224 บทท่ี 5 บทสรปุ และขอ้ เสนอแนะ การวิจัยสร้างสรรค์ละครราเรื่อง กาตยานี : นวัตกรรมการแสดงนาฏศิลป์สร้างสรรค์จาก ภารตนาฏยัมและนาฏศิลป์ไทย มีวัตถุประสงค์เพ่ือสร้างสรรค์ละครราเร่ือง กาตยานี : นวัตกรรมการ แสดงนาฏศิลป์สร้างสรรค์จากภารตนาฏยัมและนาฏศิลป์ไทย เป็นงานวิจัยสร้างสรรค์ที่นาเสนอ แนวคิดการสร้างสรรค์ทางด้านนาฏศิลป์ไทยในรูปแบบของละครรา แนวใหม่ที่มีเรื่องราวเกี่ยวกับ ตานานเทวสตรีในศาสนาฮินดู งานวิจัยสร้างสรรค์ครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสร้างสรรค์ตามหลัก กระบวนการวิจัยที่สามารถอธิบายออกมาในรูปแบบงานวิจัยเชิงคุณภาพ ผ่านกระบวนการวิจัย สรา้ งสรรค์ ภายใตเ้ นอื้ หาเกยี่ วกับตานานเทพีกาตยายนี 1. สรปุ ผล การวิจัยสร้างสรรค์ละครราเรื่อง กาตยานี : นวัตกรรมการแสดงนาฏศิลป์สร้างสรรค์จาก ภารตนาฏยัมและนาฏศิลป์ไทย ตามกระบวนการวิจัยสร้างสรรค์จากการศึกษาค้นคว้าข้อมูลเอกสาร หนังสือ งานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง การสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ และการศึกษาจากวีดิทัศน์ สามารถสรุปผล การศึกษาได้ดังนี้ ตานานการกาเนิดของเทพีกาตยายนี ซึ่งปรากฏอยู่ในคัมภีร์ปุราณะต่าง ๆ เช่น ตานานใน สกนั ทปุราณะ คมั ภีร์วามนปุราณะ คัมภีรว์ ราหปุราณะ คมั ภรี ์มารกัณเฑยปรุ าณะ เป็นต้น ตานานการ กาเนิดในคัมภีร์ปุราณะดังกล่าวมีความแตกต่างกันไปตามความเชื่อความศรัทธาของแต่ละท้องถิ่นใน อินเดีย แต่อย่างไรก็ตามสิ่งหน่ึงท่ีมีความสอดคล้องสัมพันธ์กัน คือ แก่นของเรื่องหรือใจความสาคัญ ของเร่ืองที่กล่าวถึงการลงมาปราบมหิษาสูรของเทพีกาตยายนีหรือพระทุรคา ซ่ึงความสาคัญน้ีเป็น แนวคิดให้กับผู้วิจัยในการหยิบยกเรื่องราวดังกล่าวมานาเสนอในรูปแบบละครรา ด้วยการศึกษา วเิ คราะห์ สังเคราะหข์ อ้ มลู จนเกิดเปน็ ละครรา เรือ่ งกาตยานี สามารถสรุปผลการสรา้ งสรรค์ดงั นี้ 1.1 รูปแบบการแสดงละครราเรือ่ ง กาตยานี จากการสร้างสรรค์ละครราเรื่อง กาตยานี ผลที่ได้จากการสร้างสรรค์การแสดงละครรา ด้วยแนวคิดทฤษฎีในการสร้างสรรค์จนกลายเป็นละครราที่มีรูปแบบใหม่ ด้วยการนาเอกลักษณ์หรือ จุดเด่นของละครราด้ังเดิมของไทย 3 ประเภท คือ ละครชาตรี ละครใน และละครนอกแบบหลวง ผสมผสานเข้าด้วยกัน ซง่ึ ละครราเรอื่ งกาตยานี มกี ารราเบกิ โรงหรือเรียกวา่ “ราถวายมือ” ก่อนเร่ิมการ แสดง โดยให้ผู้แสดงตัวพระและตัวนางท้ังหมดเป็นผู้ร่ายรา ตามแบบอย่างละครชาตรี อีกท้ังการใช้ แบบแผนการแสดงอย่างละครนอกแบบหลวงด้วยการดาเนินเรื่องรวดเร็ว สนุกสนาน และมีการ สอดแทรกการร่ายราอวดฝีมือของผู้แสดง คือ การราชมความงามของเทพีกาตยานี ด้วยทา่ ราท่ีมีลีลา อ่อนช้อยงดงามตามแบบแผนนาฏศลิ ปไ์ ทยตามแบบอย่างละครในหรือละครนอกแบบหลวง
215 การวางโครงเรื่อง การสรา้ งสรรค์ละครราเรอื่ ง กาตยานี ผู้วิจัยไดร้ บั แรงบันดาลใจมาจาก ภาพยนตร์อินเดยี เรื่อง “ทุรคา” ทอี่ อกเผยแพร่ทางสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ของไทย ท่ีส่อื ให้เห็นถงึ พลัง อิทธิฤทธ์ิ ปาฏิหาริย์ของเทวสตรีตามความเชื่อของชาวฮินดู เนื้อเร่ืองจะกล่าวถึงการอวตารของพระอุมา เพื่อมาปราบอสูรร้ายที่มาเบียดเบียนเหล่าเทพบนสวรรค์ โดยถ่ายทอดผ่านองค์ประกอบการแสดงต่าง ๆ ภายใต้การแบง่ เน้ือหาของการแสดงละครราน้ีออกเปน็ 3 องก์ ดงั นี้ องก์ที่ 1 อสูรอหังการ์ ส่ือถึงอสูรร้ายมาบาเพ็ญตบะเพ่อื ขอพรวิเศษจากเทพเจ้า แล้ว ขนึ้ ไปบกุ รุกสวรรค์ มเี นอื้ หาดังนี้ มหงิ ษาสรู อยากมพี ลังอานาจวเิ ศษ สามารถเอาชนะตอ่ เหล่าเทวดา ทง้ั หลายได้ จงึ ไปนัง่ บาเพญ็ ภาวนาทเี่ ขามันทร จนพระพรหมเสดจ็ ลงมาประทานพรให้กับมหงิ ษาสูรได้ สมความปรารถนา เม่ืออสูรได้รับพรวิเศษแล้วนึกเหิมเกริมข้ึนไปบุกรุกวิมานพระอินทร์ ถึงแม้ว่าพระ อนิ ทรอ์ อกมาต่อสู้กต็ อ้ งพ่ายแพ้หลบหนีไป ฉากท่ี 1 กล่าวถึงการขอพรของมหิงษาสูรต่อพระพรหม เพือ่ นาพรวิเศษนี้ไปแก้ แค้นต่อพระอินทร์ ฉากที่ 2 ส่อื ถึงการรกุ รานสวรรคข์ องมหิงษาสูร ด้วยความอหังการ์ องก์ที่ 2 พระอุมาอวตาร ส่ือถึงการอวตารของพระอุมาเป็นเทพีกาตยานีเพ่ือไป ปราบมหิงษาสูร มีเน้ือหาดังนี้ เม่ือพระอินทร์ต้องพ่ายแพ้ต่อมหงิ ษาสูร จึงมาทูลฟ้องต่อพระอิศวร บอก เล่าถึงเหตกุ ารณ์ท่ีมหิงษาสูรได้รบั พรจากพระพรหม แล้วข้ึนมาบกุ รุกสวรรค์สร้างความเดือดร้อนให้แก่ เหลา่ เทวดานางฟ้า พระอมุ าจงึ รับอาสาออกไปปราบมหิงษาสูร โดยอวตารเปน็ เทพีกาตยานี ฉากเทวสภา เป็นการนาเสนอถึงสาเหตุแห่งการอวตารของพระอุมา เป็นเทพี กาตยานี เพือ่ มาปราบมหงิ ษาสูร องก์ท่ี 3 สังหารอสุรา ส่ือถึงการปราบอสูรร้ายของเทพีกาตยานี มีเน้ือหาดังนี้ มหิงษาสูร และเทพีกาตยานีมาพบกัน มหิงษาสูรหลงใหลในความงามของเทพกี าตยานี พยายามเก้ียว พาราสี แต่เทพีกาตยานีท้าให้มหิงษาสูรมาต่อสู้กัน จึงเกดิ การต่อสู้กนั มหิงษาสรู ไม่สามารถต่อสู้ได้จึง แปลงกายเปน็ อสรู ควายเขา้ ไลข่ วดิ เทพกี าตยานี แต่สุดท้ายถกู เทพีกาตยานีสังหาร ฉากเขาวินธัย ส่ือถึงการต่อสู้กันระหว่างเทพีกาตยานีกับมหิงษาสูร ซึ่งท้ังสอง เป็นตัวแทนแหง่ ความดแี ละความช่วั ร้าย การเขียนโครงเรื่องและบทละครผู้วจิ ัยจะคานึงถงึ เรื่องราวตามตานานของเทพกี าตยายนี แต่มีการตัดในส่วนท่ีเป็นรายละเอียดปลีกย่อยออกไป และเชื่อมต่อเนื้อเร่ืองเพื่อให้บทละครมีความ กระชับ สนุกสนานเหมาะสมกับการแสดงละครรามากขึ้น นอกจากน้ีผู้วิจัยยังมีการปรับช่ือตัวละคร ตามตานาน เพ่ือให้เหมาะสมกับบทประพันธ์ และการขับร้อง เช่น กาตยายนี (อ่านว่า กาด-ยา-ยะ-นี) ตดั เสียงและเปล่ียนเสยี งเป็น กาตยานี (อา่ นว่า กา-ตะ-ยา-น)ี มหิษาสูร (อา่ นว่า มะ-หิ-สา-สูน) ปรับเป็น มหงิ ษาสรู (อ่านวา่ มะ-หงิ -สา-สนู ) ดนตรีและเพลงประกอบการแสดง ผู้วิจัยใช้แนวคิดการใช้ดนตรีประกอบการแสดงมา จากการแสดงละครนอก คือใช้วงดนตรีป่ีพาทย์เคร่ืองห้า ประกอบด้วย ระนาดเอก ฆ้องวงใหญ่ กลองทัด ตะโพน ฉ่ิง และฉาบ และมีการผสมผสานเสียงเป่าสังข์ในช่วงท้ายของเรื่อง ซ่ึงเป็นตอนที่เหล่าเทวดา นางฟ้ามาสักการะบูชาเทพีกาตยานีด้วยพิธีบูชาอารตี เพื่อสร้างความเข้มขลังและมีกล่ินอายของฮินดู นอกจากนีย้ งั มีการบรรจเุ พลงรอ้ งและทานองเพลงไว้ตลอดเร่อื ง โดยแตล่ ะเพลงร้องและทานองเพลงที่
216 ผู้ประพันธ์เลือกมาบรรจุไว้ในบทละครน้ีต่างมีอารมณ์เพลง ทานองเพลง และความเหมาะสมกับตัว ละครและอารมณข์ องตวั ละครในขณะนั้น จานวน 34 เพลง สาหรับผู้แสดงกาหนดให้ใช้ผู้ชายล้วน ดังปรากฏหลักฐานการใช้ผู้ชายแสดงละครในและ ละครนอกนับตั้งแต่อดีต ก่อนท่ีจะมีการใช้ผู้แสดงเป็นผู้ชายและผู้หญิงผสมผสานกันจนถึงปัจจุบัน (พ.ศ. 2564) ทีม่ กี ารใชผ้ ู้แสดงเปน็ ผูช้ ายลว้ นในบางโอกาส อีกทงั้ การใช้ผู้ชายแสดงในบทบาทการตอ่ สู้ ช่วยให้เกดิ ความเขม้ แข็ง กระฉบั กระเฉงมากย่ิงข้ึนด้วย การกาหนดทา่ ทาง ผู้วิจยั กาหนดทา่ ทางจากการศึกษาตารารานาฏศิลป์ไทยท่ีมีลักษณะท่ี เปน็ เอกลกั ษณเ์ ฉพาะในการใชเ้ หลยี่ มขาและการตั้งวง และการศึกษาภารตนาฏยมั ในการใชภ้ าษามือท่ี เรียกว่า มุทรา ลักษณะต่าง ๆ ในการสื่อความหมาย จึงเกิดเป็นกระบวนท่าราใหม่ในการแสดงละคร ราคร้ังนี้ทผ่ี สมผสานกันระหว่างภารตนาฏยัมและนาฏศลิ ป์ไทย เคร่ืองแต่งกาย เป็นการแต่งกายแบบยืนเคร่ืองตามแบบแผนของละครรา จาการศึกษา หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ เชน่ หุ่นวังหน้า ภาพลายเส้นละครผูห้ ญิงเจา้ พระยานครศรธี รรมราช ตารารา ตาราภาพจับเรื่องรามเกยี รต์ิ ภาพเขียนลายรดน้า จติ รกรรมพระที่นง่ั พทุ ไธสวรรย์ เปน็ ตน้ นามาสู่การ ออกแบบเคร่ืองแต่งกายของตัวละครในละครราคร้ังน้ที ี่เรยี กแบบแผนการแต่งกายละครราวา่ “ยนื เคร่ือง” 1.2 องคค์ วามรทู้ ไ่ี ดจ้ ากการสร้างสรรคผ์ ลงาน การสร้างสรรค์ละครราเร่ือง กาตยานี : นวัตกรรมการแสดงนาฏศิลป์สร้างสรรค์จาก ภารตนาฏยัมและนาฏศิลป์ไทย จากการศึกษาค้นคว้าข้อมูลด้วยวิธีการต่าง ๆ นั้น ผู้วิจัยได้นามา วิเคราะห์และสังเคราะห์จนสามารถสร้างสรรค์ผลงานคร้ังน้ีได้สาเร็จลงได้ ซ่ึงการสร้างสรรค์ครั้งน้ี ส่งผลให้ผ้วู ิจยั ไดร้ บั องค์ความรูเ้ พ่มิ ขน้ึ อันเปน็ ประโยชน์ต่อผูว้ จิ ัยเองและสังคม ดังนี้ 1.2.1 การแปรรปู วรรณกรรม ละครราเรื่อง กาตยานี : นวัตกรรมการแสดงนาฏศิลป์สร้างสรรค์จากภารตนาฏยัม และนาฏศิลป์ไทย ผู้วิจัยได้แรงบันดาลใจ ภาพยนตร์อินเดียเร่ือง “ทุรคา” ท่ีออกเผยแพร่ทาง สถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ของไทย เนื้อเรื่องสื่อให้เห็นถึงพลังอิทธิฤทธิ์ ปาฏิหาริย์ของเทวสตรีตามความ เช่ือของชาวฮินดูนามว่า ทุรคา จึงนามาสู่การสร้างสรรค์ละครราครั้งน้ี โดยผู้วิจัยใช้แนวคิดเก่ียวกับ การแปรรูปวรรณกรรม ด้วยการปรับเปล่ียนวรรณกรรมต้นเรื่องจากที่มีการนาเสนอในรูปแบบ ภาพยนตร์อินเดียไปสู่การนาเสนอในอีกรูปแบบหนึ่ง คือ ละครรา โดยยังคงจุดม่งุ หมายของโครงเรื่อง และแก่นเรื่องไว้ดังเดิม แต่ได้มีการตัด เพิ่ม เชอ่ื มต่อ และมีการปรบั เปล่ยี นช่อื ตัวละคร และเน้ือหาใน บางส่วน เพื่อให้เหมาะสมกับการแสดง ท้ังนี้การแปรรูปวรรณกรรมครั้งน้ีผู้วิจัยคานึงถึงรูปแบบหรือ แบบแผนของการแสดงละครราเปน็ หลัก การแปรรูปวรรณกรรมถึงแม้ว่าจะไม่ใช่องค์ความรู้ที่แปลกใหม่ ดังปรากฏในการ แสดงโขน ละครของไทยจานวนไม่น้อย เช่น วรรณกรรมเร่ืองเงาะป่าของพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกลา้ เจ้าอยู่หัว ก็ไดม้ ีการแปรรูปวรรณกรรมจากบทบทละครมาสู่การแสดงละครรา โดยมีการ ตัด และเช่ือมต่อบทละครจากบทวรรณกรรมท่ีมีเน้ือหาและรายละเอียดอย่างมาก ก็แปรรูปมาเป็น การแสดงละครรา ตอนแต่งงาน หรือแม้แต่บทพระราชนิพนธ์เร่ืองรามเกียรต์ิก็ได้รับการแปรรูป วรรณกรรมด้วยวิธีการเดยี วกันจนกลายเปน็ การแสดงโขน เรอื่ งรามเกยี รติ์ ดว้ ยระยะเวลาการแสดงไม่
217 เกิน 2 ชั่วโมงแต่สามารถนาเสนอเร่ืองราวของตัวละครในเรื่องรามเกียรต์ิตัวใดตัวหน่ึงได้ตลอดเร่ือง เช่น ตอนพระรามาวตาร ตอนหนุมานชาญสมร ตอนขุนยักษ์ผู้ภักดี เป็นต้น การแสดงโขนเร่ือง รามเกียรติ์ท่ีได้มีการแปรรูปวรรณกรรมนี้ได้นาเสนออัตชีวประวัติของตัวละครใดตัวละครหนึ่งต้ังแต่ เร่ิมจนจบเร่ือง เปรียบเสมือนเป็นการย่อยเน้ือหาสาระของบทวรรณกรรม คัดสรรมาเพียงตอนที่มี ความสนุกสนาน น่าสนใจมานาเสนอให้กับผู้ชม เพ่ือให้วรรณกรรมเร่ืองน้ัน ๆ มีความน่าสนใจมาก ย่งิ ขนึ้ ดังน้ันการแปรรูปวรรณกรรมจึงเป็นองค์ความรู้อย่างหน่ึงท่ีผู้วิจัยได้รับจากการ สร้างสรรค์ละครราครง้ั น้ี ซง่ึ ภาพยนตร์อินเดียเรือ่ ง “ทุรคา” ท่ีมีเนื้อหายืดยาวหลากหลายตอน ผวู้ ิจัย ได้คัดสรรนาตอนท่ีเป็นจุดเด่นของตานานและเป็นท่ีรู้จักกันโดยท่ัวไปของ เทพีกาตยานีมานาเสนอ นัน่ เอง 1.2.2 การผสมผสานหลายนาฏยจารตี การสร้างสรรค์กระบวนท่าราในละครราเรื่องกาตยานีได้ใช้ แนวคิดการผสมผสาน นาฏยจารีต 2 รูปแบบ มาผสมผสานกัน กล่าวคือ การอาศัยโครงสร้างกระบวนท่าราภาพลายเส้นใน ตารารา เช่น การตั้งวงมีลักษณะงอแขนเกือบเป็นมุมฉาก วงแคบ การใช้มือสอดสูงระดับแขนจะสูง กว่าการราในปัจจุบัน ปลายแขนงอเข้าใกล้ศีรษะ การใช้ตัวมีลักษณะกดตัว แอ่นตัว ก้นงอน สาหรับ การใช้ขา ตัวนางมีลักษณะยกขาแบะเข่ากว้างคล้ายตัวพระ ยกเท้าระดับคร่ึงน่อง ส่วนตัวพระมี ลกั ษณะการใช้เหล่ียมขาท่ีกวา้ งกว่าการราในปัจจุบัน แลว้ สอดแทรกลักษณะการใช้ภาษามือท่ีเรียกว่า มุทรา หรือ หัสตมุทรา ตามหลกั การแสดงนาฏยศาสตร์ ในการสอ่ื ความหมายด้วยภาษามือแทนคาใน บทร้องและคาพูดตามหลักการแสดงนาฏยศาสตร์มาประกอบใช้และร่วมสร้างความหมายของ กระบวนท่ารา การผสมผสานหลายนาฏยจารีตนี้ เป็นองค์ความรู้หนง่ึ ที่มีความสาคัญตอ่ การพัฒนา ต่อยอดองค์ความรู้ทางด้านนาฏศิลป์ไทยให้เกิดการสร้างสรรค์สิ่งแปลกใหม่ ซ่ึงองค์ความรู้ท่ีเกิดจาก การสร้างสรรค์นี้นับเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง อันจะเป็นแนวทางในการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ต่อวงการ นาฏศิลป์ต่อไป 1.2.3 การขดั ขนื อานาจปติ าธิปไตยด้วยความเชอ่ื จากสภาพสังคมอินเดียท่ีเป็นต้นเร่ืองของตานานเทพีกาตยานี ที่มีผู้ชายเป็นผู้ท่ีมี บทบาททางสังคมสูงกว่าผู้หญิงหรือที่เรียกว่า “ปิตาธิปไตย” จนกลายเป็นสิ่งที่กาหนดบทบาททาง สังคมการแบ่งชนชั้น วิถีชีวิตความเป็นอยู่ให้เป็นไปตามค่านิยมผู้ชายมีฐานะความเป็นใหญ่ในสังคม อินเดียมากกว่าผู้หญิง และผู้หญิงถือเปน็ สมบัตขิ องผู้ชาย เมื่อผู้หญงิ ต้องถูกแบ่งชนช้ันและถกู กดขี่ทาง สงั คม ความเปน็ อยู่ ส่งผลให้เกดิ การต่อสู้ของสตรีเพือ่ ขัดขนื อานาจปิตาธิปไตย โดยอ้างเทพเจ้าสตรซี ึ่ง เปน็ ส่ิงเร้นลับ เหนือธรรมชาติ ยากต่อการพสิ ูจน์ ด้วยการบชู าลัทธศิ ักติอนั เป็นลทั ธทิ ี่เชื่อว่าสตรมี ีพลัง อานาจเหนือกว่าเพศชาย ลัทธิศักติจึงเปรียบเสมือนเป็นการต่อสู้หรือการขัดขืนของสตรี โดยอาศัย พลัง อานาจของเทพเจ้าสตรี เพ่ือให้สตรีชาวอินเดียได้รับส่ิงท่ีตนปรารถนาคือ สิทธิสตรีในสังคม อินเดยี
218 แนวคิดการขัดขืนอานาจปิตาธปิ ไตยของสตรชี าวอินเดยี โดยใช้มิติดา้ นความเช่ือผ่าน ลัทธิศักติ อาจเรียกได้ว่าเป็นการต่อสู้ของสตรีด้วยวิธีการท่ีเรียกว่า “สันติวิธี” ซ่ึงเป็นวิธีการต่อสู้ เพือ่ ให้สตรีไดร้ ับสทิ ธิเสรีภาพและความยุติธรรม โดยไม่ใช้ความรุนแรง แม้ในสังคมปจั จุบันกย็ ังปรากฏ การต่อสู้ด้วยสันติวิธีอนั มีวิธีการท่ีหลากหลายอยู่เสมอ เช่น การนัดหยุดงาน การประท้วงมวลชนด้วย แฟลชมอ็ บ (Flash mob) เป็นต้น การต่อสดู้ ้วยสนั ติวิธนี ี้ก็เพ่อื ก่อให้เกดิ ความเท่าเทียมทางสังคม หรือ การเปล่ียนแปลงทางสังคม การเมือง หรือเศรษฐกิจดังปรากฏอยู่ท่ัวไป ดงั ท่ี มารค ตามไท (2541, น. 2) อธิบายถึงสันติวิธีในการต่อสู้หรือเรียกร้อง (Peaceful Demonstrate/Protest) แนวทางในการต่อสู้นี้ เป็นแนวทางที่ถูกนามาใช้เม่ือเกิดความไม่พอใจหรือมีความเห็นไม่สอดคล้องกับผู้ท่ีมีอานาจ มีการ ดาเนินการในลักษณะของการประท้วง หรือ การเรียกร้อง หรือการต่อสู้โดยการยื่นหนังสือขอเข้าพบ หรือการชุมนุมกันเพ่ือแสดงออกถึงความไม่เห็นดว้ ย หรือ แสดงออกถึงความคิดเห็นท่ีแตกต่างจากผู้มี อานาจโดยสงบ สันติ ไมม่ ีอาวุธ เมื่อเปรียบเทียบการสร้างตัวตนในสังคมของสตรีชาวอินเดียด้วยอาศัยมิติความเชื่อ กับวิธีการต่อสู้เรียกร้องความเท่าเทียมทางสังคมด้วยสันติวิธีจะเห็นว่าทั้งสองอย่างน้ีมีนัยสาคัญ เดียวกัน กล่าวคือ เป็นการต่อสู้ขัดขืนเพื่อเรียกร้องความยุติธรรมโดยใช้กลยุทธ์ใดกลยุทธ์หนึ่งแทน ความรุนแรงท่ีก่อให้เกิดความสูญเสีย นับว่าเป็นองค์ความรู้หนึ่งท่ีได้รับจากการสร้างสรรค์ครั้งนี้ คือ การใชก้ ลยุทธห์ รอื สันติวธิ ีเป็นแนวทางหนง่ึ ท่ชี ่วยแก้ปญั หา ช่วยลดความรุนแรงซึ่งนับวา่ มีความจาเป็น อยา่ งยิ่งตอ่ สงั คมหรือโลกในปัจจบุ ัน 2. อภิปรายผล จากการศึกษาแนวคิดท่ีได้จากการสร้างสรรค์ละครราเร่ืองกาตยานี : นวัตกรรมการแสดง นาฏศิลปส์ รา้ งสรรคจ์ ากภารตนาฏยัมและนาฏศลิ ปไ์ ทย สามารถอภปิ รายผลไดด้ งั นี้ 2.1 การแปรรูปวรรณกรรม เป็นการปรับเปล่ียนวรรณกรรมต้นเร่ืองจากท่ีมีการนาเสนอใน รูปแบบหน่ึงไปสูก่ ารนาเสนอในอีกรูปแบบหน่งึ เชน่ การแปรรปู วรรณกรรมจากนวนิยายเป็นละครเวที โดยยังคงจดุ มงุ่ หมายของโครงเรอ่ื งและแก่นเรอื่ งไว้ดังเดมิ อีกทงั้ ยังคงคุณค่าของบทประพันธเ์ ดิมไวท้ ุก ประการ แต่ได้มีการตดั เพม่ิ สลับ เชื่อมต่อ และมีการปรับเปล่ียนเนื้อหาในบางส่วน เพื่อใหเ้ หมาะสม กับการแสดง ทั้งน้ีการแปรรูปวรรณกรรมต้องคานึงถึงรูปแบบหรือแบบแผนของการแสดงปลายทางท่ี ดัดแปลงไป ซึ่งละครราเร่ืองกาตยานีได้มีการแปรรูปวรรณกรรมด้วยการถอดความจากภาพยนตร์ โทรทัศนแ์ ละตานานในคัมภีรป์ รุ าณะ โดยยังคงเค้าโครงเร่ืองหลักของพระอุมาที่อวตารลงมาเพื่อปราบ อสูรร้าย ด้วยกระบวนการทางวรรณศิลป์ คือการตัดในส่วนท่ีเป็นรายละเอียดปลีกย่อยออกไป และ เชื่อมต่อเนื้อเรื่องเพ่ือให้บทละครมีความกระชับ สนุกสนานเหมาะสม กาหนดการแสดงให้อยู่ใน รูปแบบละครรา แบ่งเน้ือเร่ืองออกเปน็ 3 องก์ สอดคล้องกับ จักรกฤษณ์ ดวงพัตรา (2546, น. 165-167) กล่าวว่า การตัด-ต่อ บทละครรา เป็นการนาวรรณคดีร้อยกรอง ซ่ึงจะแต่งด้วยคาประพันธ์ร้อยกรอง ประเภทใด ๆ ก็ได้มาดัดแปลงเป็นตัวบทและบรรจุเพลงร้อง เพลงหน้าพาทย์ สาหรับจัดแสดงเป็น ละครรา โดยการกาหนดรูปแบบของละครราที่จะจัดทาขึ้น กาหนดเนื้อเร่ืองที่แสดงและแบ่งเป็นฉาก เป็นตอนให้เหมาะสมกบั เวลา อกี ทั้ง วิศปัตย์ ชัยช่วย (2557, น. 135) กลา่ วว่า การแปรรูปวรรณกรรม เป็นการปรับเปลี่ยนงานจากส่ือประเภทหนึ่งไปสู่สื่ออีกประเภทหน่ึง ซึ่งสื่อแต่ละประเภทนั้นมี
219 คุณลักษณะ หน้าท่ี และข้อจากัดที่แตกต่างกัน ดังนั้นการแปรรูปโดยเฉพาะจากวรรณกรรมเพ่ือการ อ่านไปสู่วรรณกรรมเพื่อการแสดงน้ัน จาเป็นจะต้องเข้าใจถึงคุณสมบัติของสื่อประเภทนั้น ๆ ให้ดีพอ เพื่อที่จะสามารถนาสารไปสู่ผู้รับได้อย่างมีประสิทธิภาพ แนวคิดการแปรรูปวรรณกรรมของ จกั รกฤษณ์ ดวงพัตรา และวศิ ปัตย์ ชัยช่วย สอดคล้องกับผลการวจิ ัยครั้งนี้ กลา่ วคือ ผูว้ ิจยั นาเร่อื งราว ตามตานานของเทพีกาตยายนีมาเป็นวรรณกรรมต้นเร่ือง โดยมีการตัด เพ่ิม สลับ เชื่อมต่อ และมีการ ปรับเปลี่ยนเนื้อหาในบางส่วน เพ่ือให้เหมาะสมกับการแสดง ท้ังนี้การแปรรูปวรรณกรรมจาก ภาพยนตร์โทรทัศน์และตานานในคัมภีร์ปุราณะมาอยู่ในรูปแบบการแสดงละครราน้ัน ผู้วิจัยต้อง คานึงถงึ แบบแผนของการแสดงละครรา 2.2 การผสมผสานนาฏยจารีต เป็นแนวคิดในการสร้างสรรค์กระบวนท่าราในละครราเรื่อง กาตยานี โดยใช้แนวคิดการผสมผสานนาฏยจารีต 2 ชนิดมาผสมผสานกัน กล่าวคือ โครงสร้าง กระบวนท่าราภาพลายเส้นในตารารา แล้วสอดแทรกลักษณะการใช้ภาษามือท่ีเรียกว่า มุทรา หรือ หัสตมุทรา ตามหลักการแสดงนาฏยศาสตร์ เพ่ือช่วยในการสื่อความหมายด้วยภาษามือแทนคาใน บทร้องและคาพูดตามหลักการแสดงนาฏยศาสตร์มาประกอบใช้แล ะร่วมสร้างความหมายของ กระบวนท่ารา สอดคล้องกับ ประวิทย์ ฤทธิบูลย์ และคณะ (2564, น. 132) ศึกษาเร่ือง รูปแบบการ สร้างสรรค์นาฏศิลป์ที่สื่อให้เห็นถึงคุณค่าของปีกแมลงทับและส่งเสริมการสร้างมูลค่าเชิงพาณิชย์ โดยผ่านมติ ิการแสดง ผลการศึกษาพบว่า การออกแบบลีลาท่าราทีใ่ ชป้ ระกอบในการแสดงชด “วิจิตร การงานปีกแมลงทับ” ใช้รูปแบบของการเลียนแบบท่าทางตามธรรมชาติของแมลงทับ ภาษาท่า นาฏศิลป์ไทยผสมผสานการเคลอ่ื นไหวแบบร่วมสมยั ซง่ึ ถือว่าเป็นการสร้างท่าราแบบผสมผสานหลาย นาฏยจารีตบนพื้นฐานของลีลาท่าราแบบดั้งเดิมคือนาฏศิลป์ไทย ด้วยการสร้างสรรค์ให้มีความแปลก ใหม่ หลากหลายนาฏยจารตี เพ่อื ชว่ ยเสริมสรา้ งลีลาท่าราใหเ้ ด่นชดั มากขึ้น 2.3 การการขัดขืนอานาจปิตาธิปไตยด้วยความเชื่อ สังคมอนิ เดียเป็น “สังคมปิตาธิปไตย” หรือสังคมที่ผู้ชายเป็นใหญ่ มีอภิสิทธ์ิเหนือสถานภาพทางเพศอ่ืน ๆ ในขณะที่ผู้หญิงแทบไม่มีบทบาท ทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองเลย ส่งผลให้เกิดลัทธิศักติเพ่ือสร้างสิทธิสตรีให้มีบทบาทในสังคม อินเดียมากขึ้น ลัทธิศักติ คือลัทธิที่บูชาเทพี โดยกล่าวถึงการนาพลังอานาจที่เป็นของสตรีเพศมา พัฒนาเพ่ือให้เกิดความอุดมสมบูรณ์แก่โลก การขยายตัวของลัทธิบูชาศักติ หรือเทพเจ้าฝ่ายหญิงใน สงั คมอินเดีย ส่งเสริมใหบ้ างพ้ืนท่ีสิทธขิ องผู้หญงิ ไดร้ บั การยอมรบั มากยิ่งข้ึน การยกย่อง สรรเสริญเทพ เจ้าฝ่ายหญิงหรือศักตินี้ เป็นคาสอนที่เกี่ยวกับพระชายาของเทพเจ้าองค์ใดองค์หน่ึงที่มีอานาจ ฤทธ์ิ เดชมาก เทพเจ้าองค์ใดท่ีมีลักษณะเช่นใดก็จะมีชายาหรือศักติในลักษณะเช่นน้ันด้วย การสร้างพ้ืนท่ี ในสังคมของสตรีเช่นนี้เป็นกระบวนการต่อต้านต่อรองอานาจปิตาธิปไตยในสังคมโดยนาความเชื่อ ความศรัทธาส่ิงศักดิ์สิทธ์ิมาเป็นอานาจต่อรอง สิ่งเหล่าน้ีมิได้ปรากฏอยู่เพียงการนับถือเทพเจ้าสตรี เท่านั้น แต่ยังปรากฏอยู่ในรูปแบบส่ือต่าง ๆ เช่น ภาพยนตร์อินเดีย ซ่ึงเป็นส่ือรูปแบบหนึ่งท่ีสามารถ เข้าถึงผู้คนในสังคมได้ง่าย ส่งผลให้บทบาท สิทธิสตรีในสังคมได้รับการยอมรับนับถือมากข้ึน สอดคล้องกับ ใกล้รุ่ง ภูอ่อนโสม และรัญชนีย์ ศรีสมาน ศึกษาเร่ือง อานาจของผู้หญิง : การท้าทาย ความสัมพันธ์เชิงอานาจกับแนวคิดปิตาธิปไตยในนวนิยายสมัยใหม่ ผลการศึกษาพบว่า การตอบโต้
220 และต่อรองอานาจปิตาธิปไตยของสตรีผ่านนวนิยายเร่ือง The Single Mom คุณแม่เลี้ยงเดี่ยวหัวใจ ฟรงุ้ ฟริ้ง ของต้นรัก โดยตวั ละครฝา่ ยหญงิ ไดใ้ หต้ วั ละครฝา่ ยชายสาบานต่อสิ่งศกั ดิส์ ิทธ์ิว่าจะดแู ลลูกให้ ดีที่สุด ทาให้ฝ่ายชายมีท่าทีที่อ่อนลงและยอมปฏิบัติตามคาสาบาน การกระทาเช่นน้ีทาให้ตัวละคร ฝ่ายชายท่ีเป็นตัวแทนของอานาจปิตาธิปไตยยอมทาตามสิ่งท่ีตัวละครฝ่ายหญิงต้องการ แสดงให้เห็น ถึงการใช้อานาจต่อรองด้วยการพ่ึงพาสิ่งศักดิ์สิทธ์ิ เพ่ือช่วยสร้างพื้นท่ีให้กับสตรีมีอานาจต่อรองใน สงั คมมากข้ึน สตรีสามารถกา้ วข้ามจารีตของสังคมเดิม ๆ ได้ โดยท่ีสังคมไมป่ ระณามเพศสตรี แต่กลับ ทาให้สตรีได้รับการยกย่องเชิดชู การนาความเช่ือเรื่องส่ิงศักดิ์สิทธิ์มาเป็นอานาจต่อรองน้ันเป็นความ เช่ือท่ีทาให้เพศชายสานึกถึงความผิดชอบชั่วดีตอ่ สตรีและเป็นการทาให้สตรมี ีตวั ตนในสังคมเหนือกว่า เพศชาย 3. บทสรุป การสร้างสรรค์ ละครราเร่ือง กาตยานี เป็นการสรา้ งสรรค์ที่ผ่านกระบวนการวจิ ัยสร้างสรรค์ อันเกิดจากแรงบันดาลใจในการชมภาพยนตร์อินเดียแล้วนาสิ่งท่ีผู้วิจัยพบเห็นมาแปรรูปเป็นละครรา ด้วยการผสมผสานนาฏยจารีต 2 รปู แบบ คือ ภารตนาฏยัมและนาฏศิลป์ไทย จนกลายเป็นนวตั กรรม การแสดงรูปแบบใหม่ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับการแสดงพลังอานาจของสตรีในการต่อสู้กับสิ่งชั่วร้าย โดยผ่านตัวละครท่ีชื่อว่า “กาตยานี” ถึงแม้ว่าละครราเรื่องน้ีจะนาเสนอเพื่อความบันเทิง สนุกสนาน แต่ส่ิงหนึ่งที่ผู้วิจัยต้องการนาเสนอควบคู่หรือแฝงอยู่ในบทละคร คือ พลังอานาจของสตรี สิทธิสตรี หรือความเทา่ เทยี มกันทางสังคมผ่านละครราเรอ่ื ง กาตยานี 4. ขอ้ เสนอแนะ จากการสร้างสรรค์ ละครราเรื่อง กาตยานี : นวัตกรรมการแสดงนาฏศิลป์สร้างสรรค์จาก ภารตนาฏยัมและนาฏศิลป์ไทย ทาให้ผู้วิจัยได้รับองค์ความรู้และมุมมองในการสร้างสรรค์ผลงาน ทางด้านนาฏศลิ ปม์ ากยงิ่ ข้ึน ผวู้ ิจัยจึงมขี อ้ เสนอแนะเพ่อื ความกา้ วหนา้ ของวงวิชาการนาฏศลิ ป์ ดงั นี้ 4.1 แนวทางการสร้างสรรค์ด้วยวิธีการผสมผสานหลายนาฏยจารีตเป็นวิธีการหนึ่งในการ สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์ไปต่อยอด โดยนาวิธีการนี้ออกเผยแพร่ด้วยการจัดอบรม สัมมนา หรือ นาไปบรรจุไว้ในการเรียนการสอน ด้วยการอธิบายและสาธิตการสร้างสรรค์ด้วยแนวทาง การ ผสมผสานหลายนาฏยจารีต จากนั้นมอบหมายให้ผู้เข้าอบรมหรือผู้เรียนนาวิธีการเดียวกันนี้ไป สร้างสรรค์กระบวนท่ารา เพ่ือศึกษาถึงพัฒนาศักยภาพความคิดการสร้างสรรค์อันเป็นประโยชน์ต่อ วงวชิ าการนาฏศิลป์ไทย 4.2 ศาสนาฮินดูมีเร่ืองราวเกี่ยวกับเทพเจ้า และเทวสตรี เรื่องราวความเช่ือที่น่าสนใจและ ศึกษาอีกมากมาย อีกท้ังตานานเทพเจ้าที่มีปรากฏในรูปแบบภาพยนตร์อินเดียทางช่อง 8 เช่น กรรณะ สุริยบตุ ร บตุ รของพระอาทติ ยท์ ี่มฝี ีมอื ด้านการยิงธนู เป็นต้น หากผทู้ ่ีสนใจศึกษานาเรือ่ งราวเหลา่ นี้มา แปรรูปเปน็ การแสดงนาฏศิลป์ไทย นบั วา่ เป็นสงิ่ ที่น่าสนใจอยา่ งยง่ิ 4.3 แนวคิดการสร้างสรรค์กระบวนท่าราในการสร้างสรรค์คร้ังนี้ใช้นาฏยจารีต 2 รูปแบบ มาผสมผสานกัน กล่าวคือ การอาศัยโครงสร้างกระบวนท่าราภาพลายเส้นในตาราราแล้วสอดแทรก ลักษณะการใช้ภาษามือที่เรียกว่า มุทรา หรือ หัสตมุทรา ตามหลักการแสดงนาฏยศาสตร์ หากผู้ท่ี
221 สนใจจะนากระบวนท่าราที่มีการผสมผสานนี้ไปสร้างสรรค์การแสดงอ่ืน ๆ หรืออาจใช้แนวคิดน้ี ผสมผสานนาฏยจารตี อ่ืน ๆ เข้าด้วยกัน เชน่ การเต้นบัลเล่ต์กับนาฏศิลป์ไทย การเต้นคอนเทมโพรารี กบั นาฏศลิ ปไ์ ทย เปน็ ต้น เพ่อื พัฒนา ตอ่ ยอดความรู้ในวงวชิ าการนาฏศลิ ป์ให้ก้าวไกลตอ่ ไป
Search
Read the Text Version
- 1 - 8
Pages: