Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 02-หน่วยที่ 1-1 เศรษฐกิจและเศรษฐศาสตร์

02-หน่วยที่ 1-1 เศรษฐกิจและเศรษฐศาสตร์

Description: 02-หน่วยที่ 1-1 เศรษฐกิจและเศรษฐศาสตร์

Search

Read the Text Version

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เศรษฐกิจและเศรษฐศาสตร์

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1. เพื่อเข้าใจเนื้อหาของวิชาเศรษฐศาสตร์ 2. เพื่อเข้าใจประโยชนข์ องวิชาเศรษฐศาสตร์

1. เน้อื หาของวิชา เศรษฐศาสตร์

เศรษฐศาสตร์มุ่งศึกษาถึงความสัมพันธ์ของคนในการเลือกใช้ ทรพั ยากรการผลิต (ทีด่ ิน ทนุ แรงงาน ผู้ประกอบการ) ที่มีอยู่อย่างจากัด เพื่อใช้ ในการผลิตสินค้าและบริการ แล้วจาหน่ายสินค้าและบริการน้ัน ๆ เพื่อบาบัดความ ต้องการของมนุษย์ โดยนามาใช้อย่างประหยัดและมีประสิทธิภาพสูงสุดเท่าที่จะ สามารถทาได้

สินค้า ▪ สินค้า (Goods) หมายถงึ สิง่ ของต่าง ๆ ทีผ่ ลิตข้ึนมาเพือ่ ขายหรือแลกเปลยี่ น นบั ต้ังแต่อาหาร เสื้อผ้า ยา บ้าน ไปจนถงึ รถยนต์ เครื่องคอมพิวเตอร์ ฯลฯ ▪ ของบางอย่างที่เราผลิต เพื่อกินเพื่อใช้เอง เช่น ปลูกพืชผักสวนครัว ทาตู้โต๊ะเอง ไม่เรียกว่าสินค้า แต่เป็นผลผลิตจากการทางานของคน เนื่องจากผลผลิต ส่วนใหญ่ในโลกปัจจุบันล้วนเป็นสินค้า เราจึงนิยมใช้คาว่า “สินคา้ ”เมื่อพูดถงึ ผลผลิตต่าง ๆ ปลูก ืพชผักสวนครัว

บริการ ▪ บริการ (Services) หมายถึง กิจกรรมที่สนองหรือ บาบัดความต้องการของมนุษย์ เช่น การเลี้ยงดู เด็ก การสอนพิเศษ การรักษาพยาบาล การ เขียนหนังสือ การจัดรายการวิทยุโทรทัศน์ การแสดง ฯลฯ ▪ ที่เราแยกบริการมาต่างหากจากสินค้า ก็เพราะ กิจกรรมเหล่านี้ไม่ได้ผลิตส่ิงที่เป็นรูปร่างจับ ต้องได้เหมือนสินค้าทั่วไป แต่ก็ถือเป็นผลผลิต ของการทางานที่สนองความต้องการของผู้บริโภค ในด้านความสะดวกสบาย ความพอใจ ▪ ในปัจจุบันบางครั้งเราจึง ใช้คาว่าสินค้าและ บรกิ ารควบคู่กนั ไปอยู่เสมอ

สินคา้ และบริการโดยทัว่ ไป แบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ 1. สินค้าและบริการทางเศรษฐศาสตร์ หมายถึง สินค้าและ บริการที่มีราคา ซึ่งผู้บริโภคต้องจ่ายเงินซื้อหามาสนองความ ต้องการ และความพอใจของตน เช่น ปากกา หนังสือ รถยนต์ การรักษาพยาบาล เปน็ ต้น 2. สินค้าและบริการได้เปล่า หมายถึง สินค้าและบริการที่มีอยู่ อย่างมากมายไม่จากัดปริมาณ เช่น อากาศที่เราหายใจ น้าใน แม่น้าลาคลอง สายลมแสงแดด เป็นต้น ไม่ต้องซื้อมากิน มาใช้ เพราะมอี ยู่มากมาย จึงเป็นสินค้าเสรี

ความขาดแคลนของสินคา้ และบรกิ าร ความขาดแคลนของสินค้าและบริการ ทรัพยากรมีอยู่จากัด เราไม่ สามารถแสวงหาสิ่งต่าง ๆ มาตอบสนองความต้องการของเราได้ครบถ้วน และไม่ สามารถซื้อสินค้าและบริการทุกอย่างได้ตามที่เราอยากได้ ดังน้ัน ความขาดแคลน (Scarcity) จึงเป็นปัญหาพ้ืนฐานในทางเศรษฐกิจ เช่น เด็กนักเรียนในชนบททุรกันดาร ขาดเครื่องแบบชุดนักเรียน ชุดนักเรียนจึงเป็น สิ่งขาดแคลน และจดั ว่าเปน็ สินค้าในทางเศรษฐศาสตร์ (economic goods )

ความต้องการและความจาเป็น ความต้องการในทางเศรษฐศาสตร์ (economic want) เป็น ความต้องการเพียงเพื่อตอบสนองความพึงพอใจ หรือความสะดวกสบาย เท่าน้ัน เช่น เสื้อผ้าแพง ๆ เครื่องสาอาง ความจาเป็นในทางเศรษฐศาสตร์ (economic needs) เพื่อ ตอบสนองความจาเป็นใน การดารงชีวิต เช่น ความต้องการอาหาร ที่อยู่ อาศัย เครื่องนุ่งห่ม เป็นความจาเปน็ ของผู้ซื้อ ความจาเ ็ปนใน การดารงชีวิต

หน่วยเศรษฐกจิ หนว่ ยเศรษฐกิจ หมายถงึ หน่วยงานที่มอี ยู่ในระบบเศรษฐกจิ ของประเทศ ทาหน้าที่ต่าง ๆ กัน เก่ียวกับการผลิต การแลกเปลี่ยน และ การบริโภค สามารถแบ่งหน่วยเศรษฐกจิ ออกเปน็ 3 หน่วย คือ

1. หน่วยครวั เรือน หน่วยครัวเรือน หมายถึง หน่วยเศรษฐกิจที่ ประกอบด้วย บุคคลที่อาศัยอยู่ใต้หลังคาเดียวกัน มีการ ตัดสินใจร่วมกัน ในการใช้ทรพั ยากร หรือเงินรายได้ ดังน้ันหน่วยครัวเรือนจึงทาหน้าที่ใน ระบบ เศรษฐกจิ 2 ประการ คือ 1.1 ผู้ให้ปจั จยั การผลติ แกธ่ รุ กจิ หรือผู้ประกอบการ 1.2 ผู้บริโภคสินค้า และบริการต่าง ๆ

2. หน่วยธุรกิจ หน่วยธุรกิจ หรือหน่วยผู้ประกอบการ ทาหน้าที่ตัดสินใจ นาเอาปัจจัยการผลิต มาใช้ในการผลิตสินค้าและบริการ รวมทั้งดาเนินการ ขนส่ง และจดั จาหน่าย แบ่งหน้าที่ได้ 2 อย่าง คือ 2.1 เป็นผู้ผลิต 2.2 เปน็ ผู้จาหน่าย

3. หน่วยงานของรฐั หน่วยงานของรัฐ ได้แก่ ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ คือ ทาหน้าที่ เป็นผู้บริโภค และเป็นผู้ผลิต รัฐมีรายได้จากค่าภาษีอากร เงินกู้ เงินช่วยเหลือ บริจาค และค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ที่เก็บจากประชาชน แล้วนามาใช้จ่ายในการ บริหารประเทศ เช่น จัดการศึกษาภาคบังคับ บริการด้านสุขอนามัย จัดให้มี กองทพั เพื่อป้องกนั ภยั จากภายนอกประเทศ

2. ประโยชน์ของวิชา เศรษฐศาสตร์

ประโยชน์ของวิชาเศรษฐศาสตร์ 1. ช่วยให้ผู้ศกึ ษามีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการผลิต ▪ ช่วยให้ผศู้ ึกษามคี วามรู้พื้นฐานเกย่ี วกับการผลิต การกระจายสินค้าและบริการ ▪ ทาให้ผู้ศึกษาได้ตระหนกั และเข้าใจปญั หาเศรษฐกจิ ในชีวติ ประจาวนั ที่ตนประสบอยู่ ▪ มีแนวทางในการแก้ปัญหาเหล่าน้ันได้อย่างถูกต้องและมีเหตุผล เช่น การใช้เงิน ทรัพยากร และเวลาทีม่ อี ยู่จากัดอย่างประหยดั และกอ่ ให้เกดิ ประโยชนส์ ูงสดุ แกต่ วั เองและครอบครวั

2. ประโยชน์ต่อการประกอบอาชีพของผู้ศกึ ษา ทางานเอกชน ▪ ผู้ที่ได้ศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์ในระดับสูง สามารถที่จะไปประกอบอาชีพที่ต้องใช้ ความรู้ในวิชานี้ได้อย่างกว้างขวาง เช่น อาจจะเข้ารับราชการในหน่วยงานที่ เกย่ี วข้องกับเศรษฐกจิ และพัฒนาประเทศ ซึง่ มอี ยู่มากมายหลายหน่วยงานด้วยกัน ▪ หรือทางานเอกชน เช่น ธนาคาร บริษทั ห้างร้านต่าง ๆ ▪ ส่วนผู้ที่ศึกษาด้วยตนเองหรือศึกษาเศรษฐศาสตร์เพียงบางวิชา บางระดับ ก็จะใช้ ความรู้ที่ได้มาไปเพิ่มประสิทธิภาพในการทางานได้ ไม่ว่าเขาจะทางานทางด้าน ประกอบกิจการสว่ นตัว เปน็ ข้าราชการ หรอื เปน็ ลกู จา้ งกต็ าม

3. ช่วยให้ผู้ศกึ ษามีความเข้าใจการดาเนินงานของระบบเศรษฐกจิ ▪ ช่วยให้ผู้ศึกษามีความเข้าใจการดาเนินงานของระบบเศรษฐกิจ บทบาทของ รัฐบาลในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ เช่น เรื่องการเก็บภาษีอากร และการใช้จา่ ยตามโครงการต่าง ๆ ▪ รวมทั้งบทบาทของภาคเอกชนในเร่ืองการลงทุน การธนาคาร การค้าขาย ต่าง ๆ ▪ ซึ่งจะทาให้ผู้ศึกษาสามารถทางานตามอาชีพ หรือหน้าที่ของตนอย่าง มั่นใจเพ่ิมขึ้น สามารถทาหน้าที่พลเมืองดีด้วยการเข้าไปสนับสนุน วิพากษ์วิจารณ์ และผลักดันให้รัฐบาลได้ดาเนินบทบาททางเศรษฐกิจ อย่างมีประสิทธิภาพ และสนองตอบความต้องการของประชาชนได้ เพิ่มขนึ้

จบหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เศรษฐกิจและเศรษฐศาสตร์