แนวทางการจดั การเรียนการสอนของโรงเรยี นศึกษานารวี ทิ ยา ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- กำหนดการ (Timeline) ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 โรงเรียนศกึ ษานารวี ทิ ยา วันท่ี การดำเนินงาน/กิจกรรม ผู้รบั ผดิ ชอบ 29 ก.ย. 2564 นักเรยี นฉีดวคั ซีนซิโนฟาร์ม เขม็ ท่ี 1 /หนว่ ยงานที่เก่ยี วช้อง งานพยาบาล 8 ต.ค. 2564 นกั เรยี นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 4-6 ฉดี วัคซนี ไฟเซอร์ เข็มที่ 1 งานพยาบาล 14 ต.ค. 2564 กิจกรรม Clear & Clean กลุ่มบริหารท่วั ไป 15 ต.ค. 2564 นกั เรียนมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1-3 ฉีดวัคซนี ไฟเซอร์ เข็มท่ี 1 งานพยาบาล 20 ต.ค. 2564 นกั เรียนฉีดวคั ซีนซโิ นฟาร์ม เขม็ ท่ี 2 งานพยาบาล 21 ต.ค. 2564 ประชมุ ฝา่ ยบรหิ าร วางกำหนดการและแนวปฏบิ ตั ิ ฝา่ ยบรหิ าร เพ่อื เตรียมความพร้อมก่อนเปดิ ภาคเรียนท่ี 2/2564 และกล่มุ บรหิ ารฯ 27 ต.ค. 2564 ประชมุ คณะกรรมการสถานศึกษา องค์กรภายนอก และผูแ้ ทน ฝา่ ยบรหิ าร และกลมุ่ บรหิ ารฯ ชมุ ชนโดยรอบสถานศึกษาเพอื่ ชีแ้ จงและรบั ทราบ คณะกรรมการสถานศกึ ษา 28 ต.ค. 2564 ขอ้ เสนอแนะ สำหรบั แนวทางในการเปิดภาคเรยี นท่ี2/2564 ขนั้ พน้ื ฐาน 29 ต.ค. 2564 ประชุมครแู ละบคุ ลากร ผา่ นระบบออนไลน์ เพอื่ ชแ้ี จงแนวทาง ฝา่ ยบริหาร งานโสตฯ 1 พ.ย. 2564 ในการเปดิ ภาคเรยี นท่ี2/2564 ครแู ละบุคลากรทุกคน 5 พ.ย. 2564 นักเรยี นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4-6 ฉีดวัคซนี ไฟเซอร์ เขม็ ที่ 2 งานพยาบาล 7 พ.ย. 2564 เปดิ ภาคเรยี นท่ี 2/2564 ทุกระดบั ชน้ั ในรูปแบบออนไลน์ ครู บุคลากร และนกั เรยี นทุกคน นกั เรยี นมัธยมศึกษาปที ี่ 1-3 ฉดี วัคซีนไฟเซอร์ เข็มที่ 2 งานพยาบาล ประชุมผปู้ กครอง ผ่านระบบออนไลน์ ฝ่ายบรหิ าร งานระบบดแู ล เพื่อเตรียมเปิดในรปู แบบ On-site ช่วยเหลือนกั เรียน งานโสตและ ครู บคุ ลากรทกุ คน
วันท่ี การดำเนินงาน/กิจกรรม ผูร้ บั ผดิ ชอบ /หน่วยงานที่เก่ียวชอ้ ง 15 พ.ย. 2564 กรณที ี่สามารถ On-site จดั การเรยี นร้ใู นรปู แบบ On-Site ครู บคุ ลากร และนักเรียนทกุ คน เปน็ ต้นไป (ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 - 6) โดยใช้รูปแบบท่ี 5 การสลบั กลุม่ นกั เรยี น แบบแบ่งนักเรยี น ในหอ้ งเรยี นเปน็ 2 กลมุ่ (กลุ่ม งานพยาบาล รว่ มกับ 15, 22, 29 A และกล่มุ B) ไม่เกนิ 25 คน/กลมุ่ โรงพยาบาลบางปะกอก 8 พ.ย. 2564 กรณไี ม่สามารถ On-site จัดการเรียนร้ใู นรูปแบบออนไลน์ ครู บคุ ลากร และนักเรยี นทกุ คน 22 พ.ย. 2564 ตรวจ ATK นักเรียน ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา เป็นต้นไป กรณีท่สี ามารถ On-site จดั การเรียนร้ใู นรูปแบบ On-Site (ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 1 - 3) โดยใชร้ ปู แบบท่ี 5 การสลับ กลุ่มนักเรียน แบบแบ่งนกั เรียน ในหอ้ งเรยี นเปน็ 2 กลมุ่ (กลมุ่ A และกลมุ่ B) ไมเ่ กนิ 25 คน/กลุ่ม กรณีไม่สามารถ On-site จดั การเรยี นร้ใู นรปู แบบออนไลน์
แนวทางในการจัดการเรียนการสอน ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 โรงเรียนศึกษานารีวทิ ยา กอ่ นการเปดิ ภาคเรยี น ประสานการดำเนนิ งานฉดี /ได้รับวคั ซนี Pfizer และวคั ซีนอนื่ ๆ ของนักเรยี น ประชุมฝ่ายบรหิ าร วางกำหนดการและแนวปฏิบตั ิ เพอ่ื เตรยี มความพรอ้ มก่อนเปิด ภาคเรียนท่ี 2/2564 เตรียมความพร้อม และจดั ทำคู่มือแนวทางการเปิดภาคเรียนของโรงเรยี นศึกษานารวี ทิ ยา โดยปฏิบตั ติ ามมาตรการ Sandbox : Safety Zone in School ประเภทไปกลับตามแนวทาง ของ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน สรุปยอดการได้รับวัคซีนของครู บุคลากร และนักเรยี น สถานศกึ ษาประเมินตนเองผ่านระบบ TSC+ ทั้ง 6 มติ ิ และรายงาน MOE COVID ประชมุ คณะกรรมการบรหิ ารสถานศึกษาเพ่อื สรปุ แนวทางและความพรอ้ มในการเปิด ภาคเรียนที่ 2/2564 ประชมุ ครแู ละบุคลากร ผา่ นระบบออนไลน์ เพอื่ ช้แี จงแนวทางในการเปิดภาคเรยี นท่ี 2/2564 ประชมุ นักเรยี น และผู้ปกครอง ผา่ นระบบออนไลน์ เพ่อื ชีแ้ จงแนวทางในการเปิด ภาคเรยี นที่ 2/2564 ดำเนินการจดั ซอ้ื SARS-CoV-2 Antigen Rapid Test Kit สำหรบั นักเรียน ครู และบคุ ลากร
การจดั การเรยี นการสอนใน ภาคเรียนที่ 2/2564 กรณีท่ีสามารถ On-site จัดการเรียนรู้ในรูปแบบ On-site โดยใช้รูปแบบท่ี 5 การสลับกลุ่มนักเรียนแบบ แบ่งนกั เรยี นในห้องเรียนเป็น 2 กลมุ่ (กลมุ่ A และกลุ่ม B) ไม่เกิน 25 คน/กลุ่ม โรงเรียนศึกษานารีวิทยา กำหนดให้มีการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน (Blended Learning) ระหว่าง การเรียนรู้ในช้ันเรียนปกติ (On-site) และการเรียนรู้ ผ่านระบบออนไลน์ (Online learning) ผ่านระบบ Google Classroom และ Google Meet เมือ่ เข้าส่ชู ่วงของการเปดิ ภาคเรียนท่ี 2 1. รูปแบบของการเรียนรู้ในชัน้ เรียนปกติ (On-site) แบ่งนักเรียนสลับกลุ่มมาเรียนในห้องเรียนออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่ม A และกลุ่ม B โดยจำกัดให้มีจำนวนนักเรียน 20 – 25 คนต่อห้องเรียน สลับกลุ่มกันมาเรียน เป็น สัปดาห์เว้นสัปดาห์ (ดังตารางการมาโรงเรียนรายสัปดาห์ที่แนบมาด้วย) โดยนักเรียนที่มาเรียนที่โรงเรียนและ นักเรียนที่เรียนที่บ้าน ต้องมีโอกาสในการเรียนรทู้ ีไ่ มแ่ ตกต่างกัน ตารางแสดงการแบ่งกลมุ่ A และกลุ่ม B ของนกั เรียน สัปดาห์ กลุ่มเรียน On-site กลมุ่ เรยี น On-Line หมายเหตุ 1 กลมุ่ A (เลขค)ี่ กลมุ่ B (เลขค)ู่ ทกุ ระดบั ชน้ั 2 กลมุ่ B (เลขคู)่ กลมุ่ A (เลขค่ี) ทุกระดับช้นั 3 กลมุ่ A (เลขค)่ี กลุ่ม B (เลขค)ู่ ทกุ ระดบั ชัน้ 4 กลุม่ B (เลขค่)ู กลมุ่ A (เลขค่)ี ทุกระดบั ชั้น 2. การเรียนสด (Live streaming) ผ่าน Google meet ของ Google Classroom ตามรายวิชาซ่ึงนักเรียน ทุกคนสามารถเข้าถึงได้จาก รหัส Google meet ตามรหัสที่ใช้ในภาคเรียนที่ 1/2564 (หรือเข้ารหัส Google Classroom ท่ีหนา้ เว็บไซต์ของโรงเรยี น www.snws.ac.th) 3. การนับเวลาเรียน ให้นับจากจานวนชั่วโมงที่เรียนจริงตามตารางสอนตามท่ีมีการเรียนรู้ผ่านระบบ ออนไลน์ และกิจกรรมหรอื งานใด ๆ ที่มอบหมาย ภาระงานหรอื กิจกรรมนน้ั มกี ารระบุไว้อย่างชัดเจนในกาหนดการสอน ของแตล่ ะรายวิชา 4. การเก็บคะแนน ให้ครูผู้สอนวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผเู้ รียนระหว่างที่มีการเรียน การสอน (Formative Assessment) ผ่านการมีส่วนร่วมในการเรียนผ่านระบบออนไลน์ (Online Learning) หรือเม่ือ นักเรยี นสง่ ภาระงานท่มี อบหมาย
--------------------- สาหรบั นกั เรียน --------------------- 5. นักเรียนทุกคนเข้าเรียนผ่านระบบออนไลน์ (Online learning) โดยการเรียนสด (On Air) หรือผ่านระบบ Google meet ใน Classroom ตามตารางเรยี นภาคเรียนท่ี 2/2564 6. นักเรียนทาแบบทดสอบภาระงาน หรือกิจกรรมหรืองานใด ๆ ที่มอบหมาย ผ่านภาระงานที่ครูแจ้งใน Google Classroom รายวชิ า และส่งงานภายในระยะเวลาที่กาหนดเพอื่ เปน็ การนบั เวลาเรยี น 7. เตรียมพร้อมสาหรับการเรียนออนไลน์ในแต่ละวัน เตรียมอุปกรณ์การเรียน เช่น โทรศัพท์มือถือ แท็บ เล็ตและคอมพิวเตอร์ท่สี ามารถเชื่อมต่อระบบอินเทอร์เน็ต และอืน่ ๆ บริหารเวลาใน การเขา้ เรียน/สง่ งานตามท่ีแต่ละ วชิ าวางกาหนดการเรียนหรือส่งงาน (ตรวจสอบไดท้ าง Google Classroom ของครูแต่ละท่าน) 8. นักเรียนที่ต้องมีการฝึกซ้อมเพื่อการแข่งขัน โรงเรียนขอให้นักเรียนประสานงานกับครูผู้ฝึกซ้อมในการ ปรับรปู แบบการฝกึ ซ้อมโดยไม่ให้กระทบกับเวลาเรียนตามตารางเรียนภาคเรยี นที่ 2/2564 หรอื ตามเวลาท่ีครูประจาวิชา นัดหมายในกรณีที่มีความจาเป็นต้องฝึกซ้อมโดยใช้สถานที่ภายในโรงเรยี นต้องให้ครูผู้ฝึกซ้อม ขออนุญาตเป็นลายลักษณ์ อกั ษรกับกลุ่มบริการวชิ าการและผูป้ กครองของนกั เรียนก่อนการฝกึ ซ้อมทกุ คร้งั --------------------- สาหรบั ผู้ปกครอง --------------------- 9. นักเรียนท่ไี ม่มีอุปกรณ์ในการเรียนผ่านระบบออนไลน์ ในกรณีที่นักเรียนไม่มีอุปกรณ์ (คอมพิวเตอร์ โทรศพั ท์มอื ถือ หรือแทบ็ เล็ต) หรือชวั่ โมงอินเทอร์เนต็ สาหรับใช้ในการเรียนผ่านระบบออนไลน์นักเรียนประสานงานกับ ครูทป่ี รกึ ษาผ่านช่องทางการติดต่อได้ทงั้ เบอรโ์ ทรศัพท์/ไลน์กลุ่มของหอ้ งเรียนเพ่ือหาแนวทางในการแก้ไขและดูแลช่วยเหลือ เป็นรายกรณี 10. ผู้ปกครองทุกท่านมีหนา้ ที่ให้ความช่วยเหลือนักเรียน และประสานงานกับครูที่ปรึกษา ในการ กากับ ติดตาม และสนับสนุนนักเรียน ในด้านอุปกรณ์ วิธีการและกาลังใจ ในการเรียนผ่าน On-Site และระบบ ออนไลน์ ดังนี้ 10.1 ให้ความสาคัญกับเวลาเรียนของนักเรียนในวันจันทร์ถึงวันศุกร์ เวลา 08.30–16.00 น. โดยระวงั งานหรอื กจิ กรรมต่าง ๆ ท่อี าจสง่ ผลกระทบต่อเวลาและบรรยากาศในการเรียน ของนักเรยี น 10.2 จัดเตรียมอุปกรณ์ สัญญาณอินเทอร์เน็ต และสภาพแวดล้อม ให้พร้อมสาหรับ การเรียนรู้และการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ระหวา่ งภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ของนักเรยี น 10.3 กากับ ติดตาม การเข้าเรียนของนักเรียน ให้เข้าเรียน ผ่านการเรียนสด (Live streaming), การเรยี นผา่ นคลปิ (Clip video) และการศึกษาด้วยตนเอง (Self-study) 10.4 กากับ ติดตาม ตรวจสอบการเข้าเรียน ภาระงาน หรือกิจกรรมหรืองานใด ๆ ท่ีมอบหมาย (ตรวจสอบได้ทางหนา้ เว็บไซต์ของโรงเรียน www.snws.ac.th)
10.5 ตดิ ตามประกาศ ขา่ วสารต่าง ๆ ของโรงเรียน ผ่านชอ่ งทางต่าง ๆ เช่น Line กล่มุ ผ้ปู กครอง, เวบ็ ไซต์ของโรงเรยี น www.snws.ac.th, เพจประชาสัมพนั ธ์ โรงเรยี นศกึ ษานารวี ทิ ยา 10.6 ประสานงานกับคณุ ครูที่ปรกึ ษาในกรณีที่นกั เรียนพบปญั หาในการเรยี น --------------------- สาหรับครูผ้สู อน --------------------- 11. จัดการเรยี นร้ผู ่าน On-Site และระบบออนไลน์ (Online Learning) บนระบบ Google Classroom ตามตารางเรยี นภาคเรียนที่ 2/2564 หรอื ตามเวลาที่ครูประจาวิชานัดหมาย โดยมวี ธิ ีการเรยี นรู้ 3 รูปแบบดงั นี้ 11.1 การเรียนสด ผา่ น Google meet (ชอ่ งทางหลกั ), Zoom, Discord, Line หรอื ช่องทางอืน่ ๆ 11.2 การเรียนผ่านคลปิ (Clip Video) การอัปโหลดคลปิ และเนื้อหาใน Google Classroom 11.3 การศึกษาด้วยตนเอง (Self-Study) ผ่านเน้ือหาท่ีครูได้อัปโหลดใบความรู้ หรือลิงก์แหล่งเรียนรู้ ขอให้ คุณครูนัดหมายการเรียนหรือเน้ือหาการเรียน และภาระงานให้ตรงกบั ตารางเรียนภาคเรียนที่2/2564 รวมถงึ กาหนด ระยะเวลาในการสง่ งานให้ชดั เจนและเหมาะสม 12. ครูผสู้ อนออกแบบการเรียนรู้ เพ่อื ให้ผเู้ รียนได้เรียนรู้ในสงิ่ ที่จาเป็นและเรียนรอู้ ย่างมีความหมาย โดยมี 2 ลกั ษณะ ได้แก่ 12.1 เน้นตัวช้ีวัดท่ีต้องรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด ฯลฯ (ฉบับปรับปรุงพุทธศักราช 2560) 12.2 บรู ณาการตัวช้วี ัดควรรู้ กบั กจิ กรรมภาคปฏิบัติหรือภาระงานของนักเรียน 13. ครูผู้สอนปรับวิธีการจัดการเรียนรู้ วิธีการวัดและประเมนิ ผลให้เหมาะสมกับสถานการณ์แพรร่ ะบาดของโรค ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เช่น การใช้ส่ือการเรียนร้ผู ่านระบบออนไลน์ การมอบหมายงาน การทา รายงาน รวมถึงมีการวัดและประเมินผลระหว่างทีม่ ีการเรยี นการสอน (Formative Assessment) เปน็ ตน้ 14. ครูผู้สอนพิจารณาปริมาณของภาระงาน ให้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 และฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560 โดยคานึงถึง ว่า นักเรียนแต่ละคนมีวิชาเรียนมากถึง 12 – 15 รายวิชาต่อสัปดาห์ มีภาระงานรายสัปดาห์ท่ีมากและอาจไม่พรอ้ มใน การเรยี นรู้อยา่ งเต็มที่ 15. ครูผู้สอนเชก็ เวลาเรียนของนักเรียน เม่ือนักเรียนเขา้ เรียน On-Site หรือ On-Line หรือการเข้าชัน้ เรยี นของ Google Classroom 16. ครผู สู้ อนรายงานผลการปฏิบตั หิ น้าทปี่ ระจาวัน โดยรายงานสรุปผลการสอนรายคาบ ก่อนเวลา 18.00น. ของ ทกุ วนั
17. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การพัฒนาคุณภาพผ้เู รียนในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้กิจกรรม พัฒนา ผู้เรียนคุณลักษณะอันพึงประสงค์ การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน และสมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน ต้อง ครอบคลุมและเป็นไปตามมาตรฐานตัวชี้วัดในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 และ มาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตัวชวี้ ัด ฯลฯ (ฉบับปรับปรุงพุทธศักราช 2560) ของรายวิชาน้ัน ๆ ทั้งนี้ให้ครูผู้สอน ปฏิบัติ ตามแนวทางการวดั และประเมินผลตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐานพุทธศักราช 2551 18. กิจกรรม Homeroom ให้ครูที่ปรึกษา ส่ือสาร ชี้แจงและทาความเข้าใจกับนักเรียนถึงความจาเป็น ในการ ปรับวิธีการจัดการเรียนการสอนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ดังกล่าวให้ชัดเจนอาจมีการปรับเปล่ียน วิธีการหรือ รูปแบบการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับนักเรียนแต่ละบุคคลและสถานการณ์กากับติดตามการเข้าเรียนและสารวจสภาพ ปัญหาของนักเรียนในระหว่างการเรียนผา่ นระบบออนไลน์ 19. การจัดกิจกรรมรวมกลุ่ม ให้จัดในรูปแบบ Small Bubble หลีกเล่ียงการทากิจกรรมข้ามกลุ่มและจัด นักเรียนในห้องเรียนปกติ (6x8 เมตร) ไม่เกิน 25 คน หรือจัดเว้นระยะห่างนกั เรียนในหอ้ งเรียนไม่น้อยกว่า 1.5 เมตร พิจารณา(ไม่ให้แออัด) ตามความเหมาะสมโดยคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด หรือคิดหลักเกณฑ์จานวนคนต่อพ้นื ที่ จัดงาน ไม่น้อยกว่า 4 ตารางเมตรต่อคน พิจารณาเพ่ิมพื้นที่ทางเดินให้มีสัดส่วนมากขนึ้ สาหรับการลงทะเบียนเพื่อลด ความแออัด อาจเลือกใช้ระบบการประชุมผ่านส่ืออิเล็กทรอนิกส์ ใช้การสแกน QR Code ลงทะเบียนหรือตอบ แบบสอบถาม รวมทั้งการประชาสัมพันธ์มาตรการ คาแนะนาในการป้องกันการแพร่ระบาดให้แก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ทราบ มาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรสั โคโรนา – 2019 นกั เรยี น ผูป้ กครอง ครแู ละบคุ ลากรที่มาโรงเรียน หรอื ทมี่ ีความจาเป็นต้องมาติดตอ่ ราชการทโ่ี รงเรียน ศึกษานารีวิทยาให้ดาเนินการและปฏิบัติตามมาตรการสุขอนามัยส่วนบุคคลอย่างเข้มข้นไดแก่ 6 มาตรการ หลัก (DMHT-RC) และ 6 มาตรการเสริม (SSET-CQ) ตามท่ีกระทรวงสาธารณสุข หน่วยงานต้นสังกัดกาหนด และ แผน เผชญิ เหตขุ องโรงเรยี นศกึ ษานารวี ิทยา
Search
Read the Text Version
- 1 - 11
Pages: