Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พ่อขุนราม (3)

พ่อขุนราม (3)

Published by ชลนิชา จันอ่ํา, 2021-02-28 11:36:39

Description: พ่อขุนราม (3)

Search

Read the Text Version

พ่อขุนรามคําแหง มหาราช พระราชบดิ าแหง อกั ษรไทย อุ ท ย า น ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร สุ โ ข ทั ย King Ramkhamhaeng the Great : The Father of Thai Alphabets

1 พระราชประวตั ิสว่ นพระองค์ 2 พระราชกรณียกิจ 3 ศลิ าจารกึ และการกําเนิด ของอกั ษรไทย 4 การเชดิ ชพู ระเกียรติคุณ

พ่อขนุ รามคําแหงมหาราช : พระราชบดิ าแห่งอกั ษรไทย ภาพที่ 1 พระบรมรปู พอ ขุนรามคาํ แหงมหาราช ณ อทุ ยานประวตั ศิ าสตรสโุ ขทยั จงั หวัดสุโขทยั ขอบคณุ ภาพจาก : วัชรี พูลแสง 1 พระราชประวตั ิสว่ นพระองค์ 1.1 พระราชสมภพและพระราชวงศ์ ตามพงศาวดารโยนก พอขนุ รามคาํ แหงมหาราชแหงกรงุ สโุ ขทัย พญามังรายมหาราชแหง ลานนา และพญางําเมอื งแหงพะเยา เปน ศิษยรว มพระอาจารยเดียวกนั ณ สาํ นกั พระสุกทันต ฤๅษี ท่ีเมืองละโว จึงนาจะมอี ายุรุนราวคราวเดยี วกนั โดยพญามังรายประสตู ิเม่ือ พ.ศ. 1782 พอขุนรามฯ นา จะประสูตใิ นปใ กลเคียงกนั น้ี พอ ขุนรามคาํ แหงมหาราช เปน พระราชโอรสองคที่ 3 ของพอขนุ ศรีอนิ ทราทติ ย (ปฐม กษัตริยใ นราชวงศพระรว งแหงราชอาณาจกั รสโุ ขทยั ) กับนางเสือง พระเชษฐาองคแ รก ส้นิ พระชนมตัง้ แตพ อขุนรามคาํ แหงยงั ทรงพระเยาว พระเชษฐาองคท ี่สองทรงพระนามตาม ศิลาจารกึ วา “พระยาบานเมอื ง” ซ่งึ ไดเ สวยราชยตอ จากพระราชบิดา และเมอ่ื สน้ิ พระชนม แลว พอ ขนุ รามคาํ แหงมหาราชกเ็ สวยราชยแทนตอ มา พระองคม ีพระราชโอรสทรงพระนามวา “พญาเลอไท” และพระราชธิดาทรงพระนามวา “พระสวุ รรณเทวี หรือพระนางเทพสดุ าสรอ ยดาว” ซ่ึงไดทรงอภเิ ษกสมรสกบั กษัตรยิ มอญ ทรงพระนามวา “พระเจาฟารวั่ ” แหงเมืองเมาะตะมะ (ดนัย ชยั โยธา, 2548, น. 129)

1.2 พระนาม พอขุนรามคําแหงมหาราช ทรงมพี ระนามเดิมวา “ขุนรามราช” เมอื่ ทรง พระชนมม ายไุ ด 19 พรรษา ไดช วยพระราชบิดาออกสรู บในการสงครามกบั ขุนสาม ชน เจาเมอื งฉอด ทรงเปน นกั รบทเี่ ขม แข็งสามารถเขา ชนชางชนะขนุ สามชนพวก เมอื งฉอดแตกพายไป พอขุนศรีอินทราทิตยจงึ พระราชทานพระนามแกขุนรามราช วา “พระรามคําแหง” 1.3 การเสวยราชย์ พอขนุ รามคาํ แหงมหาราช เสดจ็ ขน้ึ ครองราชยส มบัตติ อ จากพอ ขุนบานเมอื ง พระเชษฐา เปนพระมหากษตั รยิ ร ชั กาลท่ี 3 แหงราชวงศพระรวง ครองกรุงสโุ ขทยั ในป พ.ศ. 1822 ถึงประมาณ พ.ศ. 1841 รวมระยะเวลา 19 ป (อจั ฉรา ปรชี าธีร ศาสตร, 2553) 1.4 สวรรคต จากจดหมายเหตุจีน พอขุนรามคําแหงมหาราชสวรรคตเมอื่ พ.ศ. 1841 และพระยาเลอไทย ซ่ึงเปน พระราชโอรสไดเสวยราชยแ ทนในปน ั้น (กระทรวง วฒั นธรรม, 2559)

2 พระราชกรณียกิจ 2.1 ด้านการเมอื งการปกครอง ลกั ษณะการปกครองในสมัยของพระเจารามคาํ แหงหรอื ราษฎรมักเรยี ก กันตดิ ปากวาพอขนุ รามคาํ แหงน้ัน เปน การปกครองแบบระบอบปต ุราชาธปิ ไตย หรอื พอปกครองลกู พระองคท รงถือเสมือนวา พระองคเปนบดิ าของราษฎร ทง้ั หลาย ทรงใหคําแนะนํา สงั่ สอน ใกลชิดเชนเดียวกับบิดาจะพงึ มตี อบตุ ร โปรดการสมาคมกบั ไพรบา นพลเมอื งไมเลอื กชัน้ วรรณะ ถาแมว าใครจะถวาย ทูลรองทุกขประการใดแลว ก็อนญุ าตใหเขาเฝา ใกลชิดไดไมเ ลือกหนา ในทุก วันพระมักเสดจ็ ออกประทับยังพระแทนศิลาอาสน ทาํ การสัง่ สอนประชาชนให ต้ังอยใู นศลี ธรรม ในดานการปกครองเพอ่ื ความปลอดภยั และมั่นคงของประเทศนน้ั พระองค ทรงถือวาชายฉกรรจที่มีอาการครบ 32 ทุกคนเปน ทหารของประเทศ พระเจา แผน ดนิ ทรงดาํ รงตาํ แหนงจอมทพั ขา ราชการก็มตี าํ แหนง ลดหลน่ั เปน นายพล นายรอย นายสบิ ถดั ลงมาตามลําดบั สวนการปกครองภายใน จดั เปน สวนภูมภิ าคแบง เปน หวั เมอื งช้นั ใน ชน้ั นอกและเมอื งประเทศราช หวั เมอื งช้ันใน มีพระเจาแผน ดินเปนผปู กครอง โดยตรง มีเมืองสุโขทัยเปน ราชธานี เมืองศรีสชั นาลัย (สวรรคโลก) เปน เมอื ง อุปราช มเี มืองทุงยั้งบางยม สองแคว (พิษณโุ ลก) เมืองสระหลวง (พจิ ติ ร) เมืองพระบาง (นครสวรรค) และเมอื งตาก เปน เมืองรายรอบ สําหรบั หวั เมืองชัน้ นอกนน้ั เรยี กวา เมืองพระยามหานคร ให ขนุ นางผูใหญท่ไี วว างพระราชหฤทัยไปปกครองมีเมืองใหญบ างเล็กบาง เวลามี ศกึ สงครามกใ็ หเกณฑพ ลในหวั เมอื งขนึ้ ของตนไปชวยทาํ การรบปองกนั เมือง หวั เมืองชั้นนอกในสมัยน้นั ไดแก เมอื งสรรคบรุ ี อทู อง ราชบุรี เพชรบรุ ี ตะนาว ศรี เพชรบรู ณ และเมอื งศรเี ทพ สว นเมืองประเทศราชนั้น เปน เมอื งที่อยชู ายพระราชอาณาเขตมกั มี คนตา งดา วชาวเมอื งเดิมปะปนอยูม าก จงึ ไดต้งั ใหเจา นายของเขาน้นั จดั การ ปกครองกนั เอง แตตอ งถวายดอกไมเ งนิ ดอกไมทองทุกป แลเมื่อเกิดศึก สงครามจะตองถลมทหารมาชวย เมืองประเทศราชเหลาน้ี ไดแ ก เมือง นครศรีธรรมราช มะละกา ยะโฮร ทะวาย เมาะตะมะ หงสาวดี นา น หลวงพระบาง เวยี งจนั ทร และเวยี ง คํา (มหาวทิ ยาลยั รามคําแหง สาขาวิทยบริการเฉลมิ พระเกียรตจิ งั หวัด ปราจนี บรุ ี, 2564)

ภาพท่ี 2 การแบง พนื้ ท่กี ารปกครองในสมยั สโุ ขทยั ท่ีมา : HTTPS://WWW.SLIDESHARE.NET/YIMWIPHAWAN/PTT-80094481 ภาพที่ 3 แผนภมู แิ สดงทีต่ ั้งหวั เมืองช้ันในและหัวเมืองช้ันนอกสมยั สโุ ขทยั ทม่ี า : HTTPS://SITES.GOOGLE.COM/SITE/HISTORYWITHKRUNAMFON /HOME/INTRO_SUKHOTHAI/ SUKHOTHAI/GOVERMENT

พระราชกรณียกจิ ทางดานการเมอื งการปกครองของพอขนุ รามคาํ แหงมหาราช (กระทรวงวัฒนธรรม, 2559) ประกอบดวย 1.ทรงทําสงครามขยายอาณาเขตไปอยางกวางขวางมากท่สี ดุ ในสมยั สโุ ขทยั 2. โปรดใหส รางพระแทน ศิลาขึ้น เรียกวา “พระแทนมนังคศิลาบาตร” ตัง้ ไวก ลางดงตาลสําหรบั ไวใ หพระภกิ ษสุ งฆข้ึนแสดงธรรมสวนะและทรงใชเปน ทป่ี ระทบั สาํ หรบั อบรมสง่ั สอนบรรดาขนุ นางและพสกนิกรในวันธรรมดา 3. ทรงเอาพระทยั ใสด ูแลทุกขสขุ ของราษฎรอยา งใกลชดิ พระองคโ ปรดให แขวนกระดิง่ ไวท ีพ่ ระดูพระราชวงั เพ่อื ใหร าษฎรท่ีไดร ับความเดือดรอ นและไม ไดรับความเปน ธรรม ไปสน่ั กระด่ิงกราบทูลความเดอื ดรอนของตนใหพระองค ทราบ พระองคก ็จะทรงตัดสินดวยพระองคเ อง 2.2 ด้านเศรษฐกิจและการค้า พระราชกรณียกจิ ทางดานเศรษฐกิจท่สี ําคญั ของพอขุนรามคาํ แหงมหาราช (ศุภารัตน อุนอมิ่ , 2564) ประกอบดวย 1.) สง เสรมิ การคาขายแกป ระชาชน พอขนุ รามคาํ แหงมหาราช ทรงใชนโยบายทีเ่ อื้อประโยชนทางดา นเศรษฐกิจแก ประชาชน โดยใหประชาชนมีสิทธเิ สรีภาพ สามารถทําการคา ขายไดอ ยา งอิสระเสรี ไมมสี ินคา ตองหาม และไมเก็บภาษผี า นดา น (จังกอบ) จากพอ คา แมคา ภายใน อาณาจกั รสโุ ขทัย

2.) ทรงโปรดฯ ใหสรา งเตาเผาเครอ่ื งสงั คโลก พอขุนรามคาํ แหงมหาราชทรงโปรดฯ ใหสรา งเตาทเุ รยี ง เพอ่ื ใชเ ผา เคร่ืองปน ดนิ เผา (เครอ่ื งสงั คโลก) เปน จาํ นวนมากในอาณาจกั รสโุ ขทัย เพือ่ ผลติ ใชใน อาณาจกั ร และสงออกไปขายยังตา งประเทศ 3.) การจัดระบบชลประทาน อาณาจกั รสโุ ขทยั มีสภาพทางธรรมชาตไิ มเออ้ื อํานวยตอ การเพาะปลูก เน่อื งจากในฤดนู ํา้ หลากจะมีปรมิ าณน้ํามาก ไหลบามาจากทางตอนเหนอื ทําให มนี าํ้ ทว มขงั และในฤดแู ลงน้ําจะแหง ประกอบกบั สโุ ขทยั มีสภาพดินเปน ดินปน ทรายไมอุมนา้ํ ทําใหผ ลผลติ ทางการเกษตรไมอ ดุ มสมบูรณนัก พอ ขุนรามคาํ แหง มหาราช ทรงโปรดฯ ใหส รา งเขอ่ื นดินขนาดใหญ สาํ หรบั เก็บกักนาํ้ ทางทิศตะวัน ตกเฉยี งใตของตวั เมืองสุโขทยั ไดแก “เข่ือนสรีดภงส” หรือทาํ นบพระรว ง และ ภายในตวั เมอื งไดขดุ สระนํ้าขนาดใหญห ลายแหง เรยี กวา “ตระพัง” ทําให อาณาจักรสุโขทยั มนี ้ําใชสอยไดอยางเพยี งพอ ภาพท่ี 4 เตาทุเรยี งที่ใชในการผลิตเครื่องปน ดนิ เผาในสมยั สุโขทยั HTTPS://SITES.GOOGLE.COM/SITE/63SUPHARAT36/PHRA-RACH- KRNIYKIC

ภาพท่ี 5 เขอ่ื นสรีดภงสท ี่ใชกกั เกบ็ น้ําในสมยั สุโขทยั ทม่ี า : HTTPS://SITES.GOOGLE.COM/SITE/63SUPHARAT36/PHRA-RACH- KRNIYKIC 2.3 ด้านศาสนาและวฒั นธรรม ในสมัยพระเจารามคาํ แหงน้นั ปรากฏวา ศาสนาพทุ ธไดเ จริญรุง เรืองขนึ้ มาก เพราะพระองคท รงเลอื่ มใสศรทั ธาอยา งมาก เชน เมื่อมคี นไทยเดินทางไปยังเกาะ ลังกา เพือ่ บวชเรยี นตามลทั ธิลังกาวงศ คอื ถือคติอยา งหินยาน มีพระไตรปฎ กเปน ภาษามคธ แลวเขามาตัง้ เผยแพรพ ระพุทธศาสนาอยทู ่เี มืองนครธรรมราชนนั้ พระเจารามคําแหงยังไดเสรจ็ ไปพบดวยพระองคเ องแลว นมิ นตพระภิกษุน้ันขนึ้ มาตัง้ ใหเ ปน สงั ฆราชกรงุ สุโขทัย และไดบวชในคนไทยทเี่ ลื่อมใสศรัทธาตอ มาตาม ลําดบั ตอมาพระเจารามคําแหงไดทาํ ไมตรีกบั ลังกาและไดพระพุทธสหิ งิ คมาจาก ลังกา แลนบั แตน นั้ มาคนไทยจึงไดนับถอื ลัทธลิ งั กาวงศส ืบมา (มหาวิทยาลัย รามคําแหง สาขาวิทยบรกิ ารเฉลิมพระเกียรติ จังหวดั ปราจนี บรุ ี, 2564)

พระราชกรณียกิจท่สี าํ คญั ของพอขนุ รามคําแหงมหาราชทางดาน ศาสนาและวัฒนธรรม (กระทรวงวัฒนธรรม, 2559) มดี งั น้ี 1.) ทรงคดิ ประดษิ ฐอกั ษรไทยขึ้นใชแทนตวั อกั ษรขอมทเ่ี คยใชกันมาแต เดิม เม่อื พ.ศ. 1826 เรียกวา “ลายสอื ไทย” และไดมกี ารพฒั นาการมา เปนลําดับจนถงึ อักษรไทยในยุคปจ จบุ นั ทาํ ใหคนไทยมีอักษรไทยใชมา จนถึงทุกวันน้ี 2.) ทรงรบั เอาพระพุทธศาสนา นกิ ายเถรวาท ลทั ธิลังกาวงศ จากลงั กา ผา นเมอื งนครศรธี รรมราช มาประดษิ ฐานท่ีเมืองสุโขทัย ทําใหพระพทุ ธ ศาสนาวางรากฐานมน่ั คงในอาณาจกั รสโุ ขทยั และเผยแผไปยงั หวั เมอื งตา ง ๆ ในราชอาณาจกั รสุโขทยั จนกระทั่งไดก ลายเปนศาสนาประจาํ ชาติไทยมา จนถึงทกุ วนั นี้ 3.) โปรดใหจารกึ เร่อื งราวบางสวนทเ่ี กดิ ในสมยั ของพระองค โดยปรากฏ อยใู นศลิ าจารึกสุโขทัยหลกั ท่ี 1 ทาํ ใหค นไทยยคุ หลงั ไดท ราบ และนกั ประวัติศาสตรไ ดใ ชศิลาจารึกดังกลาวเปน ขอ มลู หลกั ฐานในการศกึ ษา คนควาเรอื่ งราวประวตั ิศาสตรส โุ ขทัย 4.) ทรงชกั นําใหร าษฎรประกอบการบุญกุศล ศรทั ธาในพระพทุ ธศาสนา พระองคเองทรงเปนอัครศาสนูปถัมภก ไดทรงสรา งแทน มนงั คศิลาบาตรไว ท่ดี งตาล สาํ หรับใหพระสงฆแสดงธรรมและบางคร้ังกใ็ ชเ ปน ท่ปี ระทับวา ราชการแผน ดนิ

2.4 ด้านธรรมเนียมประเพณี “คนในเมืองสุโขทยั นมี้ กั ทาน มักทรงศลี มกั อวยทาน พอ ขุนรามคาํ แหง เจา เมอื งสุโขทัยนี้ ท้ังชาวแมช าวเจา ทว ยปว ทวยนาง ลกู เจา ลูกขนุ ท้ังส้ินทั้งหลาย ทั้งผชู ายผูหญงิ ฝงู ทว ยมศี รทั ธาในพระพุทธศาสนา ทรงศลี เมอ่ื พรรษาทกุ คน เมอ่ื ออกพรรษา กรานกฐินเดอื นหน่งึ จึงแลว เมื่อกรานกฐิน มพี นมเบ้ยี มพี นม หมาก มพี นมดอกไม มีหมอนนง่ั หมอนนอน บริพารกฐินอวยทานแลป แ ลญิบ ลา น ไปสวดญตั ติกฐินถึงอรัญญิกพูน เมื่อจักเขา มาเวียงเรียงกนั แตอ รัญญกิ พนู เทาหวั ลาน ดํบงคํกลอย ดว ยเสยี งพาทย เสยี งพิณ เสียงเล่ือนเสียงขับ ใคร จักมกั เลน เลน ใครจักมักหวั หวั ใครจกั มักเลอื่ น เลื่อน เมืองสุโขทัยน้ีมสี ป่ี าก ประตูหลวง เทยี รยอ มคนเสียดกนั เขา มาดูทานเผาเทียนทานเลนไฟ เมือง สุโขทยั นี้มดี ังจกั แตก” จากศิลาจารกึ ทําใหเ ราทราบไดวา บานเมืองในยคุ สุโขทยั นัน้ มงั่ คั่ง และมี ความสงบสุข เนื่องจากมกี ารสรา งวัดวาอารามขน้ึ มาก ประชาชนชอบทาํ บญุ ทาํ ทาน รกั ษาศลี ย่ิงเปน ชวงเขาพรรษาแลว จะมีการรกั ษาศีล ฟงธรรมกันทกุ คน หลงั จากออกพรรษามีประเพณีกรานกฐิน มกี ารละเลน รน่ื เรงิ เปนที่สนกุ สนาน มปี ระเพณเี ผาเทยี นเลน ไฟทีง่ ดงามยิง่ (ธนกร ชอไมท อง, 2564) ภาพที่ 5 ประเพณลี อยกระทง เผาเทยี น เลน ไฟ ณ อุทยานประวตั ศิ าสตรสโุ ขทยั จังหวัดสุโขทัย ทมี่ า : HTTPS://WWW.FACEBOOK.COM/SUCHATJHONGTHONG.YUY



ภาพท่ี 6 แผนท่อี าณาจักรสโุ ขทัย ทม่ี า : HTTPS://SITES.GOOGLE.COM/SITE/HISTORYWITHKRUNAMFON/ HOME/INTRO_SUKHOTHAI/ SUKHOTHAI/GOVERNMENT 2.6 ด้านความสมั พันธ์ระหวา่ งประเทศ ทรงทําพระราชไมตรีกบั พอขุนเมง็ รายมหาราชแหง ลา นนา โดยทรงยินยอมให พอขนุ เม็งรายมหาราชขยายอาณาเขตลานนาทางแมนาํ้ กก แมนาํ้ ปง และแมนํ้า วังไดอยางสะดวก เพ่อื ใหเ ปน กนั ชนระหวา งจนี กบั สโุ ขทัย และทรงทําพระราช ไมตรกี บั พอขุนงําเมืองแหง พะเยา ไดเสด็จไปทรงชวยเหลือพอขนุ เมง็ รายมหาราช หาชยั ภูมสิ รา งเมืองเชยี งใหม เมื่อ พ.ศ. 1839 ดว ยทางประเทศมอญมพี อคา ไทย ใหญชื่อ “มะกะโท” เขา รับราชการอยูในราชสาํ นักของพอ ขนุ รามคําแหงมหาราช มะกะโทไดผ ูกสมคั รรักใครก บั พระธิดาของพอขนุ รามคําแหงมหาราช แลว พากัน หนีไปอยูเมืองเมาะตะมะ ตอ มาไดฆาเจาเมอื งและขึ้นเปน แทนเม่อื พ.ศ. 1824 แลว จงึ ขออภัยโทษตอพอ ขุนรามคําแหงมหาราช ขอพระราชทานนาม และขอ ยินยอมเปนประเทศราชของกรงุ สโุ ขทยั ซง่ึ พอขุนรามคาํ แหงไดพระราชทานนาม วา “พระเจาฟารวั่ ” สวนดานเมืองละโวน น้ั ทรงปลอ ยใหเ ปน เอกราชอยู เพราะ ปรากฏวายังสงเคร่อื งบรรณาการไปจีนอยรู ะหวาง พ.ศ. 1834 ถงึ พ.ศ. 1840 ทั้งนีพ้ อ ขนุ รามคําแหงมหาราชกค็ งจะไดทรงผูกไมตรกี บั เมอื งละโวไ ว (กระทรวง วฒั นธรรม, 2559)

3 ศลิ าจารกึ และการกําเนิดของอกั ษรไทย 3.1 กําเนิดลายสอื ไท เมอื่ ปพ ทุ ธศกั ราช 1826 พอขนุ รามคาํ แหงมหาราชแหง กรงุ สโุ ขทยั โปรดฯใหป ระดิษฐ อกั ษรไทยข้นึ การประดิษฐต ัวอกั ษรไทยนไี้ ดถอื เอาอกั ษรโบราณของอินเดยี มาเปน ตน แบบ แมวา รูปอกั ษรไทยมตี นเคามาจากรปู อักษรโบราณของอินเดีย (เชน รูปอกั ษรปลลวะ ใน อนิ เดียตอนใต) ซ่งึ ไดผ านการพฒั นามาเปนอักษรขอม อักษรมอญ ที่มีใชอยเู ดมิ ในพ้นื ถิน่ แตอ ักษรไทยของพอ ขุนรามคําแหงกต็ า งออกไปอยา งชดั เจน อาทิ อกั ษรแตล ะตวั แยกกัน เปนอสิ ระมีลักษณะเฉพาะของแตล ะตัว การเขียนรปู สระวางไวใ นบรรทัดเดียวกบั พยัญชนะ เชน การเขียนสระ อิ อี อุ อู ในระบบเขมร/ระบบไทยปจ จบุ นั เขียนไวบนและ ลางของพยัญชนะ แตระบบพอขุนรามคําแหงจะเขียนไวกอ นหรือหนาพยัญชนะในบรรทัด เดียวกนั แลว ขยายขนาดสระใหโ ต ทัดเทยี มกบั ตวั พยญั ชนะ รวมทั้งมีการกาํ หนด สญั ลักษณท ีเ่ รียกวา “วรรณยกุ ต” เขียนกํากับไวบ นพยัญชนะ เพอื่ ใหออกเสียงคําท่ีแตก ตางกัน จากทีก่ ลาวมาขา งตนถือเปน ลักษณะของความเปน ตนตํารับและคุณลักษณะอันโดด เดนในระบบการเขยี นอกั ษรไทยแบบพอขุนรามคาํ แหง ในศลิ าจารึกสโุ ขทยั หลักที่ 1 หรือ ศิลาจารึกพอ ขุนรามคําแหง ปรากฏคาํ วา “ลายสือไท” ใชใ นการเรียกตัวอักษรไทยท่คี ดิ ข้นึ น้ี ซง่ึ มปี รากฏอยูรวม 61 ตัว มพี ยัญชนะ 39 ตวั สระ 20 ตัว และวรรณยกุ ต 2 ตวั ลายสือไทของพอ ขุนรามคาํ แหงนบั เปนตนแบบของอักษรไทยท้ังปวง ไมว าจะเปนอักษรไทยลานนา ไทยอสี าน ไทยอยุธยา และไทยปจ จุบัน (ศนู ยเทคโนโลยีสารสนเทศมรดกศิลปวฒั นธรรม, 2564) ภาพท่ี 7 ตวั อกั ษรลายสือไทยสมัยสุโขทยั ท้ังพยญั ชนะ สระ และวรรณยุกต ทมี่ า : HTTPS://WRITER.DEK-D.COM/JIRACHAYA-WIJAN/WRITER/ VIEWLONGC.PHP?ID=1220858&CHAPTER=1

3.2 ศลิ าจารกึ พ่อขนุ รามคําแหง เมื่อป พ.ศ. 2376 พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา เจา อยูห ัว ขณะยังทรงผนวชไดเสดจ็ ประพาสนมสั การเจดียสถานตา ง ๆ ทางเมืองเหนอื ทรงพบศลิ าจารกึ พอขุนรามคาํ แหง พรอมแทน มนงั คศลิ า ทเ่ี นนิ ปราสาทเกา เมืองสโุ ขทัย มีลกั ษณะเปนแทน ศลิ ารูปส่ีเหล่ยี ม มยี อดแหลมมน สงู 1 เมตร 11 เซนติเมตร มีจารกึ ทงั้ 4 ดาน สงู 59 เซนตเิ มตร กวาง 35 เซนตเิ มตร ดานที่ 1 และ ดา นที่ 2 มี 35 บรรทดั ดา นที่ 3 และ 4 มี 27 บรรทัด ศลิ าจารึกน้นี บั เปนหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตรและโบราณคดที ใี่ ชอ างองิ ไดว า รูปอักษร ไทยไดปรากฏขึน้ เปนครั้งแรกในป พ.ศ. 1826 จากขอ ความจารึกตอนหนึ่ง บนดา นที่ 4 บรรทดั ท่ี 8-11 ความวา “เม่อื กอ นลายสือไทยนบ้ี ม ี ๑๒๐๕ ศก ปม ะแม พอ ขุนรามคําแหง หาใครใจในใจ แลใสล ายสือไทยนี้ ลายสือไทยนี้จง่ึ มเี พอ่ื ขนุ ผูนน้ั ใสไว....” จากขอ ความดังกลาวบงชดั วากอ นปพ.ศ. 1826 ไมเคยมรี ูปอกั ษรไทยมากอ น พอ ขุน รามคําแหงมหาราชไดท รงคิดประดษิ ฐร ปู อกั ษรไทยขึ้นนับแตพทุ ธศักราชนนั้ ซง่ึ พระองค ทรงกําหนดใหร ูปอักษรแตกตางไปจากรปู อกั ษรโบราณอืน่ ๆ ทมี่ ีใชมากอน และเรียกตวั อักษรไทยนนั้ วา “ลายสือไทย” พระองคท รงกาํ หนดใหอ กั ษรแตล ะตัวแยกกนั เปนอิสระ วางรูปสระไวหนา พยญั ชนะอยูใ นแนวเดยี วกัน พรอมกับมีวรรณยกุ ตก าํ กับการออกเสยี ง ตามคําศัพทภาษาไทย นอกจากนพ้ี ระองคย ังไดอ อกแบบรปู อักษรใหม วี ธิ ีการเขียนเสน อกั ษรแตละตวั ลากสืบตอ กันโดยไมต อ งยกมอื ข้ึน โดยเรม่ิ ตน ลากจากหวั อกั ษรท่เี ปน เสน โคง งอเหมอื นขอเบ็ด แลว ลากไปจนสุดปลายเสนอักษรซึง่ มีลกั ษณะงอโคงเลก็ นอ ยเชนกนั มี พยัญชนะ 39 รูป สระ 20 รปู วรรณยกุ ต 2 รปู รวมทัง้ หมด 61 รูป ภาพท่ี 8 หลกั ศลิ าจารึกจาํ ลอง ณ พพิ ิธภณั ฑสถานแหงชาตริ ามคําแหง จงั หวัดสโุ ขทยั ขอขอบคณุ ภาพจาก : กัญญารตั น ธปู ทอง

3.3 ววิ ฒั นาการของรปู อกั ษรไทย นบั จากอดตี ถงึ ปจจบุ ัน มีเพยี งหลักศิลาจารกึ เพียงหลักเดียวเทา น้นั ทคี่ นพบวามีรปู อักษรไทยแบบทพ่ี อ ขุนรามคําแหงทรงประดิษฐขึน้ ในป พ.ศ. 1826 สว นจารึกหลกั อนื่ ๆ ทจี่ ารึกขน้ึ ในสมยั สโุ ขทัย จะมรี ะยะเวลาหางออกไปประมาณ 60-70 ป ซึ่งรปู แบบ อักษรไดเปล่ยี นแปลงไปบาง แตบางตัวยังคงรูปเดิม นอกจากนีก้ ารจารึกรูปอกั ษรตาง ๆ มไิ ดคงไวแตบนหลักศลิ าแตยงั มกี ารจารกึ บนแผนหนิ รปู อน่ื ๆ เชน จารึกวดั สรศักด์ิ พ.ศ. 1960 บนแผน หนิ รูปใบเสมา (ลายสือไทย : อกั ษรไทย สุโขทยั หรอื ลายสอื ไทย, 2564) ภาพท่ี 9 ตัวอกั ษรท่ใี ชใ นปจ จบุ นั เมอื่ เปรยี บเทียบกับตวั อกั ษร ลายสอื ไทยที่ปรากฏบนศลิ าจารึกพอขนุ รามคําแหง ทมี่ า : HTTPS://WWW.MUSEUMTHAILAND.COM/ TH/3594/STORYTELLING/ลายสือไทย/

4 การเชดิ ชพู ระเกียรติคุณ 4.1 พระบรมราชานุสาวรยี พ์ ่อขนุ รามคําแหงมหาราช ภาพท่ี 10 พระบรมราชานสุ าวรยี พ อ ขุนรามคาํ แหงมหาราช ณ อุทยานประวตั ิศาสตรส โุ ขทัย จังหวดั สุโขทยั เมือ่ วันท่ี 25 มกราคม พุทธศักราช 2507 พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยูห วั และสมเดจ็ พระนางเจา ฯพระบรมราชนิ ีนาถ เสด็จพระราชดาํ เนนิ ทรงประกอบพิธีเปด พพิ ิธภณั ฑสถานแหงชาติ ณ จงั หวดั สุโขทัย ในโอกาสนี้ไดทรงประกอบพิธีบวงสรวง สงั เวย สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ณ วดั ศรชี ุมดว ย ในคร้งั น้นั ปรากฏวาประชาชนได เรยี กรอ งใหทางราชการดําเนนิ การสรา งพระบรมราชานสุ าวรียพ อขุนรามคาํ แหง มหาราช โดยใหเหตผุ ลวา พระบรมราชานสุ าวรียของมหาราชพระองคอืน่ ไดสรา งครบ ถวนทกุ พระองคแ ลว ยกเวนแต พระบรมราชานสุ าวรยี พ อขนุ รามคาํ แหงมหาราช ดังนนั้ จังหวัดสุโขทยั จึงไดริเริม่ ดําเนนิ การนําเสนอความเห็นมายงั กระทรวงมหาดไทย ซึง่ คณะรัฐมนตรีไดพจิ ารณาลง มติรับหลกั การ เมอ่ื วนั ท่ี 7 กรกฎาคม พทุ ธศักราช 2507และไดตง้ั คณะกรรมการดําเนนิ การกอสรา งพระบรมราชานุสาวรยี ข้นึ โดยกรมศลิ ปากรรบั ผดิ ชอบการออกแบบและ การหลอ พระบรมรปู พอ ขนุ รามคาํ แหงมหาราช

นับตัง้ แตปพ ทุ ธศักราช 2507 สบื เนือ่ งตอมาหลายปผานสมัยของรัฐบาลหลายชดุ คณะกรรมการดําเนนิ การกอสรา งพระบรมราชานุสาวรียไดดาํ เนินการมาเปน ระยะ คือ พิจารณาคัดเลือกสถานท่โี ดยอาศัยหลักเกณฑแ ละแนวทางจากหลกั ฐานทาง ประวตั ิศาสตรเปนสําคญั และเห็นวา บริเวณพืน้ ทร่ี ิมทางหลวงภายในกาํ แพงเมืองเกา ตําบลบา นเกา อาํ เภอเมอื ง จงั หวดั สุโขทัย เปน พืน้ ทท่ี ่ีเหมาะสม กวางประมาณ 26 ไร อาณาเขตขณะทกี่ าํ หนดเมือ่ พ.ศ. 2508 ทิศเหนือตดิ ตอกบั วดั ตะกวน ซ่ึงเปน วัดรา ง ทศิ ตะวนั ตกติดตอกบั ตระพงั ตะกวน ตอมาในป พ.ศ. 2520 กรมศลิ ปากรไดด ําเนนิ การโครง อุทยานประวตั ศิ าสตรสโุ ขทัย ไดปรับปรุงพื้นท่ใี หมีความกลมกลนื กบั สภาพของโครงการ บริเวณที่ประดษิ ฐานพระบรมราชานสุ าวรียพ อ ขนุ รามคาํ แหงมหาราชจึงเปนภูมทิ ศั นท ี่ งดงามยิ่ง พธิ ีวางศิลาฤกษแ ทนฐานพระบรมราชานุสาวรยี พอ ขุนรามคาํ แหงมหาราช คือ วนั ที่ 26 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2512 และเม่ืองานออกแบบพระบรมรูปและปนหนุ ดินเสรจ็ พรอมที่ จะหลอ ไดแ ลว คณะกรรมการดาํ เนินการกอ สรางฯ ไดกราบบงั คมทูลพระกรุณาพระบาท สมเดจ็ พระเจาอยูหวั และสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินนี าถ เสดจ็ พระราชดําเนิน ทรงประกอบพิธีเททองหลอพระบรมรูป ณ มณฑลพธิ ี กองหัตถศลิ ป กรมศลิ ปากร เมื่อวัน ท่ี 7 ธนั วาคม พ.ศ. 2513 เมือ่ กรมศลิ ปากรปนหลอพระบรมรูปพอขนุ รามคําแหงมหาราชและภาพจําหลักนนู แสดงเหตุการณในรัชสมัยเรยี บรอยแลว จังหวัดสุโขทัยมคี วามประสงคจะอญั เชิญ พระบรมรูปไปประดษิ ฐาน ณ ปะรําพิธีบริเวณเนินปราสาท อาํ เภอเมืองเกา จังหวดั สโุ ขทัย เพอื่ ใหป ระชาชนไดสกั การะ บูชาในระหวางที่ยงั มไิ ดประกอบพิธเี ปด ซ่งึ ขณะน้ันเปน ระยะที่กําลงั ดาํ เนนิ การกอ สรา ง แทนฐานและจดั ผงั บรเิ วณ โดยไดก อสรา งปะรําเพ่ือประดิษฐานพระบรมรปู ช่ัวคราว จังหวัดสโุ ขทยั ไดประกอบพธิ ีอัญเชญิ พระบรมรปู จากกองหัตถศิลป กรมศลิ ปากร เมือ่ วันท่ี 13 เมษายน พ.ศ. 2518 พระบรมรูปพอ ขนุ รามคาํ แหงมหาราช ไดป ระดิษฐานอยทู ่ีปะราํ พิธี ณ เนินปราสาท เปนเวลา 1 ป งานกอสรางแทนฐานจึงเสร็จเรียบรอย จากน้นั จงั หวัดสโุ ขทัยจึงไดป ระกอบ พธิ อี ญั เชิญพระบรมรปู จากเนนิ ปราสาท ไปประดษิ ฐานยงั แทนฐานปจจุบันเมื่อวันท่ี 13 เมษายน พ.ศ. 2519 และจัดใหมมี หรสพฉลองสมโภชดว ย (กระทรวงการทองเท่ียวและ กีฬา, 2564)

4.2 วนั พ่อขนุ รามคําแหงมหาราช ภาพท่ี 11 การจัดกิจกรรมวันพอขนุ รามคาํ แหงมหาราช 17 มกราคมของทกุ ป ณ อุทยานประวตั ศิ าสตรสุโขทยั จังหวัดสุโขทยั ที่มา : WASU WATCHARADACHAPHONG / SHUTTERSTOCK, INC. จาก HTTPS://HILIGHT.KAPOOK.COM/VIEW/96330 ดวยพระมหากรณุ าธคิ ณุ ของพระองคท านดังทีไ่ ดประจักษ รฐั บาลและปวงชนชาว ไทย จงึ ไดพรอมใจกันถวายพระราชสมญั ญาแดพระองคทานเปน “มหาราช” พระองค แรกของชาติไทย และไดรวมกันสรา งพระบรมราชานสุ าวรยี ของพระองคท านขึน้ ไวเ พ่อื สกั การะ ณ บรเิ วณอุทยานประวตั ิศาสตร จงั หวัดสุโขทัย โดยสมเดจ็ พระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกมุ าร ไดเสด็จพระราชดาํ เนนิ ทรง ประกอบพิธีอัญเชญิ ดวง พระวิญญาณของพอขุนรามคําแหงมหาราช จากศาลพระแมย า ไปสถติ ณ พระบรมราชา นุสาวรยี ฯ แลว ทรงเปด พระบรมราชานสุ าวรียพอ ขุนรามคําแหงมหาราช เม่ือวนั ที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ.2528 โดยจังหวดั สโุ ขทยั ไดจัดใหมพี ธิ ถี วายบังคมมาต้ังแตป พ.ศ.2528 เปน ตนมา นบั แตน้นั มาประมาณสามปคอื ในเดอื นธันวาคม พ.ศ.2531 สํานกั งานสภา จงั หวัดสโุ ขทยั ไดมีหนงั สอื เสนอตอ ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี ขอใหมกี ารกําหนด “วนั พอขุน รามคาํ แหงมหาราช” ขึ้น โดยถอื เอา วนั ท่ี 17 พฤศจกิ ายน ซงึ่ เปน วนั ที่สมเด็จพระบรมโอ รสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกมุ าร เสดจ็ พระราชดําเนนิ เพอื่ ทรงประกอบพระราชพิธีและ ทรงเปด พระบรมราชานุสาวรยี ฯ เปน “วันพอ ขุนรามคาํ แหงมหาราช”

ตอ มาคณะกรรมการเอกลกั ษณของชาติ คณะกรรมการชาํ ระประวัติศาสตรไ ทย และจดั เอกสารทางประวัติศาสตรแ ละโบราณคดี ไดพ ิจารณาทบทวนเรือ่ งการกําหนดวัน สําคญั ทางประวตั ิศาสตรโดยคาํ นงึ ถงึ ความเหมาะสม และความถูกตองตามหลกั ฐาน ทางประวัตศิ าสตร ซึง่ คณะกรรมการฯ ไดเ สนอความคิดเห็นวา ควรจะเปนเหตุผลที่วา พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลาเจาอยหู วั ทรงพบหลกั ศลิ าจารึกของพอ ขุนรามคําแหง มหาราช ซงึ่ ตรงกับวนั ศกุ รท่ี 17 มกราคม พ.ศ. 2376 เม่อื ไดมีการนาํ เสนอตอที่ประชมุ คณะรฐั มนตรี ในคราวประชมุ เมอ่ื วันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ.2532 แลว ในทส่ี ุดคณะ รัฐมนตรีไดม ีมติอนุมตั ติ ามทส่ี าํ นักงานเลขาธิการนายกรฐั มนตรีเสนอ ในการกําหนดวนั สาํ คญั ทางประวัตศิ าสตรของชาติ ซ่งึ คณะกรรมการเอกลกั ษณข องชาติ และคณะ กรรมการชาํ ระประวัติศาสตรไทยและจัดพมิ พเ อกสารทางประวตั ศิ าสตรแ ละโบราณคดี ไดพ ิจารณาเห็นชอบดวยแลว ดงั น้นั วันที่ 17 มกราคม พ.ศ.2533 จึงเปน “วันพอขนุ รามคําแหงมหาราช” วนั สําคัญทางประวตั ศิ าสตรว ันหนงึ่ ซงึ่ ถกู กาํ หนดขน้ึ อยา งเปน ทางการเปนคร้งั แรก วนั ท่ี 17 มกราคมของทกุ ป จึงถอื เปนวันสําคญั ทางประวัติศาสตร คอื วันพอ ขุน รามคําแหงมหาราช จังหวัดสโุ ขทยั ไดจ ัดใหมีงานวันพอ ขนุ รามคําแหงมหาราชเปนประจาํ ทกุ ป เพอ่ื ราํ ลกึ ถงึ พระมหากรุณาธคิ ุณของพอขุนรามคาํ แหงมหาราชท่ีมตี อ ประชาชนชาวไทย กิจกรรมใน งานประกอบดวย พธิ ีบวงสรวงพอขุนรามคําแหงมหาราช ขบวนแหส ักการะพอ ขนุ รามคาํ แหงมหาราชของ หนวยงานภาครัฐและเอกชน รฐั วสิ าหกิจ และประชาชน มกี ารแสดงศิลปะพื้นบาน และ พธิ สี วดสรภญั ญะ ฯลฯ สถานที่จดั งาน คอื บรเิ วณพระบรมราชานสุ าวรียพ อ ขุน รามคาํ แหงมหาราช อทุ ยานประวัติศาสตรสุโขทยั โรงเรียนสโุ ขทยั วทิ ยาคม (เฉพาะการ แสดงชา งศกึ และศลิ ปะการตอสูปองกนั ตัว) (มหาวิทยาลัยรามคาํ แหง สารสนเทศ จงั หวดั ทตี่ ้งั สาขาวทิ ยบริการเฉลิมพระเกียรติจังหวัดสุโขทัย, 2564)

บรรณานุกรม

บรรณานกุ รม กระทรวงการทอ งเทยี่ วและกีฬา. (2564). อนุสาวรียพอขนุ รามคําแหงมหาราช. สบื คนจาก HTTPS://WWW.THAILANDTOURISMDIRECTORY.GO.TH/TH/INFO/ ATTRACTION/DETAIL/ITEMID/5411 กระทรวงวัฒนธรรม. (2559). พอขุนรามคําแหงมหาราช. สืบคนจาก HTTPS://WWW.M-CULTURE.GO.TH/YOUNG/EWT_NEWS.PHPNID=622& FILENAME=INDEX กาํ เนิดภาษาไทย. (2557). สบื คนจาก HTTPS://WRITER.DEK-D.COM/JIRACHAYA- WIJAN/WRITER/VIEWLONGC.PHP?ID=1220858&CHAPTER=1 ดนัย ชัยโยธา. (2548). นามานกุ รมประวตั ิศาสตรไทย. กรุงเทพฯ: โอเดยี นสโตร. ธนกร ชอไมทอง. (2564). พระเกยี รตคิ ณุ แผไพศาล : ขนบธรรมเนยี ม ประเพณ.ี สบื คนจาก HTTPS://WWW.LIB.RU.AC.TH/PK/THEGREATE.HTML นํา้ ฝน สาโยธา. (2564). พัฒนาการทางประวัตศิ าสตรส ุโขทัย : การเมืองการปกครอง. สบื คน จาก HTTPS://SITES.GOOGLE.COM/SITE/ HISTORYWITHKRUNAMFON/HOME/INTRO_SUKHOTHAI/ SUKHOTHAI/GOVERMENT มหาวทิ ยาลยั รามคําแหง, สาขาวิทยบรกิ ารเฉลิมพระเกียรตจิ งั หวดั ปราจนี บุรี. (2564). ประวตั พิ อ ขุนรามคาํ แหงมหาราช. สบื คน จาก WWW.PRACHIN.RU.AC.TH/ พอขนุ รามคาํ แหงมหาราช/ประวตั พิ อขนุ .HTML ________, สารสนเทศจงั หวัดที่ตัง้ สาขาวทิ ยบรกิ ารเฉลมิ พระเกียรติจงั หวัดสุโขทยั . (2564).ลายสือไทย : วนั พอ ขนุ รามคาํ แหงมหาราช. สืบคน จาก WWW.INFO. RU.AC.TH/PROVINCE/SUKHOTAI/PDAY.HTM# ศุภารตั น อุนอิ่ม. (2564). พอ ขุนรามคาํ แหง : พระราชกรณียกจิ . สบื คนจาก HTTPS://SITES.GOOGLE.COM/SITE/63SUPHARAT36/PHRA-RACH- KRNIYKIC ศูนยเ ทคโนโลยสี ารสนเทศมรดกศลิ ปวัฒนธรรม. (2564). การจัดแสดงในพพิ ธิ ภณั ฑสถาน แหงชาตริ ามคําแหง. สบื คนจาก WWW.VIRTUALMUSEUM.FINEARTS.GO.TH /RAMKHAMHAENG/INDEX.PHP/EN/FRONTPAGE/13-นทิ รรศการ-กจิ กรรม- การแสดง.HTML สชุ าติ จงทอง. (2664). ประเพณีลอยกระทง เผาเทียน เลน ไฟ. สืบคน จาก HTTPS://WWW.FACEBOOK.COM/SUCHATJHONGTHONG.YUY 17 มกราคม วนั พอ ขุนรามคําแหงมหาราช. (2564). สบื คนจาก HTTPS://HILIGHT.KAPOOK.COM/VIEW/96330 อักษรไทย สุโขทัย หรือลายสือไทย. (2564). สืบคนจาก HTTPS://WWW.MUSEUMTHAILAND.COM/TH/3594/STORYTELLING/ ลายสือไทย/ อจั ฉรา ปรชี าธีรศาสตร. (2553). พระราชประวัติของรชั กาลท่ี 3 พอขนุ รามคาํ แหงมหาราช. สบื คน จาก HTTPS://WWW.GOTOKNOW.ORG/POSTS/337108 YIM WIPHAWAN. (2560). PTT อาณาจักรสโุ ขทัย. สบื คน จาก HTTPS://WWW.SLIDESHARE.NET/YIMWIPHAWAN/PTT-80094481

คณะผูจ้ ัดทํา นางสาวชลนชิ า จนั อํ่า รหสั นักศกึ ษา 6112415002 นางสาวเบญจวรรณ พนั ธโภคา รหสั นกั ศกึ ษา 6112415005 เสนอ ผูชวยศาสตราจารยป ราณี ซอ่ื อทุ ิศกุล รายวิชาการจัดเกบ็ และคนคนื สารสนเทศ (IS 364) สาขาบรรณารกั ษศาสตรแ ละสารสนเทศศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พบิ ูลสงคราม ภาคการศกึ ษาที่ 2


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook