตั ิภัยตา่ งๆ ได้มากขึน้ 2) เกดิ จากเคร่อื งมอื หรอื อุปกรณ์ต่าง ๆ เครื่องมือตา่ ง ๆ เช่น จอบ เสียม คราด ไถหรอื เครื่องจักรกล ไดแ้ ก่ รถแทรกเตอร์ รถไถนา เคร่ืองนวดข้าว อาจ ก่อใหเ้ กิดอุบตั เิ หตุไดถ้ า้ หากอยู่ในสภาพทชี่ ารุดหรอื เก็บรกั ษาไมถ่ ูกวธิ ี

3) เกิดจากสารเคมีตา่ ง ๆ ผลท่เี กิดจากการใชส้ ารเคมีอย่างไมถ่ ูกตอ้ ง เชน่ ยาฆ่าแมลง ยาปราบวชั พืช หรือแม้แตก่ ารใชป้ ยุ๋ ซงึ่ เปน็ สารเคมีอาจส่งผลให้ ร่างกายสะสมพษิ ของสารเคมที ีละน้อยจนกอ่ ใหเ้ กดิ โรคตา่ ง ๆ ในภายหลัง และ ถา้ หากไดร้ ับสารเคมีจานวนมาก อาจทาใหเ้ กดิ อนั ตรายถงึ ชวี ติ 4) สัตวแ์ ละพืชมีพิษ สตั วเ์ ลย้ี งอาจนาเช้ือโรคมาสู่คน เช่น โรคแอนแทรกซ์ โรคพิษสนุ ัขบา้ ส่วนสัตวม์ พี ษิ เช่น งู แมงป่อง ตะขาบ เมือ่ กัดหรอื ตอ่ ยจาทาให้ เกิดอนั ตรายต่อร่างกายนอกจากนพ้ี ชื มพี ิษบางชนดิ เช่น หมาม่ยุ เมือ่ เราสมั ผัส อาจทาให้ผวิ หนงั คันและเกิดการอักเสบได้ 5) เกดิ จากภยั ธรรมชาติ เช่น ลม พายุ น้าทว่ ม ฟ้าผ่า สามารถก่อให้เกดิ ความเสยี หายแก่ทรพั ยส์ นิ ทาลายผลติ ผลทางการเกษตร และอาจทาให้ เกษตรกรบาดเจ็บหรือเสียชีวิตได้ 6) อนั ตรายจากโรคภัยไขเ้ จ็บอื่น ๆ เกิดจากเช่ือโรคในบริเวณที่ทา การเกษตร เช่น โรคพยาธิทีอ่ าศัยอยูต่ ามพ้นื ดนิ ทชี่ น่ื แฉะ โรคบาดทะยักจากเชื่อ ที่อย่ใู นดนิ หรอื มลู สัตวเ์ ขา้ ทางบาดแผลนอกจากน้ี การทางานในสภาพแวดล้อม ท่ีเปน็ อันตรายเป็นเวลานาน อาจทาใหเ้ กิดอาการเจ็บป่วยหรอื มีอาการผิดปกติ เช่น ทางานกลางสายฝนอาจจะทาใหเ้ ปน็ ไขห้ รอื ปอดบวม ทางานกลางแสงแดด จดั กอ็ าจมอี าการหน้ามดื เป็นลม 4. ผลเสยี ของการเกดิ อบุ ัติเหตุ 1. การสูญเสียทางตรง เมื่อเกิดอุบัติเหตุย่อมทาให้ได้รับบาดเจ็บ พิการ หรือเสียชีวิต ตลอดจนทรัพย์สินชารุดเสียหาย สถานประกอบการ ตอ้ งเสยี ค่าใช้จา่ ยใหแ้ กผ่ ทู้ ่ไี ดร้ บั อุบัตเิ หตุน้ัน 2. การสูญเสียทางออ้ ม เปน็ การสญู เสียแฝงทไ่ี ม่ค่อยคดิ วา่ เป็นการ สูญเสีย เพราะเม่ือมีอุบัติเหตุเกิดขึ้นทาให้กระบวนการการผลิตต้อง หยุดชะงัก ผู้ปฏิบัติงานคนอ่ืนต้องหยุดมาช่วยเหลือ เพ่ือพาผู้ที่ได้รับ อุบัติเหตุส่งโรงพยาบาล ต้องค้นหาสาเหตุที่ทาให้เกิดอุบัติเหตุ ซึ่งสูญเสีย

เวลาในการผลิตไป และปริมาณการผลิตก็ลดลง รวมทั้งต้องเสียค่าใช้จ่าย ในการซ่อมแซมเคร่ืองมือ อุปกรณ์ท่ีชารุด เสียหายจากการเกิดอุบัติเหตุ ทาให้ผลิตไมท่ นั เวลาตามความต้องการของลูกคา้ 5. การเกดิ อัคคีภยั อัคคีภัยเกิดจากหลายสาเหตุ ส่วนใหญ่เกิดจากความประมาท ไฟฟ้าลัดวงจร หรือการใช้เคร่ืองใช้เครื่องไฟฟ้าชารุด การป้องกันอัคคีภัย ไดแ้ ก่ 1. จดั ระเบียบเรยี บร้อยใหด้ ี 2. ตรวจตราซอ่ มบารงุ บรรดาส่งิ ที่นามาใชใ้ นการประกอบการ 3. อยา่ ใชอ้ ุปกรณไ์ ฟฟ้าท่ไี มไ่ ด้มาตรฐานหรือปลอมแปลงคุณภาพ 4. ผู้ปฏิบัติงานควรมีความรู้ความเขา้ ใจในการป้องกันอัคคภี ยั 5. เมอ่ื เลกิ งานทุกวนั ควรมกี ารตรวจดคู วามเรยี บรอ้ ยของวัตถไุ ฟฟ้า อปุ กรณไ์ ฟฟ้าทกุ ชนิดปดิ สวิตซไ์ ฟให้เรยี บร้อย 6. การเกดิ อบุ ตั เิ หตุจากการเคลื่อนยา้ ยส่ิงของ อุบัติเหตุหนึ่งที่เกิดขึ้นได้ในระหว่างการทางานเกิดจาก การ เคล่อื นย้ายวสั ดุ โดยการเคลอ่ื นยา้ ยวสั ดุดังกลา่ ว แบ่งออกเปน็ 2 สว่ น คอื 1. การเคล่ือนย้ายด้วยมือ ส่ิงของวัสดุที่จะต้องทาการเคล่ือนย้าย โดยใช้มือยกจะต้องพิจารณาการใช้เคร่ืองป้องกันอันตรายส่วน ตลอดจน ความเหมาะสมของผู้ที่จะปฏิบัติงาน โดยเฉพาะการเคล่ือนย้ายวัสดุที่เป็น ของมีคม ต้องมีความระมัดระวังอย่างมากระหว่างการเคลื่อนย้าย ควรมี การหอ่ หุม้ อปุ กรณ์ทีเ่ ปน็ ใบมดี ทุกชนดิ 2. การเคล่ือนย้ายวัสดุด้วยเคร่ืองจักร ผู้ท่ีใช้เคร่ืองจักรหรือรถใน การเคลื่อนย้ายควรเป็นผู้ท่ีมีความชานาญในการใช้เครื่องจักรดังนี้กล่าว

ในระหว่างการเคลื่อนย้ายหากมีเหตุขัดข้องให้รอจนกว่าเครื่องยนต์หยุด การทางานเสียก่อน จึงแก้ไข และในระหว่างการเคลื่อนย้ายด้วยรถหรือ เครอ่ื งจกั ร ควรมีความระมัดระวัง โดยเฉพาะดา้ นหลังต้องมีการตรวจสอบ และระวงั เสมอ 7. แหล่งอันตรายในสภาพแวดลอ้ มการทางานเกษตร ควรมีการตรวจสอบสภาพแวดล้อมในสถานท่ีทางานเกษตรให้มี ความปลอดภัยอยูเ่ สมอ ดังน้ี 1. ทางเดิน ควรเปน็ ทางเดนิ ท่มี าตรฐานปอ้ งกนั การเกิดอุบัติเหตุ 2. อุณหภมู ิ ควรตรวจสอบอณุ หภูมหิ ้องทีป่ ฏิบัตงิ านตามมาตรฐาน 3. แสงสว่าง จัดให้มีแสงสวา่ งเหมาะสม 4. เสียง การทางานในท่ีท่ีมีเสียงดังเกินมาตรฐานจะทาให้เกิดโรค จากการทางาน 5. อุปกรณ์ไฟฟ้า ควรตรวจสอบอุปกรณไ์ ฟฟ้าอย่างสมา่ เสมอ 6. เคร่ืองกลเคร่ืองจักร ควรใช้ให้ถูกกับลักษณะของงานและใช้ให้ ถกู วิธี

7. อุปกรณ์อื่นๆ เช่นของมีคม ควรมีการห่อหุ้มใบมีดทุกชิ้นและ จัดเก็บใหเ้ ปน็ สัดสวน 8. ผู้ปฏิบัติงาน ควรความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับวิธีการทางานกับ เครอ่ื งมือเครอื่ งจักร 8. หลักปฏิบัติเพ่ือความปลอดภัยในการประกอบอาชีพด้าน เกษตรกรรม 8.1 ด้านบุคคล เกษตรกรควรศึกษาหาความรู้ รับฟังข่าวสารโดยเฉพาะ เรื่องที่เก่ียวกับสุขภาพและสวัสดิภาพในการประกอบอาชีพ เพ่ือเตรียมป้องกัน และระมัดระวังอันตรายท่ีจะเกิดขึ้นในขณะปฏิบัติงาน รวมทั้งการรักษาสุขภาพ รา่ งการให้สมบูรณ์แข็งแรงอย่เู สมอ ไมค่ วรทางานหนักเกินกาลัง ถ้าหากมอี าการ ผิดปกติให้รีบดูแลรักษาทันที ในการป้องกันอุบัติเหตุและสร้างความตระหนักใน ความปลอดภัยสว่ นตัว ลักษณะนิสัยที่ดใี นการทางานทีส่ ร้างความปลอดภยั ให้แก่ ตนเอง มีดงั นี้ 1. ถา้ สวมเสือ้ ผ้าหลายช้ันควรถอดชั้นนอกออก เช่นเสื้อกันหนาวให้ถอด ออกแขวนไวก้ อ่ นที่จะปฏบิ ัติงาน 2. ถ้ามชี ุดกันเป้ือนหรือชดุ สาหรบั สวมใส่ลงงานควรใช้ทุกครัง้ และตอ้ ง ระมดั ระวังการสวมใส่ตอ้ งกระซับและรัดกุม ไมร่ ุ่มรา่ ม 3. ถา้ ใสเ่ สอื้ แขนยาว ควรพับหรือม้วนข้ึนให้อยู่เหนอื ข้อศอก 4. ถ้าสวมใส่เคร่อื งประดบั เช่น แหวน สร้อยคอ นาฬกิ า ควรถอดออกเก็บ ไว้กอ่ นปฏบิ ัติงาน 5. ถ้าผมยาวควรรวบผูกให้เขา้ ทโี่ ดยใสไ่ วใ้ นหมวกนิรภยั หรือหมวกแกป๊ ให้ เรียบร้อย 6. ควรรกั ษาความสะอาดของมือขณะปฏิบัตงิ านทีเ่ กีย่ วข้องกับอาหาร 7. ไม่ควรหยอกลอ้ หรอื เลน่ กันขณะทางาน โดยเฉพาะงานท่ีใช้วสั ดเุ ปน็ ของมีคม

8. ต้องทางานดว้ ยความขยนั อดทน มีความรับผดิ ชอบ และรอบคอบอยู่ เสมอ 9. เตรียมระวงั ในสถานการณท์ ่อี าจจะเกิดอันตรายอยู่ตลอดเวลา 8.2 ด้านเคร่ืองมอื และเครอื่ งจักรกล ผูใ้ ชค้ วรศึกษาให้มีความรู้ความ เขา้ ใจเป็นอยา่ งดเี ก่ียวกบั เครอ่ื งมือและเครื่องจักรกลที่จะนามาใชใ้ นการ ประกอบอาชพี ก่อนใช้งานควรตรวจดูสภาพความเรียนรอ้ ย หากพบจุดบกพรอ่ ง หรือชารุดเสยี หายควรจดั การซอ่ มแซมและแกไขทนั ทเี ครื่องจักรกลบางชนิดเปน็ สาเหตุสาคญั ท่ีกอ่ ใหเ้ กิดอบุ ัติภยั แก่เกษตรกร ควรระมัดระวังในการใชเ้ ป็นอยา่ ง มาก เช่น รถแทรกเตอร์ ควรปฏิบัติตามคมู่ ือการใชร้ ถ หากเขา้ ใจใหส้ อบถามผูร้ ู้ ไม่ควรห้อยโหนหรอื เกาะขา้ งรถขณะกาลงั ใชง้ าน นอกจากนเี้ มื่อใชอ้ ุปกรณ์หรอื เคร่ืองมอื ต่างๆเสร็จแล้ว ควรทาความสะอาดและเก็บเขา้ ที่ให้เรียบรอ้ ย ขอ้ ควรระวงั ท่ัวไปทผ่ี ู้ปฏบิ ัติงานชา่ งทุกคนตอ้ งร้เู กี่ยวกับการใช้ เครื่องมือ อุปกรณ์ และวสั ดุตา่ ง ๆ ทค่ี รตู อ้ งแนะนาให้ นักศกึ ษาทุกคนไดท้ ราบ คือ 1. เคร่อื งมือทไี่ ม่มคี ม ชารดุ ขน้ึ สนมิ มปี ลายเยนิ หรือบานไม่ควรนามาใช้ งาน 2. เครอ่ื งมอื ทม่ี ีการเข้าด้าม มีดา้ มหลวมหรือแตกไม่ควรนามาใช้งาน

3. การถือเครอ่ื งมอื ที่มคี มหรือปลายแหลม เม่อื มีการเคลื่อนย้ายต้อง ระมัดระวงั ควรจดั วางในกล่องหรอื ถาดวางเครือ่ งมือ หรอื ห่อหมุ้ คมหรือปลาย แหลมเสยี กอ่ น 4. ไม่ควรพกเคร่ืองมอื ท่ีมีคมหรอื ปลายแหลม เช่น สิ่ว ดอกสวา่ น ไขควง ในกระเปา๋ เสื้อหรอื กระเป๋ากางเกง 5. หา้ มตอ่ ไฟฟา้ หรืออุปกรณไ์ ฟฟา้ โดยท่ยี ังไม่ได้ตัดกระแสไฟฟา้ ก่อน หรือยกคทั เอาท์ไฟลง 6. เมือ่ จะทาการปรบั แตง่ เคร่ืองมอื กลตอ้ งใหเ้ ครือ่ งหยุดน่งิ เสยี กอ่ น ไม่ ควรทาในขณะทีเ่ ครือ่ งกลยังทางานอยู่ 7. การทาความสะอาดบารงุ รกั ษา ไมค่ วรทาในขณะทเี่ ครอื่ งมือกลกาลงั ทางานอยู่ เศษผ้าหรือวัสดุที่ใช้ทาความสะอาดควรวางให้ห่างจากส่วนที่เคลอ่ื นท่ี ของเครื่องกล 8. การจัดเกบ็ เครื่องมอื ภายหลังการใช้งานแล้ว ควรวางในที่จดั เกบ็ เฉพาะ และต้องทาความสะอาดหรือชโลมนา้ มันกันสนมิ ทุกคร้งั 9. การใช้เคร่ืองมอื กล หากมเี สยี งดงั หรอื มกี ลิ่นผดิ ปกติต้องหยดุ งาน เครอ่ื งใชแ้ ละปิดเคร่ืองทันที 10. หากเครือ่ งมอื ชารุดในระหว่างการทางานตอ้ งแจ้งครูผคู้ วบคุมหรือ หวั หน้างานทราบทันที 8.3 ดา้ นสารเคมีและเคมภี ัณฑต์ ่างๆ ปัจจุบนั เกษตรกรได้นาสารเคมมี า ใชก้ ันอย่างแพร่หลาย เช่น ยาปราบวชั พืชหรอื ยาฆ่าแมลง สารเคมเี หลา่ นีล้ ว้ นมี พิษทั้งต่อผู้ที่นามาใช้ละผู้บรโิ ภค ดังน้นั ผใู้ ช้จะต้องร้จู ักและเข้าใจวธิ ใี ช้ให้ถูกตอ้ ง โดยควรอ่านฉลากให้เข้าใจถงึ วิธใี ชอ้ ยา่ งละเอยี ดก่อนใช้สารเคมีและปฏบิ ัตติ าม ขนั้ ตอนโดยเคร่งครดั กอ่ นใชส้ ารเคมีควรแต่งกายให้มดิ ชดิ เช่น สวมเส้อื ผา้ ให้ มดิ ชิด สวมหมวก แว่นตา ถุงมือ และหนา้ กาก เพื่อป้องกนั สารเคมีเข้าสู่ผวิ หนงั หรเิ ขา้ ตา หากสารเคมีถกู ผิวหนงั ควรรีบชาระร่างกายใหส้ ะอาด เพือ่ ป้องกันไม่ให้ สารนน้ั ซมึ เขา้ สูร่ ่างกาย หลงั ใช้สารเคมีควรอาบน้า เปลี่ยนเสือ้ ผา้ ใหม่ เคร่ืองฉีด

พ่นสารเคมีควรเกบ็ ให้เปน็ ทีพ่ ้นจากมอื เด็ก และหากจากส่งิ ของบริโภค การเกบ็ ผลผลิตควรทง้ิ ชว่ งหา่ งจากการฉีดสารเคมีอยา่ งนอ้ ย 6-10 วนั หรือตามทีฉ่ ลาก กาหนด ถ้าหากได้รบั พษิ จากสารเคมีให้ปฏิบัติตามคาแนะนาเบื้องตน้ ท่กี ากับไว้ บนฉลากกอ่ นนาสง่ แพทย์ ขอ้ ควรระวงั ในการใช้สารเคมี 1. การใชส้ ารทางดิน – สารทางดินหรอื สารคมุ ต้องพจิ ารณา ดงั นี้ 1.1 ในการเลือกใช้สารเคมีจะตอ้ งเลอื กใหต้ รงกับพชื ปลูกและให้ตรง กับวชั พชื ทมี ีอยู่ด้วย 1.2 อัตราการใช้ ในฉลากโดยทั่วๆไปจะบอกอตั ราทีใ่ ชต้ อ่ ไรตาม สภาพของดิน ในสภาพดินเหนียวหรอื ดินท่อี ินทรยี ์วัตถสุ ูงควรใชอ้ ัตรา คอ่ นขา้ งสงู แต่ถ้าในสภาพดนิ ทราย หรือ ดินท่มี ีอนิ ทรียวตั ถุต่าใหใ้ ชอ้ ัตรา ต่า เนือ่ งจากดินเหนียวหรอื ดินท่ีมีอินทรียว์ ัตถุสูงมีความสามารถในการดดู ซมึ สารเคมีมากกวา่ ดนิ ทรายทีม่ ีอินทรีย์วัตถุต่างๆ 1.3 ปริมาณน้าตอ่ ไร่ กอ่ นฉีดพ่นสารเคมีควรทราบว่าเครอี่ งฉดี ทใี่ ช้ เมอ่ื ฉดี ด้วยแรงอดั คงท่แี ละเดินด้วยความเรว็ พอดีที่แน่นอนและฉีดยา สมา่ เสมอแล้ว จะได้ปรมิ าณน้าออกจากหวั ฉีดกีล่ ิตรต่อไร่ ทัง้ น้ีเพ่อื ท่จี ะ ผสมไดถ้ ูกตอ้ ง เช่น ถา้ ทราบวา่ ปริมาณน้ายาต่อไรเ่ ท่ากับ 90 ลิตรและ อตั ราท่ตี ้องการใช้เทา่ กับ 300 กรมั ต่อไร่ ถา้ ถงั จเุ ต็มทไ่ี ด้ 18 ลิตร ก็ หมายความว่าเราจะต้องผสมสารเคมเี ตม็ ถัง 5 ครง้ั และแตล่ ะครง้ั ผสม สารเคมีลงไป 60 กรมั กจ็ ะไดป้ ริมาณตามทีต่ อ้ งการในการหาปริมาณ น้ายาตอ่ ไรน่ ้ีใหท้ ดลองเอาน้าใสล่ งในถงั ฉีดยาจานวน 10 ลติ ร แล้วนาไป ฉีดดูวา่ ในพ้นื ท่อี นั หนึง่ เชน่ 80 ตารางเมตร จะตอ้ งใช้นา้ ไปเท่าไรแลว้ เอา น้าทีเ่ หลอื หาวัดดกู ็ทราบปรมิ าณน้าท่ฉี ีดออกไป (พยายามลองทาซา้ อกี 2- 3 คร้ัง เพื่อใหแ้ น่ใจ) สมมุตแิ บบ KM-08/1 7 วา่ เหลือ 5.5 ลิตรก็แสดงว่า ใชไ้ ป 4.5 ลติ ร ต่อไปกห็ าว่าเนอื้ ท่ี1 ไร่ หรือ 1600 ตารางเมตร จะต้องใช้ น้าเท่าไร ซงึ่ คิดแล้วกจ็ ะได้ 90 ลติ ร เปน็ ตน้ 1.4 ผลตกคา้ งของสารเคมี สารคมุ โดยทั่วไปจะคุมวชั พชื ไดน้ าน ประมาณ 5 – 10 สปั ดาห์

2. การใชส้ ารทางใบ – หมายถึงสารเคมีที่ใชห้ ลังจากวชั พชื งอกขนึ้ มาแล้ว ส่งิ ท่คี วรพจิ ารณา มดี งั น้ี 2.1 คุณภาพของน้าที่ใช้ – สารบางอย่าง เชน่ ไกลโฟเสท พาราควทั ถา้ น้าขนุ่ มากจะไมไ่ ด้ผลดเี ท่าทคี่ วร โดยเฉพาะนา้ ท่มี ีลักษณะกระดา้ ง นา้ กรอ่ ยหรอื น้าสภาพดนิ ทเ่ี ป็นกรดจัดหรอื ดนิ เปรี้ยว 2.2 การผสมสารเคมีมากกวา่ หนงึ่ ชนิด ควรทาเม่ือมีการแนะนา เท่านนั้ สารเคมีอาจผสมกนั ไม่ได้ เพราะคุณสมบตั กิ ารทาลายตา่ งกนั เช่น สารประเภทสัมผสั ผสมกบั สารเคลอ่ื นย้ายไมเ่ หมาะสม หรอื อาจเป็นเพราะ ปฏิกริ ิยาทางเคมี หรอื ชวี เคมบี างอยา่ งแตกต่างกนั อาจทาใหส้ ารทผ่ี สม เสยี ไป เช่น ไกลโฟเสท เม่อื ผสมกับสารเคมีอีกหลายๆชนิด 2.3 สภาพแวดล้อมขณะฉีดหรือหลังฉดี นับวา่ จาเป็นมาก สาหรับ สารเคมีหลายชนดิ ทง้ั โดยตรงและโดยออ้ ม - ฝน มกั จะเป็นอุปสรรคกับการใชส้ ารเคมีทางใบ โดยเฉพาะอยา่ ง ยงิ่ ประเภทเคลื่อนย้ายซ่งึ มักจะเขา้ ไปในพืช ไดช้ า้ กวา่ ประเภทสมั ผสั เชน่ ไกลโฟเสท ตอ้ งการช่วงปลอดฝนหลงั จากฉีดแลว้ ถงึ 5 ถึง 6 ชว่ั โมง ในขณะทพ่ี าราควัทซึ่งเปน็ ประเภทสมั ผัสใช้เวลาไม่ถงึ 15 นาที กเ็ พยี งพอ - ความช้ืน และสภาพบรรยากาศโดยท่ัว ไปแล้ว สารเคมีทางใบ โดยเฉพาะอยา่ งย่ิง ประเภทเคล่อื นยา้ ยจะใช้ได้ผลดีขนึ้ ในสภาพทีม่ ี ความช้ืนสูง ท้ังในดนิ และอากาศ หากนาไปใช้ในชว่ งท่อี ากาศคอ่ นขา้ งแหง้ แล้ง หรือในสภาพท่ีไมค่ ่อยเหมาะสมกับการเจรญิ ของต้นแลว้ การควบคุม จะไมไ่ ด้ผลดเี ทา่ ทคี่ วรเลย - ลม ปัจจุบนั มีการพัฒนาใชร้ ะบบน้าน้อยกนั มากขน้ึ ในวงการ ควบคมุ วัชพืช โดยอาจใชเ้ พยี งประมาณลติ รครึง่ จนถึง5 ลิตรต่อไร่ ท้ังน้ี นบั วา่ เปน็ สง่ิ ทด่ี แี ต่การใชใ้ นสภาพทมี่ ีลม เป็นเรอื่ งทีจ่ ะต้องระมัดระวัง มากเพราะยิง/ ทาให้ฟุง้ กระจายมาก

ปญั หาบางอยา่ งที่อาจเกิดข้นึ จากการใช้สารเคมี 1. ละอองสารเคมี การฉีดสารเคมีควรระวงั ละอองของสารเคมี ทีจ่ ะปลวิ ไปถกู พชื ปลกู ข้างเคยี งอาจเปน็ ของเราเอง หรอื ของผ้อู น่ื โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ สารประเภทเคลื่อนย้ายท่ีมผี ลในการทาลายรุนแรง เชน่ สารเคมใี นกลุ่มพนี ็อกซีส์ และสารเคมีประเภท “ฮอรโ์ มน” อนื่ ๆยง่ิ ถ้าเลอื กใชช้ นิดท่ีเปน็ เอสเทอร์ยิง่ ต้อง ระมัดระวงั มากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยงิ / พืช เช่น ฝา้ ย ยาสูบ อง่นุ และมะเขือ เทศ ซ่ึงอ่อนไหวงา่ ย นอกจากนพ้ี ืชปลกู ใบกว้างอย่างอ่นื ก็ใหร้ ะวังดว้ ย เช่น มัน สาปะหลงั มะละกอ และพืชพวกแดง 2. เลอื กเวลาฉดี สารเคมขี ณะลมสงบ โดยมากช่วงเช้าตงั้ แต่ 6 – 10 นาฬิกา และบา่ ยหลัง 16นาฬกิ าไปแลว้ ลมมกั จะสงบ ควรจะเปน็ เวลาที/ เหมาะสมสาหรบั ฉดี ยาโดยไม่มกี ารปลวิ มากนักแบบ KM-08/1 8 3. การทาความสะอาดเคร่อื งมือฉดี พ่นสารเคมี โดยเฉพาะอย่างย่ิง การ ล้างถงั ใหญซ่ ึ่งบรรจุน้ายาหลายรอ้ ยลติ ร โดยท่ัวไปแม้จะฉดี ยาหมดแล้วแตย่ งั เหลือน้ายาจานวนหนึ่ง (บางทอี าจเขม้ ข้นมาก) ในการลา้ งจะต้องดูวา่ นา้ ยาทล่ี ้าง แล้วไหลไปทางใบมตี ้นไม้หรือพชื ปลกู อย่หู รอื ไมใ่ บบริเวณนั้น โปรดอย่าประมาณ วา่ ตน้ ไมใ้ หญๆ่ จะไมม่ ีสิทธิตาย 4. การใช้สารเคมีผดิ หลักการทาให้เกิดผลเสีย เชน่ การใช้ 2, 4- ดี กาจัด ผักตบชวาในหน้าแลง้ ซ่ึงมีนา้ คอ่ นข้างน้อย และน้าดีไมค่ อ่ ยมกี ารหมุนเวียน ปญั ญาจะเกดิ ข้ึนแนน่ อนโดยเฉพาะอย่างยง่ิ เมื่อผกั ตบชวาจานวนมากเมือ่ น้า เสยี จะทาใหป้ ลารวมทงั้ สัตวน์ ้าอนื่ ๆตาย เนื่องจากเกดิ การขาดออกซิเจนในน้า 5. สารเคมีท่ีเป็นอันตราย สารเคมีบางชนิดอาจเป็นอันตรายถึงตายได้ให้ ระวังมากๆเช่น พาราควัทพยายามอย่าให้เข้าปาก เข้าจมูก 2, 4- ดี ถ้าสูดลม หายใจเข้าไปมากๆอาจถึงกับสลบ แอลลาคลอร์ แม้อันตรายจะไม่รุนแรงแต่ใน การฉีดก็ต้องระวังเมื่อถูกเข้าจะทาให้แสบผิวหนังสารเคมีเข้มข้นท่ีออกจากขวด หรือท่ีเป็นพง อย่าพยายามใหถ้ ูกกับผวิ หนังเป็นดที ี่สุด ปกตแิ ลว้ เวลาสารเคมีท่ีใช้ ทุกชนิดจะบ่งบอกระดับการเป็นพิษ ท่ีฉลากข้างขวดของสารน้ันเรียกว่า ค่า LD50 Median Lethal Close หมายถึง น้าหนักสารที่สามารถฆ่าสัตว์ที่ นามาทดลองตายไปเป็นจานวนครึ่งของจานวนท่ีใช้ทดลอง น้าหนักสารมีค่าเป็น

มิลลิกรัมของสารต่อน้าหนักสัต ว์เป็นกิโลกรัม LD50 Median Lethal Concentration หมายถึง ความเข้มข้นที่สามารถฆ่าสัตว์หรือพืชให้ตายไป ครึ่งหนึง่ ของจานวนสิง่ มีชวี ิตทใี่ ชท้ ดลองพบว่าค่า LD50 ย่ิงสูง จะมคี วามเป็นพิษ ต่า ค่า LD50 ยงิ่ ตา่ จะมีความเปน็ พิษสงู สารกาจัดวชั พืชสว่ นใหญ่จะมคี วามเป็น พิษต่า คือค่า LD50 สูงซึ่งจะต่างจากสารกาจัดแมลง มีค่า LD50 ต่ามีความเป็น พิษสูง พบว่าสารกาจัดวัชพืช หลายชนิดมีค่า LD50 สูงกว่าเกลือแกงที่เรา รับประทานท 8.4 ด้านสัตวห์ รือพชื มพี ิษ เกษตรกรควรศึกษาลักษณะและธรรมชาติ ของสตั วม์ ีพิษเพอื่ หาทางหลกี เลยี่ งและป้องกนั อนั ตราย สตั ว์เล้ียงควรนาไปฉีด วคั ซีนป้องกนั โรคต่างๆ อย่างสมา่ เสมอและควรรักษาความสะอาดบริเวณบ้าน และสภาพแวดล้อมเปน็ ประจาไมใ่ ห้รกรงุ รงั เพ่ือปอ้ งกันสัตวม์ พี ษิ เข้ามาอยู่อาศัย ผกั ผลไม้ก่อนนามารบั ประทานควรล้างในนา้ สะอาดหลายๆคร้ังหรอื แชใ่ นนา้ ผสมดา่ งทับทิมเลก็ นอ้ ยเพอ่ื ช่วยฆา่ เชอื้ โรค ไมค่ วรรับประทานพชื หรือเห็ดชนิดท่ี ไม่รจู้ ักคุ้นเคย เพราะอาจเกดิ พษิ ได้

8.5 ด้านภัยจากธรรมชาติ การเกดิ ภยั ธรรมชาตแิ มจ้ ะไมส่ ามารถควบคุม การเกิดได้ แตส่ ามารถปอ้ งกนั ได้โดยการปฏบิ ตั ิดงั นี้ หากอย่ใู นบริเวณทเ่ี กิดภัย ธรรมชาติ เช่น มนี า้ ทว่ ม มลี มพายุ ควรเตรียมพอ้ มอยู่เสมอ อยา่ งน้อยก็ช่วย แกไ้ ขสถานการณ์จากหนักให้เปน็ เบาได้และขณะท่ฝี นตกหนกั ไม่ควรทางานในที่ โลง่ แจง้ เพราะอาจจะถกู ฝ้าผ่าได้ ไม่ควรหลบฝนหรือลมพายใุ ตต้ น้ ไมใ้ หญ่ เพราะก่ิงไมอ้ าจหักโค่นลงมาทบั ควรหลบฝนบริเวณต้นไมเ้ ต้ยี หรือพมุ่ ไม้ หมัน่ ตรวจสอบรายงานขา่ ว สภาพภมู ิอากาศอยา่ งสม่าเสมอ เพอ่ื จะได้ป้องกนั ตนเอง ไดอ้ ยา่ งท่วงที 8.6 ด้านอันตรายจากโรคทั่วไป ควรสวมใส่ชดุ ทางานท่เี หมาะสมกบั สภาพดินฝา้ อากาศและสะดวกตอ่ การทางาน บารงุ รักษารา่ งกายให้สมบรู ณ์ แขง็ แรงอยเู่ สมอ และควรรกั ษาความสะอาดสภาพแวดลอ้ มของบา้ น รวมทั้ง แหลง่ เกษตรกรรมใหถ้ กู สุขลักษณะ 9.หลกั การเลอื กและความปลอดภยั ในการใชเ้ ครื่องมือในการประกอบอาหาร

9.1 หลกั การเลอื กเคร่อื งมือเครื่องใช้ในการประกอบอาหาร เครอ่ื งมอื เครื่องใช้ในการประกอบอาหาร ทาจากวัสดหุ ลายชนดิ มีความ ทนทานและราคาแตกตา่ งกัน ในการเลือกซ้ือควรพจิ ารณาใหร้ อบคอบ เพ่ือการ ใชป้ ระโยชน์ไดอ้ ยา่ งเต็มท่ีและยาวนาน สรุปได้ ดงั น้ี 1. เหมาะสมกับชนดิ ของอาหาร 2. อยู่ในสภาพดี ไมบ่ บุ งอ 3. สะดวกต่อการใช้งาน 4. ดแู ลรกั ษาทาความสะอาดไดง้ า่ ย 5.ประหยัดเวลาในการหงุ ตม้ เชน่ ร้อนเรว็ ทาความสะอาดง่าย เป็นตน้ 9.2 ความปลอดภัยในการใช้อุปกรณใ์ นการประกอบอาหาร อุปกรณเ์ ครอ่ื งมือเคร่ืองใชท้ เ่ี ลือกใช้งานอยา่ งเหมาะสว่ ยให้ ทางานไดผ้ ลงานมีคุณภาพท้ังน้ีผู้ใชต้ ้องระมัดระวงั เร่ืองความปลอดภยั ของ ตนเอง และบุคคลอ่นื เพราะความประมาทเลนิ เล่ออาจก่อใหเ้ กิดอุบัติเหตไุ ด้ ดงั นนั้ ผู้ใชเ้ คร่อื งมือควรระมดั ระวงั ตนเองตลอดเวลาระยะเวลาท่ีใชเ้ ครอ่ื งมอื โดยยดึ หลกั การ ดงั นี้

1. เมอื่ ใช้ของมคี มต้องระมดั ระวัง และเลอื กใชใ้ ห้เหมาะสมกบั ประเภท ของงาน เช่น เม่ือปอกผลไมไ้ ม่ควรใช้มดี สบั เพราะวา่ มีดสับมรชนี ้าหนกั มาก อาจทาให้มดี บาดมอื ได้ 2. อุปกรณท์ ี่ใชใ้ นการประกอบอาหารประเภทเครอื่ งใช้ไฟฟา้ ตอ้ งศกึ ษา วธิ ใี ช้ใหเ้ ข้าใจกอ่ นการนามาใช้ และใช้ตามคาแนะนาอย่างเคร่งครดั 3.อุปกรณช์ นิ้ ใดทใี่ ชบ้ ่อย ควรวางไวใ้ กลม้ อื และไม่ควรวางไว้ในท่สี ูงเกนิ เออื้ ม 4. เม่อื หุงตม้ อาหารดว้ ยเตาถา่ นควรดับไฟใหห้ มด อย่าปลอ่ ยท้ิงไว้ ถา้ หงุ ต้มอาหารด้วยเตาแกส๊ จะต้องปดิ แก๊สทกุ คร้งั 5. ในการใชอ้ ปุ กรณ์ทีเ่ ปน็ เคร่อื งใช้ไฟฟา้ ก่อนทาความสะอาดหรือถอด ชนิ้ สว่ นตา่ งๆ จะตอ้ งถอดปล๊ักไฟกอ่ นเสมอ 6. ในการใช้เตาอบไฟฟ้าแบบจานหมนุ หรือทเ่ี รยี กว่า เตาไมโครเวฟ ก่อน การใช้งานควรศกึ ษาหลักการวิธีใช้ใหเ้ ข้าใจและปฏิบัตติ ามโดยเคร่งครัด เพราะว่าจะสง่ ผลถึงความปลอดภยั เช่น ตงั้ เวลาใหเ้ หมาะสมกับชนดิ ของอาหาร นาอาหารออกจากเตาตามขอ้ แนะนาที่กาหนด เป็นต้น 7. เม่อื ยกหม้อหรอื กระทะลงจากเตาเพ่อื ปกป้องกนั ความร้อนถึงมอื ควร ใชผ้ ้าจบั ชองร้อนท่มี คี วามหนาพอเหมาะ 8. เมอื่ นาอาหารทอดหรอื ต้ม อย่าหยิบอาหารดว้ ยมือใส่ลงกระทะใน ระยะสูงเพราะจะทาให้นา้ หรอื น้ามันกระเด็นลวกมอื ได้ ควรใชท้ ัพพีตักอาหาร หรอื ตะหลิววางลงในกระทะหรอื หมอ้ ทต่ี ั้งไฟ 9. การจัดเก็บอุปกรณเ์ ครอื่ งใช้ทม่ี ีน้าหนักมากจะตอ้ งจดั เก็บไว้ด้านลา่ ง ของชั้นวางของหรือชน้ั ล่างของต้เู กบ็ อปุ กรณเ์ สมอ ทัง้ นี้เพอ่ื ความปลอดภัยจาก การถูกอปุ กรณห์ ล่นทับ

10. การแก้ไขปัญหาเม่อื เกิดอุบตั เิ หตุ อบุ ัติเหตุท่เี กดิ จากการปฏบิ ตั ิงานมีโอกาสเกิดขึ้นไดเ้ สมอ แมว้ า่ จะมกี าร วางแผนจดั ระบบการปอ้ งกนั เปน็ อยา่ งดเี พยี งใดก็ตาม ดงั นั้นนอกจากการวาง แผนการปอ้ งกันแลว้ ควรมกี ารวางแผนการแกไ้ ขไว้ด้วย เพอื่ ลดการสญู เสียชีวติ และทรัพยส์ ินใหน้ ้อยลง ในการแกไ้ ขอุบัติเหตทุ ีจ่ ะเกดิ ขน้ึ ควรมีการศึกษา เพื่อ เตรยี มตัวแกไ้ ขปญั หาเฉพาะหนา้ เช่น อบุ ตั ิเหตทุ ่เี กิดจาก อัคคภี ยั พายุ วสั ดุเคมี อุทกภัย แผน่ ดินไหว สารกัมมนั ตภาพรังสี ใหท้ ุกคนได้ทราบ ตระหนกั ถงึ ความ จาเปน็ ของการปอ้ งกันแกไ้ ข และจดั ใหม้ ีการฝึกซ้อมเพ่ือเตรยี มตวั รับมอื เมือ่ มี อุบัติเหตแุ ละอบุ ัตภิ ยั มาถึง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook