หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 2 เรื่องที่ 2 หลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ วิธีการทางประวัติศาสตร์ และวิธีการทางประวตั ิศาสตร์
วัตถปุ ระสงค์ของการเรียนรู้ 1. เพื่อเข้าใจความสาคญั ของวธิ ีทางประวตั ศิ าสตร์ 2. สามารถวิเคราะห์ขนั้ ตอนศกึ ษาวธิ ีการทางประวตั ศิ าสตร์
1. ความสาคญั ของวิธีทาง ประวัติศาสตร์
1. ความสาคญั ของวิธีทางประวัติศาสตร์ วิ ธี การทางประวั ติ ศาสตร์ เป็ น กระบวนการ ค้นหาความจริงอย่างเป็น วิธีการทางประวัติศาสตร์ หมายถึง กระบวนการสืบค้นเหตุการณ์ ระบบ โดยมีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ เรื่องราวและสิ่งสาคัญในอดีต ของมนุษย์ หรือสังคมที่มักเร่ิมต้นจากความ เปน็ ข้อมลู สาคัญ สงสัยใคร่รู้ของผู้ที่ต้องการศึกษา หรือต้องการค้นคว้าหาคาตอบดว้ ยตนเอง วิธีการทางประวัติศาสตร์เป็นคาตอบ วิธีการทางประวัติศาสตร์ เป็นทางเลือก เพราะสามารถใช้เป็นแนวทางแก่ผู้ศึกษา หนึง่ ในยคุ โลกาภิวัตน์ ที่ชว่ ยใหผ้ ู้ฝึกฝนการ จะได้นาไปใช้ค้นคว้าด้วยความรอบคอบ คิดอย่างเป็นกระบวนการ มีวิจารณญาณ ระมัดระวัง และไม่ลาเอียง วิธีการทาง ไม่หลงเชือ่ คาโฆษณาหรืออา่ นหนังสือเพียง ประวัติศาสตร์ จาแนกเป็นลาดับข้ันตอน เลม่ ใดเลม่ หนึ่ง แลว้ เชือ่ ว่าเป็นจริง 1. การตั้งประเด็น 2. ปัญหาเรือ่ งราวทีอ่ ยากรู้ค้นหาและรวบรวมหลักฐาน 3. การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าหลักฐาน 4. การตีความ การวิเคราะห์ สังเคราะหแ์ ละการจดั หมวดหมู่ ข้อมลู 5. การเรียบเรียงจดั ทาบรรณานุกรมและการนาเสนอ
2. ข้ันตอนศึกษาวิธีการ ทางประวตั ิศาสตร์
1. การต้ังคาถามทางประวตั ิศาสตร์ ต้งั คาถาม ตามข้อสงสยั ▪ การตั้งคาถามเกิดจากผู้ใคร่รู้ หรือสงสัยเก่ียวกับเหตุการณ์ เรื่องราว หรือสิ่งสาคัญในอดีต จึงทาให้มีการตั้งคาถามขึ้น คาถามพื้นฐานทางประวัติศาสตร์ คือ ใคร อะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร และทาไม ▪ การตั้งคาถามทางประวตั ิศาสตรเ์ ช่นนี้ เป็นการระบุปัญหาทาง ประวตั ิศาสตร์ ที่อาจนาไปสู่การตั้งหวั ข้อ ในการศึกษาค้นคว้า ต่อไป เครือ่ งปั้นดินเผาบ้านเชียง จงั หวดั อดุ รธานี มีพัฒนาการ ความเป็นมาอย่างไร
2. การรวบรวมหลักฐานทาง หลกั ฐานท่เี ปน็ ลายลกั ษณ์อักษร หลกั ฐานท่ไี ม่เปน็ ลายลกั ษณ์อกั ษร ▪ หลักฐานทางประวัติศาสตร์มีอยู่หลายประเภทให้ผู้ศึกษาได้เลือกใช้ เช่น หลักฐานทีเ่ ป็นลายลักษณ์อกั ษร และหลักฐานทีไ่ มเ่ ป็นลายลักษณ์อกั ษร ▪ การรวบรวมหลักฐานควรทาด้วยความชานาญ โดยคัดเลือกข้อเท็จจริง แต่ละชิ้นออกเป็นจาพวก ที่มีส่วนเก่ียวข้องโดยตรงกับเหตุการณ์ เรือ่ งราว และสิ่งสาคัญทางประวัติศาสตร์ และหลักฐานจาพวกที่เป็นแต่ เพียงส่วนประกอบเท่านั้น ▪ การศึกษาประวัติศาสตร์ทีด่ ีควรใช้หลักฐานหลายประเภท ขึ้นอยู่กับว่าผู้ ศึกษาต้องการศึกษาเรื่องอะไร ▪ ดังน้ัน ในการรวบรวมหลักฐาน จดบันทึกรายละเอียดต่าง ๆ ทั้งหลักฐาน และแหล่งข้อมลู ให้ถกู ต้องสมบรู ณ์ ท้ังนีเ้ พื่อการอา้ งองิ ที่น่าเชือ่ ถือ
3. การวิเคราะห์และประเมินคณุ ค่าลกั ษณะหลักฐาน ▪ การวิเคราะห์และประเมินค่าลักษณะภายนอกของหลักฐาน (External Critics) คือ การพิจารณาตรวจสอบหลกั ฐานทไี่ ดค้ ดั เลือกไว้แต่ละชิน้ ว่ามคี วาม น่าเช่ือถือเพียงใด โดยยังไม่ศึกษาเน้ือหาในหลักฐานนั้น ๆ ขั้นตอนนี้ มปี ระโยชน์ คือ เป็นการคัดหลักฐานจาพวกที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์โดยตรง หรือเป็นหลักฐานส่วนประกอบ รวมท้ังเป็นการออกไปขจัดหลักฐานที่ไม่ น่าเช่อื ถือ ▪ การวิเคราะห์และประเมินค่าลักษณะภายในของหลักฐาน (Internal Critice) คือ การพิจารณาเนื้อหา หรือความหมายที่แสดงออกในหลักฐาน เพื่อ ประเมินว่าน่าเช่ือถือเพียงใด โดยเน้นถึงความถูกต้อง คุณค่า ตลอดจน ความหมายทีแ่ ท้จริง ซึง่ นับว่ามีความสาคัญต่อการประเมินหลักฐานที่เป็นลาย ลักษณ์อักษร เพราะข้อมูลในหลักฐาน มีท้ังที่คลาดเคลื่อนอันเกิดจากปัจจัย ต่าง ๆ เช่น ความไมร่ ู้ และการมอี คติของผู้บนั ทึกแฝงอยู่
4. การตีความ วิเคราะห์ สงั เคราะห์ข้อมลู และจดั หมวดหมู่ข้อมูล ▪ การตีความหลักฐาน หมายถึง การพิจารณาเนื้อหาหรือข้อมูลในหลักฐานว่าผู้สร้าง ประวตั ิชุมชน หลกั ฐานมเี จตนาทีแ่ ท้จริงอยา่ งไร จดั หมวดหมวู่ ตั ถุโบราณ ▪ โดยดูจากลลี าการเขียนของผู้บันทึก และรูปร่างลักษณะโดยท่ัวไป เป็นต้น ในขั้นตอนการ ตีความหลักฐาน ▪ นักประวัติศาสตร์จึงต้องพยายามทาความเข้าใจความหมายจากสานวนโวหาร ทัศนคติ ความเชือ่ ของผู้เขียน และสงั คมในยคุ สมัยนั้นประกอบดว้ ย เพื่อที่จะได้ทราบว่าถ้อยความ นั้นนอกจากจะหมายความตามตวั อักษรแลว้ ยังมีความหมายที่แท้จริงอะไรแฝงอยู่ ในข้ันตอนนี้ผู้ศึกษาจะต้องนาข้อมูลที่ผ่านการประเมินคุณค่าและการตีความมาวิเคราะห์ แยกแยะ จัดประเภทของเรื่องออกเป็นหัวข้อเรื่องต่าง ๆ โดยเนื้อหาในเรื่องเดียวกันควรจัดไว้ด้วยกัน รวมทั้ง เรื่องที่เกี่ยวข้องหรือสัมพันธ์กัน เรื่องที่เป็นเหตุเป็นผล จากน้ันจึงนาเรื่องทั้งหมดมาสังเคราะห์ รวมเข้าด้วยกนั ซึง่ เป็นการจาลองภาพบุคคล หรือเหตกุ ารณใ์ นอดีตขึน้ ใหม่
5. การเรียบเรียงและจัดลาดบั บรรณานุกรม ▪ การเรียบเรียงเนื้อหาทางประวัติศาสตร์ ผู้ศึกษาต้องวางโครงเรื่องให้ 1. เรียบเรียงความเปน็ มาชมุ ชน 2. เรียบเรียงแหลง่ โบราณคดี 3. เรยี บเรยี งโบราณวัตถุ ชดั เจน โดยแบ่งเป็นหวั ข้อใหญ่ และหัวข้อยอ่ ย พฒั นาการเครื่องปนั้ ดินเผาบ้านเชียง จังหวดั อดุ รธานี ▪ แลว้ นาผลจากการวิเคราะห์และสังเคราะห์ มาเขียนเรียบเรียงให้เห็นถึง 1.เคร่อื งปั้นดินเผาบ้านเชียงสมัย 2.คร่อื งป้ันดินเผาบ้านเชียงสมยั 3.เครอ่ื งป้นั ดินเผาบ้านเชียงสมยั ความสัมพนั ธ์ และความต่อเนื่องของเหตุการณ์ เรื่องราวหรือส่ิงสาคัญ ในอดีตทีท่ าการศึกษา ▪ โดยอธิบายถึงสาเหตุต่าง ๆ ที่ ทาให้เกิดเหตุการณ์ เรื่องราวหรือส่ิง สาคญั ในอดตี เหตุการณ์ทีเ่ กิดขึ้น และผลทีต่ ามมา ▪ ท้ังนีผ้ ู้ศึกษาอาจ นาเสนอเปน็ เหตุการณ์ เรือ่ งราว หรือสง่ิ สาคญั ในอดตี ที่เป็นพื้นฐาน หรือเป็นเชิงวิเคราะห์ ท้ังนี้ขึ้นอยู่กับจุดมุ่งหมายของ การศึกษา ▪ จากน้ันจึงจัดทาบรรณานุกรม ซึ่งประกอบด้วย รายชื่อหลักฐานต่าง ๆ ทีผ่ ู้ศึกษาใชอ้ า้ งองิ หรือใชเ้ พื่อการศึกษา รวมทั้งโสตทัศนูปกรณ์ต่าง ๆ เชน่ รปู ภาพ แผนที่ ▪ จากน้ันจึงนาเสนอในรูปรายงานการวิจยั หรือจัดพิมพ์เป็นหนังสือ หรือ จัดเปน็ นิทรรศการ เปน็ ต้น ต้น(อายุประมาณ5,600–3,000ปี) กลาง (อายปุ ระมาณ3,000–2,300ปี) ปลาย(อายปุ ระมาณ2,300–1,800ปี)
จบเรือ่ งที่ 2 วิธีการทางประวตั ิศาสตร์
Search
Read the Text Version
- 1 - 11
Pages: