กาพย์เห่เรอื บทนาเร่อื ง ประวัติผแู้ ต่ง ลกั ษณะคาประพนั ธ์ และเนอื้ เร่อื งยอ่
Presentation Tคitาleถามชวนคิด ๑. นกั เรยี นเคยได้ยินการเปล่งเสียงร้องว่า “ฮยุ เลฮยุ ” หรือไม่ ๒. การเปล่งเสยี งร้อง “ฮยุ เลฮยุ ” มจี ุดประสงค์เพือ่ อะไร
บทนาเรอ่ื ง กาพย์เห่เรือ เปน็ พระนิพนธข์ องเจา้ ฟา้ ธรรมธเิ บศร (เจา้ ฟา้ กุ้ง) จุดประสงค์ เพือ่ ใชเ้ ปน็ บทเห่เรือพระทน่ี ่ังของเจ้าฟ้ากุ้ง ในคราวตามเสดจ็ สมเด็จพระราชบิดาไปนมัสการ และสมโภชพระพทุ ธบาท ** ในสมัยรตั นโกสินทร์ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั ทรงใช้บทเห่เรอื พระนิพนธ์ของเจ้าธรรมธเิ บศร ในการเหเ่ รอื กระบวนหลวง
ประเพณีการเหเ่ รอื สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานภุ าพ ทรงสันนิษฐานว่า การเหเ่ รือหลวง ไทยอาจได้รบั แบบแผนมาจากอินเดยี สว่ นการเหเ่ รือเล่นอาจเปน็ วัฒนธรรม ดง้ั เดิมของไทยที่มีมาชา้ นาน ท่ีมา : สารานกุ รมไทย ฉบับเยาวชน เล่มท่ี ๓๐
ประเพณกี ารเหเ่ รอื ประเพณีการเห่เรอื ของไทย แบ่งเปน็ ๒ ประเภท เห่เรือหลวง ใชใ้ นพระราชพธิ ีทเี่ รียกว่า กระบวนพยหุ ยาตราทางชลมารค ในเวลาพระมหากษัตรยิ เ์ สด็จพระราชดาเนินทางเรือ เห่เรอื เล่น ใชเ้ พอ่ื ความร่นื เริงและใหฝ้ พี ายได้พายไปพร้อม ๆ กนั เวลาชาวบ้านเดนิ ทางทางเรอื
การเห่เรือหลวง ๑. ชา้ ลวะเห่ เป็นการเหท่ านองชา้ ใช้เปน็ สญั ญาณเริม่ ตน้ เคล่อื นเรอื ในกระบวนทุกลาไปพรอ้ ม ๆ กันอยา่ งชา้ ๆ เมื่อเร่ิมออกจากท่า ๒. มูลเห่ เปน็ การเห่ทานองเร็ว ใช้เหพ่ ายเรือทวนกระแสนา้ และพายพาขบวนเรือไปจนถึงท่ีหมาย ๓. สวะเห่ ใช้เหเ่ ม่อื ใกลถ้ งึ ทีห่ มาย ใหส้ ัญญาณฝพี ายใหเ้ ก็บพาย จนเรอื พระที่นัง่ เข้าเทียบท่า
ผู้ทรงพระนพิ นธ์ เจา้ ฟา้ ธรรมธิเบศร หรือเจ้าฟา้ กุ้ง • เปน็ พระราชโอรสพระองค์แรกในสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัวบรมโกศ พระราชชนนี คอื สมเดจ็ พระพนั วัสสาใหญ่ กรมหลวงอภัยนชุ ิตผู้สบื เชื้อสายจากตระกลู พราหมณเ์ พชรบุรี • ประสตู เิ ม่อื พ.ศ. ๒๒๕๘ เมอ่ื มีพระชนมายุครบ ๑๙ พรรษา ไดร้ บั การสถาปนาขึน้ เป็นเจา้ ฟ้ากรมขุนเสนาพทิ ักษ์
ผู้ทรงพระนพิ นธ์ เจ้าฟ้าธรรมธเิ บศร หรอื เจ้าฟ้ากุ้ง • พระราชบิดาเอาพระทยั สนิทเสน่หากรมขนุ สุเรนทรพทิ กั ษ์ ผ้เู ป็นพระราชนัดดา สง่ ผลใหเ้ จา้ ฟ้าธรรมธิเบศรทรงไม่พอพระทัย จึงใชพ้ ระแสงดาบฟนั กรมขุนสุเรนทรพิทักษ์ • พระราชชนนจี งึ ทรงจัดการใหเ้ จา้ ฟ้าธรรมธิเบศรผนวช ท่ีวดั โคกแสงเพ่อื หนีราชภัย เม่ือ พ.ศ. ๒๒๗๘
ผทู้ รงพระนพิ นธ์ เจ้าฟา้ ธรรมธเิ บศร หรอื เจ้าฟ้ากุ้ง • สมเด็จพระเจา้ อยู่หัวบรมโกศทรงแต่งต้ังเจ้าฟ้าธรรมธิเบศรเป็น กรมพระราชวงั บวรสถานมงคล และแต่งตง้ั ใหเ้ ปน็ พระมหาอุปราชเสวยบวรราชสมบตั ิ หนา้ ทที่ ่ีสาคัญคอื ปฏิสงั ขรณพ์ ระอารามหลวงหลายแห่ง • เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรถูกลงพระราชอาญาโบยจนส้ินพระชนม์ โดยพงศาวดารกล่าวว่าพระศพฝังอยู่ที่วัดไชยวัฒนาราม จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา
ลกั ษณะคาประพันธข์ องกาพยเ์ หเ่ รอื กาพยเ์ หเ่ รือของเจา้ ฟา้ ธรรมธเิ บศร มี ๒ ชุด • ชุดที่ ๑ บทเห่ชมกระบวนเรอื ชมปลา ชมไม้ ชมนก และแทรกบทครา่ ครวญถงึ นางอันเปน็ ทีร่ กั • ชุดที่ ๒ บทเหเ่ รียกวา่ เหก่ ากี เห่สังวาสและบทเห่ครวญ ซ่ึงเปน็ บทครา่ ครวญถึงนางอนั เปน็ ที่รัก โดยไม่ไดเ้ ชอื่ มโยงกับธรรมชาติ
ลักษณะคาประพนั ธข์ องกาพย์เห่เรือ เรียกตามลกั ษณะคาประพนั ธ์ที่ใชบ้ ทเห่แต่ละตอน คือ แต่งด้วยโคลงสสี่ ุภาพ ๑ บท และตามดว้ ยกาพยย์ านี ๑๑ ขยายความไมจ่ ากดั จานวนบท เนอื้ ความในกาพยย์ านี ๑๑ บทแรก และโคลงส่ีสภุ าพ มีความสอดคลอ้ งกัน โดยเลียนถ้อยคาจากโคลงสส่ี ภุ าพบทท่ขี นึ้ ต้น
แผนผังโคลงส่สี ภุ าพ
โคลงสี่สภุ าพ พศิ พรรณปลาวา่ ยเคล้า คลงึ กนั ถวิลสุดาดวงจนั ทร์ แจม่ หนา้ มัตสยาย่อมพัวพัน พิศวาส ควร ฤ พรากน้องช้า ชวดเคลา้ คลงึ ชม
แผนผงั กาพยย์ านี ๑๑
กาพยย์ านี ๑๑ พศิ พรรณปลาวา่ ยเคล้า คดิ ถงึ เจ้าเศร้าอารมณ์ มัตสยายังรูช้ ม สมสาใจไม่พามา เจา้ งามพริง้ ยงิ่ นวลปลา นวลจนั ทร์เป็นนวลจรงิ ไม่งามเท่าเจ้าเบอื นชาย คางเบือนเบือนหน้ามา
เนอ้ื เรื่องยอ่ ชดุ ท่ี ๑ • ชมกระบวนพยุหยาตราทางชลมารค ตง้ั แต่ “พระเสดจ็ โดยแดนชล ทรงเรอื ตน้ งามเฉิดฉาย” • ชมกระบวนเรอื ชมปลา ชมไม้ ชมนก เปน็ ลักษณะนริ าศ • กาพยเ์ ห่เรอื นี้เหน็ ได้ในสานวนวา่ เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรทรงนิพนธ์ สาหรับเหเ่ รือพระที่นง่ั ของพระองคเ์ อง เมื่อครง้ั ตามเสดจ็ ไปนมัสการพระพทุ ธบาทในเวลาเช้า พอตกเยน็ ก็ถงึ ทา่ เจ้าสนกุ
เนือ้ เร่ืองยอ่ (ตอ่ ) ชดุ ท่ี ๒ • เป็นคาสงั วาสยก เร่อื ง พระยาครฑุ ลกั พานางกากี มาทาบทเหก่ ากีและบทเห่สงั วาส • ขน้ึ ตน้ วา่ “กางกรโอบอมุ้ แกว้ เจา้ งามแพร้วสบสรรพางค”์ แลว้ ว่า ตอ่ ไปเป็นกระบวนสงั วาสจนจบ • ยกมาเพียงบางตอน คอื บทเหค่ รวญ ซง่ึ เปน็ บทพรรณนาความอาลัยรกั อยา่ งลกึ ซ้งึ
เน้ือเรอ่ื งย่อ (ต่อ) ความหมายเห่ชมกระบวนเรอื • เรือกระบวนพยหุ ยาตรา ท้งั เรือพระที่นัง่ เรอื พระบรมวงศานุวงศ์ เรือ ขุนนางขา้ ราชการ เรอื ครฑุ จบั นาค (ครุฑยุดนาค) เรอื ไกรสร มุข เรือศรสี รรถชัย เรอื สพุ รรณหงส์ เรอื ชัย เรอื คชสีห์ เรอื มา้ เรือสิงห์ เรอื นาควาสุกรี เรอื มงั กร เรอื เลียงผา เรืออนิ ทรี • ทรงพรรณนาความวจิ ติ รงดงามของเรือต่าง ๆ แสดงใหเ้ ห็นถึงแสนยานุภาพของกระบวนเรอื พยหุ ยาตรา
เนือ้ เรอ่ื งย่อ (ตอ่ ) ความหมายเหช่ มปลา • ราพงึ ราพนั คดิ ถงึ นางอนั เป็นทร่ี กั เมื่ออยู่ห่างไกลกนั • ชื่นชมความงามของปลาชนดิ ต่าง ๆ เปรียบเทียบกับความงามของนางผู้เปน็ ทรี่ ัก ความหมายเหช่ มไม้ • พรรณนาชมพรรณไม้ ดอกไม้ชนิดตา่ ง ๆ ถึงความหอมจากกลิน่ ดอกไม้ • เปรยี บเทยี บความงามของนางผู้เป็นท่ีรกั กับตน้ ไมแ้ ละดอกไม้ พร้อมระลึกถึงงานฝมี ือท่นี างเคยทาให้เก็บไวเ้ ชยชม
เน้ือเรื่องยอ่ (ต่อ) ความหมายเหช่ มนก • พรรณนาความเดยี วดายของตนทไ่ี มต่ ้องการจากนางผู้เปน็ ที่รกั • เปรียบเทยี บความงามของนางเขา้ กบั สีสนั และเสียงร้องที่ไพเราะของ นกและแสดงความระลึกถึงนางเมอ่ื ครั้งทอี่ ยเู่ คียงกนั ความหมายเห่ครวญ • พรรณนายามค่าคืน ถงึ ความเศร้าเสียใจและคิดถึงนางผเู้ ปน็ ท่ีรัก ทต่ี อ้ งจากไกลมาตง้ั แต่เชา้ จรดเยน็ แมน้ เพยี ง ๑ วัน เหมอื นนาน ๑ ปี
กจิ กรรมท้ายบทเรยี น คาสง่ั : ใหน้ กั เรยี นตอบคาถามตอ่ ไปนี้ ๑. เพราะเหตุใด เจา้ ฟ้ากงุ้ จึงต้องหนีโทษด้วยการผนวช และ หากนกั เรียนเจอเหตุการณ์เชน่ เดียวกับเจ้าฟ้ากุ้งนี้ นกั เรยี นจะตัดสินใจต่อเหตกุ ารณ์น้อี ย่างไร ๒. เพราะเหตุใด บทเหช่ มเรือจึงไม่มกี ารเปรยี บเทียบกบั ความงามของนางอันเป็นทรี่ กั หรือแสดงความคดิ ถึง นางอนั เปน็ ทรี่ ัก
อยา่ ลมื ...... ร่วมกจิ กรรม Google Classroom
ขอขอบคุณขอ้ มูลจาก คุณครวู ชิ ญ์ วชิ ญปัญญากุล โรงเรียนธญั บรุ ี สานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต ๔
Search
Read the Text Version
- 1 - 23
Pages: