แบบฝึกทกั ษะการอ่านจบั ใจความสาคัญ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑ ก กลุม่ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เล่มที่ ๑ ความร้พู ้ืนฐานการอา่ นจบั ใจความสาคัญ แบบฝกึ ทักษะการอ่านจับใจความสาคญั สาหรับชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี ๑ กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย เลม่ ที่ ๑ ความร้พู น้ื ฐานการอา่ นจบั ใจความสาคญั นางสาวพิมพวรรณ ลิ่มสถาพร ตาแหน่งครู วทิ ยฐานะครชู านาญการ โรงเรียนระโนดวทิ ยา สานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต ๑๖ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
แบบฝกึ ทักษะการอ่านจบั ใจความสาคัญ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๑ ก กลุม่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย เลม่ ท่ี ๑ ความรู้พนื้ ฐานการอ่านจับใจความสาคัญ คานา แบบฝึกทักษะการอา่ นจบั ใจความสาคัญ สาหรับช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทยเล่มน้ี จัดทาขึ้นเพ่ือเป็นเครื่องมือในการพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความสาคัญ สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ เป็นนวัตกรรมทางการศึกษาที่ช่วยให้นักเรียนเกิดทักษะในการอ่าน ซ่ึงเป็น พ้ืนฐานสาคัญของการพัฒนาผู้เรียนให้รู้จักคิดอย่างเป็นระบบ คิดอย่างมีเหตุผล มีวิจารณญาณ มีการไตร่ตรอง มองการณ์ไกล และรู้จักนาความรู้ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจาวันอย่างเหมาะสม เน้ือหาของแบบฝึกทักษะเป็นวิธีการเรียนรู้จากง่ายไปหายาก เป็นนวัตกรรม ท่ีเร้าความสนใจของนักเรียน แบบฝกึ ทักษะการอา่ นจับใจความสาคญั นี้ มที ้งั หมด ๕ เลม่ ดังนี้ เล่มที่ ๑ พ้ืนฐานการอ่านจับใจความสาคัญ เลม่ ท่ี ๒ การอา่ นจับใจความสาคัญจากนิทาน เล่มท่ี ๓ การอา่ นจบั ใจความสาคัญจากบทความ เลม่ ที่ ๔ การอ่านจับใจความสาคญั จากข่าว เล่มที่ ๕ การอา่ นจบั ใจความสาคัญจากสารคดี แบบฝึกทักษะการอา่ นจับใจความสาคัญแต่ละเลม่ นักเรียนสามารถศึกษาหาความรู้ โดยฝึก ตามลาดับข้ันตอน ผู้จัดทาขอขอบพระคุณผูอ้ านวยการโรงเรียน คณะครู และนักเรียนโรงเรียนระโนดวิทยา ที่ให้ความร่วมมือและสนับสนุนให้แบบฝึกทักษะชุดน้ีสาเร็จ สมบูรณ์ด้วยดี และขอขอบพระคุณ ผู้เชี่ยวชาญท่ีให้คาแนะนาและตรวจสอบความถูกต้องของแบบฝึ กทักษะด้วยดีเสมอมา จึง ขอขอบพระคุณมา ณ โอกาสน้ี พิมพวรรณ ลมิ่ สถาพร
แบบฝึกทักษะการอา่ นจบั ใจความสาคัญ ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ ๑ ข กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เลม่ ท่ี ๑ ความรพู้ ้นื ฐานการอ่านจับใจความสาคญั สารบญั เรอ่ื ง หน้า คานา............................................................................................................................................................. ก สารบญั ......................................................................................................................................................... ข คาชี้แจงในการใช้แบบฝกึ ทักษะการอา่ นจับใจความสาคัญ................................................ ค คาแนะนาในการใชแ้ บบฝึกทักษะการอ่านจบั ใจความสาคัญ........................................................ ง มาตรฐานการเรียนรู้................................................................................................................................ จ ตวั ชวี้ ดั ....................................................................................................................................................... จ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้............................................................................................................................. จ แบบทดสอบก่อนเรยี น......................................................................................................................... ๑ แบบฝกึ ทักษะที่ ๑ ความรูพ้ ้นื ฐานการอา่ นจบั ใจความสาคัญ.......................................... ๓ ๔ ใบความรทู้ ี่ ๑ ความรู้พื้นฐานการอา่ นจับใจความสาคัญ.......................................... ๘ กิจกรรมท่ี ๑.๑ ............................................................................................................ ๙ กิจกรรมท่ี ๑.๒ ............................................................................................................................. ๑๐ กจิ กรรมที่ ๑.๓ ............................................................................................................................. ๑๑ กิจกรรมที่ ๑.๔ ............................................................................................................................. ๑๒ กิจกรรมที่ ๑.๕ ............................................................................................................................. ๑๓ ๑๔ แบบฝึกทกั ษะท่ี ๒ กลวิธีการอ่านจบั ใจความสาคญั ......................................................... ๑๘ ใบความรทู้ ่ี ๒ กลวธิ กี ารอา่ นจับใจความสาคัญ........................................................... ๑๙ กิจกรรมที่ ๒.๑ ............................................................................................................. ๒๐ กจิ กรรมที่ ๒.๒ ............................................................................................................................. ๒๑ กิจกรรมท่ี ๒.๓ ............................................................................................................................. ๒๒ กิจกรรมท่ี ๒.๔ ............................................................................................................................. ๒๓ กิจกรรมท่ี ๒.๕ ............................................................................................................................. ๒๕ ๒๖ แบบทดสอบหลงั เรียน......................................................................................................................... ๓๔ เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน...................................................................................................................... ๓๕ เฉลยแบบฝกึ ทักษะ..................................................................................................................................... เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน....................................................................................................................... บรรณานุกรม................................................................................................................................................
แบบฝึกทกั ษะการอ่านจบั ใจความสาคญั ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ค กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เลม่ ท่ี ๑ ความรพู้ ื้นฐานการอา่ นจับใจความสาคญั คาชีแ้ จงในการใชแ้ บบฝึกทกั ษะการอ่านจบั ใจความสาคญั ๑. แบบฝึกทกั ษะนเี้ ป็นแบบฝกึ ทักษะการอ่านจับใจความสาคญั สาหรับชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ ๑ เล่มท่ี ๑ ความรพู้ นื้ ฐานการอ่านจบั ใจความสาคัญ ๒. แบบฝึกทักษะการอา่ นจับใจความสาคญั เลม่ นีป้ ระกอบดว้ ย ๒.๑ สว่ นหน้า ประกอบด้วย - ปก - คานา - สารบญั - คาช้แี จงการใช้แบบฝึกทักษะ - คาแนะนาการใชแ้ บบฝึกทักษะ - สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ - ตวั ชี้วดั - จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ๒.๒ สว่ นเน้อื หา ประกอบด้วย - แบบทดสอบก่อนเรียน - แบบฝกึ ทักษะที่ ๑ - ใบความรู้ที่ ๑ - กจิ กรรมท่ี ๑.๑-๑.๕ - แบบฝกึ ทักษะที่ ๒ - ใบความรู้ที่ ๒ - กิจกรรมที่ ๒.๑-๒.๕ ๒.๓ ส่วนท้ายประกอบดว้ ย - เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน - เฉลยกิจกรรมของแต่ละแบบฝึกทักษะ ตั้งแตแ่ บบฝกึ ทกั ษะที่ ๑-๒ - เฉลยแบบทดสอบหลงั เรยี น - บรรณานุกรม
แบบฝกึ ทกั ษะการอา่ นจบั ใจความสาคัญ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ง กล่มุ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เลม่ ที่ ๑ ความรู้พน้ื ฐานการอ่านจบั ใจความสาคญั คาแนะนาในการใชแ้ บบฝึกทักษะการอา่ นจับใจความสาคัญ เมื่อครผู ู้สอนได้นาแบบฝึกทักษะการอา่ นจบั ใจความสาคัญ ชดุ น้ีไปใช้ในการจัดกจิ กรรม การเรียนการสอนควรปฏิบัตดิ ังน้ี ๑. ทดสอบความรู้ก่อนเรยี นของนักเรยี น เพ่ือวดั ความรู้พื้นฐานของผู้เรยี น แตล่ ะคน ๒. การจดั กิจกรรมการเรยี นรโู้ ดยใช้แบบฝึกทกั ษะการอา่ นจบั ใจความสาคัญ ชุดน้ีควรใช้ ควบคูก่ บั แผนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ๓. ขณะปฏบิ ตั ิกิจกรรมควรแนะนานักเรียนอย่างใกลช้ ดิ ๔. เมื่อนกั เรียนทาแบบฝึกทักษะการอ่านจบั ใจความสาคัญ เสร็จแลว้ ให้ชว่ ยกนั ตรวจ คาตอบ จากเฉลยแบบฝึกทักษะ ๕. ให้นกั เรียนซกั ถามเนื้อหาที่ไมเ่ ขา้ ใจ แลว้ ครูอธบิ ายเพ่ิมเติม ๖. ทดสอบความรู้ของนกั เรยี นโดยใชแ้ บบทดสอบหลงั เรยี น ๗. เก็บรวมคะแนนเพอื่ ดูความก้าวหนา้ ของนักเรียน ตรวจคาตอบ แบบฝกึ ทักษะในแต่ละ กจิ กรรมทัง้ ๒ แบบฝึกอีกคร้ัง เพ่อื ประเมินความถูกตอ้ งในการทาแบบฝกึ ทักษะของนักเรียน ๘. ใช้แบบฝึกทกั ษะการอ่านจับใจความสาคัญ ให้นักเรียนได้เรยี นรู้ และซอ่ มเสริมความรู้ ดว้ ยตนเอง
แบบฝกึ ทกั ษะการอา่ นจบั ใจความสาคญั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑ จ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เลม่ ที่ ๑ ความร้พู น้ื ฐานการอา่ นจบั ใจความสาคัญ สาระ/มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระท่ี ๑ : การอ่าน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรแู้ ละความคดิ เพ่ือนาไปใช้ตดั สินใจ แก้ปัญหาใน การดาเนินชวี ิตและมนี สิ ัยรักการอ่าน ตัวชวี้ ัด ท ๑.๑ ม ๑/๑ อา่ นออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรองไดถ้ ูกต้องเหมาะสมกับเร่อื งท่อี ่าน ม ๑/๒ จับใจความสาคัญของเรือ่ งที่อ่าน ม ๑/๓ ระบเุ หตผุ ลและข้อเท็จจริงกับขอ้ คิดเหน็ จากเรื่องท่ีอ่าน ม ๑/๔ ระบแุ ละอธบิ ายคาเปรยี บเทยี บและคาท่ีมีหลายความหมายในบรบิ ทต่างๆ จากการอ่าน ม ๑/๕ ตีความคายากในเอกสารวชิ าการ โดยพจิ ารณาจากบรบิ ท ม ๑/๙ มมี ารยาทในการอ่าน จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ๑. บอกความหมายและจดุ มุ่งหมายของการอา่ นจบั ใจความได้ ๒. ตง้ั คาถามและตอบคาถามจากการอา่ นจบั ใจความสาคญั ได้ ๓. สรปุ ใจความสาคญั จากการอ่านจบั ใจความสาคัญจากเร่ืองท่ีกาหนดให้ได้ ๔. สรุปสาระสาคัญจากการอา่ นจบั ใจความสาคัญจากเร่อื งที่กาหนดใหไ้ ด้ ๕. เขียนแผนผังความคิดสรุปความรู้พ้ืนฐานการอา่ นจับใจความสาคัญได้ ๖. เขยี นแผนผังความคดิ สรปุ กลวิธกี ารอา่ นจับใจความสาคญั ได้ ๗. มมี ารยาทในการอา่ น
แบบฝึกทักษะการอา่ นจบั ใจความสาคญั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๑ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เล่มที่ ๑ ความรู้พ้ืนฐานการอา่ นจบั ใจความสาคญั แบบทดสอบก่อนเรียน เลม่ ท่ี ๑ ความรพู้ ื้นฐานการอา่ นจบั ใจความ กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ ๑ จานวน ๑๐ ข้อ คาช้แี จง นกั เรียนอา่ นคาถามแล้วเลือกคาตอบท่ีถูกต้องทส่ี ุดเพียงคาตอบเดยี ว โดยทาเครอ่ื งหมายกากบาท (x) ลงในชอ่ งอกั ษร ก ข ค หรือ ง ลงใน กระดาษคาตอบท่ีครแู จกให้ ๑. ขอ้ ใดกลา่ วถกู ต้องเกี่ยวกับความหมายของใจความสาคัญ ก. ทาให้เกดิ เร่ือง ข. เด่นเฉพาะตัว ค. ครอบคลุมข้อความอ่นื ๆ ง. ถูกทุกข้อ ๒. ขอ้ ใดคือหลักการอา่ นจบั ใจความสาคัญ ก. ค้นหาข้อคดิ เห็น ข. ค้นหาสาระสาคัญ ค. คน้ หาข้อเทจ็ จริง ง. ค้นหาคาสาคญั ในเร่ือง ๓. ใจความสาคญั มลี ักษณะอย่างไร ก. เป็นคา ข. เป็นวลี ค. เป็นกลมุ่ คา ง. เปน็ ประโยค ๔. ข้อใดคอื จุดม่งุ หมายของการอ่านจบั ใจความ ก. เม่อื อ่านแลว้ สรปุ หรือยอ่ เรอื่ งได้ ข. เมอ่ื อ่านแลว้ สามารถจาคาประพันธช์ นิดต่างๆ ค. เม่อื อา่ นแลว้ สามารถปฏิบัติตามคาส่งั และคาแนะนาได้ ง. เม่อื อ่านแล้วสามารถคาดการณแ์ ละหาความจรงิ แสดงข้อคิดเห็น
แบบฝึกทักษะการอา่ นจบั ใจความสาคญั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑ 2 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย เลม่ ที่ ๑ ความรูพ้ ื้นฐานการอ่านจบั ใจความสาคญั ๕. บคุ คลในขอ้ ใดไม่มีพ้นื ฐานในการอ่านจบั ใจความ ก. นชุ ไม่ชอบวรรณคดีไทยเมื่ออ่านเร่ืองพระอภยั มณีไม่คอ่ ยเขา้ ใจ ข. อรสาไดฉ้ ายาว่า หนอนหนังสือเพราะชอบอา่ นหนังสือเกือบทุกประเภท ค. นาวินอ่านหนังสอื ทุกประเภทและมกี ารจดบนั ทึกความรู้จากการอา่ น ง. แปง้ อ่านเรอ่ื งแก่นข้าวได้อยา่ งรวดเรว็ และเข้าใจ เพราะเคยทานามาก่อน ๖. ขอ้ ใดไมใ่ ช่ขนั้ ตอนการอา่ นจบั ใจความสาคญั ก. อ่านซ้า ข. อ่านผ่านๆ ค. อา่ นทบทวน ง. อา่ นใหล้ ะเอียด ๗. ข้อใดกล่าวไมถ่ ูกต้องเกย่ี วกบั หลักการของการอ่านจบั ใจความสาคัญ ก. เขา้ ใจประเภท ข. ตั้งจดุ มุง่ หมาย ค. ใช้พจนานุกรม ง. สารวจสว่ นประกอบ ๘. “ตารวจจับโจรที่ปลน้ ร้านทองเยาวราชในตัวเมืองจังหวัดสงขลา เมื่อวานนี้” ใจความสาคญั คอื ข้อใด ก. ตารวจจบั โจร ข. โจรปล้นรา้ นทอง ค. ร้านทองในจงั หวัดสงขลา ง. โจรปลน้ ร้านทองเม่อื วานน้ี ๙. “ตารวจจับโจรที่ปล้นรา้ นทองเยาวราชในตวั เมืองจงั หวดั สงขลาเมื่อวานน้ี” ใจความรอง คือข้อใด ก. ตารวจจบั โจร ข. โจรปลน้ รา้ นทอง ค. ร้านทองในจังหวดั สงขลา ง. โจรปลน้ ร้านทองเมื่อวานน้ี ๑๐. ขอ้ ใดไมใ่ ช่จุดมงุ่ หมายของการอ่านจับใจความสาคญั ก. อา่ นแลว้ แสดงข้อคดิ เหน็ ได้ ข. อา่ นแลว้ สามารถสรุป ยอ่ เรอ่ื งได้ ค. อา่ นแล้วสามารถปฏิบตั ิตนตามได้ ง. อ่านแลว้ สามารถแต่งคาประพันธไ์ ด้
แบบฝึกทักษะการอ่านจบั ใจความสาคัญ ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๑ 3 กลุม่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย เลม่ ท่ี ๑ ความร้พู ืน้ ฐานการอ่านจับใจความสาคัญ แบบฝึกทกั ษะที่ ๑ ความรู้พืน้ ฐานการอ่านจบั ใจความสาคัญ
แบบฝึกทักษะการอ่านจบั ใจความสาคญั ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๑ 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เลม่ ท่ี ๑ ความรู้พนื้ ฐานการอา่ นจับใจความสาคัญ ใบความรทู้ ี่ ๑ เร่อื ง ความรพู้ นื้ ฐานการอา่ นจบั ใจความสาคญั ความหมาย การอ่านจับใจความสาคัญ คือ การค้นหาสาระสาคัญของเรื่องหรือของหนังสือท่ีอ่าน ส่วน นัน้ คือข้อความที่มสี าระครอบคลมุ ขอ้ ความอืน่ ๆ ในย่อหน้าน้ันหรอื เนือ้ เร่ืองท้ังหมด ขอ้ ความตอนหน่ึง หรือเร่ืองหน่ึงจะมีใจความสาคัญท่ีสุดเพียงหน่ึงเดียว ซึ่งใจความสาคัญก็คือสิ่งท่ีเป็นสาระสาคัญของ เรอื่ งนั่นเอง จุดมงุ่ หมายในการอ่านจับใจความสาคญั ๑. เพือ่ ใหน้ กั เรียนอ่านและจับใจความได้ ไม่ใช่เพยี งเพ่ือเรียนจบภายในชวั่ โมง เทา่ นัน้ เพื่อใหก้ จิ กรรมการอา่ นมคี วามหมาย การอ่านจึงควรเปน็ การอ่านจากเอกสารนอกเหนือจาก หนังสือเรียนหนังสือไมค่ วรหนามาก ควรจับเวลาใหพ้ อเหมาะกับเน้ือเรื่อง ๒. ให้ผู้อ่านสามารถบอกรายละเอียดของเร่ืองราวท่อี ่านว่ามีสาระอะไรบ้าง โดยเลา่ รายละเอยี ดได้ชัดเจนเพอ่ื แสดงว่าผอู้ ่านมีความเข้าใจในเร่ืองท่ีอา่ น ๓. อ่านเพื่อปฏบิ ตั ิตามคาสง่ั และคาแนะนา ๔. ฝึกการใชส้ ายตา นิยมอา่ นเพ่ือฝึกการอา่ นเรว็ และตอบคาถามได้ถูกต้อง แม่นยา ๕. อา่ นเพ่ือสรปุ หรอื ย่อเร่ืองทอี่ ่านเกย่ี วกับอะไร ๖. อา่ นแล้วสามารถคาดการณ์ ทานายเรือ่ งวา่ จะลงเอยอย่างไร ๗. อา่ นและทารายงานย่อสรุป มกี ารฝกึ โนต้ ยอ่ ๘. อา่ นเพ่ือหาความจรงิ และแสดงข้อคิดเหน็ ได้
แบบฝกึ ทกั ษะการอา่ นจบั ใจความสาคัญ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑ 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เลม่ ท่ี ๑ ความรู้พนื้ ฐานการอ่านจับใจความสาคัญ หลักการอ่านจบั ใจความสาคญั ๑. ตง้ั จุดมงุ่ หมายในการอา่ นให้ชัดเจน เพอ่ื ใชเ้ ปน็ แนวทางในการกาหนดการอ่านได้ อยา่ งเหมาะสมและสามารถจับใจความหรอื คาตอบไดร้ วดเร็วยิ่งข้ึน ๒. ฝกึ การแบง่ จับสายตาในแตล่ ะบรรทดั โดยใชส้ ายตาจับเปน็ จุดๆ พยายามแผช่ ่วงสายตา ใหก้ วา้ ง และใชเ้ วลาให้น้อย แลว้ เคลื่อนสายตาไปอย่างรวดเรว็ ทาซ้าๆ หลายๆ คร้ังจนเกิดความ ชานาญ เมอ่ื ชานาญแลว้ จะใชส้ ายตาในการจับเนื้อความในแตล่ ะบรรทัดน้อยลง ๓. พยายามเก็บแต่ใจความสาคัญของข้อความ หรอื เรอื่ งที่อา่ นอยา่ งรวดเร็ว ๔. ขณะทอี่ า่ นจะต้องรู้วา่ ข้อความสาคญั อยู่ที่ใด โดยมขี ้อสงั เกตวา่ ใจความสาคัญส่วนมาก จะปรากฏ ใหเ้ ห็นในบรรทดั แรก หรือบรรทดั สุดท้ายของแต่ละยอ่ หนา้ ๕. กาหนดปริมาณของข้อความที่จะอา่ นไวล้ ่วงหน้า และจบั เวลาทุกคร้งั เม่อื เริม่ ต้นอ่าน ในแต่ละหน้า ซ่งึ หากมีการฝึกหลายๆ ครงั้ จะทาให้เวลาในการอา่ นลดน้อยลง ๖. ขณะท่ีอา่ นตอ้ งพยายามบังคับสายตาใหก้ วาดไปตามตวั หนังสอื อยา่ งรวดเร็ว ควร หลกี เลยี่ ง การอ่านทลี ะคา และควรไดร้ บั การฝกึ อา่ นทลี ะประโยค ๗. หากเรือ่ งที่อา่ นเปน็ เร่ืองท่ีมีความยาวและหลายย่อหน้า เม่อื อา่ นจบลงทุกครั้ง ควรมี การทดสอบ ความเขา้ ใจด้วยการฝึกถามตัวเองตามหัวข้อดังนี้ เป็นเรื่องอะไร ใคร ทาอะไร ที่ไหน เมือ่ ไร อย่างไร และทาไม ซง่ึ บางเรอ่ื งอาจมีคาตอบไม่ครบแตต่ ้องตอบเทา่ ท่มี ีอยู่ให้ครบถว้ นเพ่อื จะ จับใจความสาคัญให้ได้มากท่ีสุดแลว้ จดลงในกระดาษ นาไปเปรยี บเทียบกบั เนื้อเรือ่ งที่อ่านมาถึง ความถกู ต้องและพยายามสารวจหรอื เปรียบเทียบข้อบกพร่องเพื่อหาทางแกไ้ ข แนวทางการอา่ นจบั ใจความสาคัญ ๑. สารวจส่วนประกอบของหนังสือ เชน่ ชอ่ื เร่อื ง คานา สารบัญ ฯลฯ เพราะสว่ นประกอบ ของหนงั สือจะทาใหเ้ กิดความเขา้ ใจเกี่ยวกับเรือ่ ง หรือหนงั สือท่อี า่ นได้กวา้ งขวางและรวดเร็ว ๒. ตง้ั จุดมุง่ หมายในการอา่ นเพอื่ เปน็ แนวทางใชก้ าหนดวธิ อี ่านใหเ้ หมาะสม และจับใจความ หรอื หาคาตอบไดร้ วดเรว็ ขน้ึ โดยจับใจความใหไ้ ด้ว่า ใคร ทาอะไร ที่ไหน อย่างไร แลว้ นามาสรปุ เป็นใจความสาคัญ ๓. มที กั ษะในการใช้ภาษาสามารถเข้าใจความหมายของคาศัพท์ตา่ ง ๆ มปี ระสบการณห์ รือ ภมู ิหลงั เกี่ยวกบั เรือ่ งทอ่ี ่าน มีความเข้าใจในเรอ่ื งทีอ่ ่าน มคี วามเข้าใจ ในลักษณะของหนังสือ เพราะ หนงั สอื แต่ละประเภทมีรปู แบบการแต่ง และเป้าหมายของเรือ่ งทแี่ ตกตา่ งกัน ๔. ใช้ความสามารถในด้านการแปลความหมายของคา ประโยค และข้อความตา่ ง ๆ อย่างถูกต้องรวดเร็ว ๕. ใช้ประสบการณเ์ ก่ยี วกบั เรือ่ งท่ีอ่านมาประกอบจะช่วยใหเ้ ข้าใจและจับใจความไดง้ า่ ยขึ้น
แบบฝึกทักษะการอ่านจบั ใจความสาคัญ ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๑ 6 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย เล่มที่ ๑ ความร้พู ้นื ฐานการอา่ นจับใจความสาคญั ขอ้ ควรปฏิบตั ิในการอ่านจบั ใจความสาคัญ ๑. อา่ นผ่าน ๆ โดยตลอด เพ่อื ใหร้ ้วู ่าเรือ่ งทีอ่ า่ นเป็นเร่อื งเก่ียวกบั อะไร มใี คร ทาอะไร ท่ีไหน อย่างไร เม่ือไร ๒. อ่านใหร้ ายละเอียดอกี ครั้งหนึง่ เพื่อทาความเขา้ ใจเร่ืองทอี่ ่าน ๓. เขยี นเรียบเรยี งใจความสาคัญของเร่ืองท่ีอา่ นดว้ ยสานวนภาษาของตนเอง ๔. อ่านทบทวนเพ่ือตรวจสอบความถูกตอ้ งอกี ครงั้ หนึ่ง การฝึกฝนการอา่ นจบั ใจความสาคญั ๑. สร้างนิสัยรักการอ่านโดยพยายามฝึกอา่ นขอ้ ความ ทุกประเภท แม้แต่ปา้ ยประกาศต่างๆ กค็ วรอ่าน การฝึกอา่ นบ่อย ๆจะทาให้เกิดนิสัยรกั การอ่าน อ่านหนงั สอื ได้เร็ว ช่างสงั เกต และจดจา ข้อความตา่ ง ๆ ได้ดีขนึ้ ๒. หดั ใชพ้ จนานกุ รมเม่ืออ่านแล้ว พบศัพทท์ ่ไี ม่เขา้ ใจอยา่ ท้อถอยหรือปล่อยผา่ น การใช้ พจนานกุ รมจะทาใหน้ กั เรียนรู้คาศัพทม์ ากขึน้ ๓. จดบนั ทกึ การอ่านขณะท่ีอา่ น ควรมีสมดุ จดบันทกึ เพ่อื บนั ทึกถอ้ ยคาทีน่ ่าสนใจ แปลกใหม่ มีคติ ข้อคดิ ความรู้ใหม่ ๆ หรือข้อความทนี่ ักเรียนประทบั ใจ โดยจดบนั ทกึ ชื่อหนังสือ และผู้เขียน หาก เปน็ หนังสือทนี่ ักเรยี นต้องอา่ นบ่อย ๆ ควรใช้ปากกาเน้นข้อความหรือแปะกระดาษสคี ัน่ หนา้ ทมี่ ี ข้อความดังกล่าว ๔. ฝึกจับใจความสาคัญทีละยอ่ หน้า การอา่ นจับใจความนั้น ควรเริม่ ตน้ จากการจับใจความ สาคัญในแตล่ ะย่อหนา้ ให้ได้ถูกต้องแม่นยาเสียก่อน เพราะงานเขียนท่ดี ีนน้ั แมใ้ จความหลายอยา่ งใน หนึ่งย่อหนา้ มีใจความสาคัญ ๑ ใจความเท่านน้ั หากเรื่องมีหลายยอ่ หนา้ แสดงวา่ มีใจความสาคญั หลายใจความ เม่ือนาใจความสาคญั ของแต่ละย่อหนา้ มาพิจารณารวมกนั จะทาให้สามารถจับใจความ สาคัญของเร่อื งได้ในทีส่ ดุ
แบบฝกึ ทักษะการอ่านจบั ใจความสาคัญ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑ 7 กล่มุ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เล่มที่ ๑ ความรพู้ นื้ ฐานการอ่านจับใจความสาคัญ ตัวอย่างการอ่านจับใจความสาคญั คา้ งคาว ค้างคาวเป็นสัตว์ที่ออกหากินในเวลากลางคืน มันสามารถบินผาดโผนฉวัดเฉวียนไปมา โดยไม่ต้องพ่ึงสายตา มันอาศัยเสียงสะท้อนกลับของตัวมันเอง โดยค้างคาวจะส่งคล่ืนสัญญาณพิเศษ ซงึ่ สน้ั และรวดเร็ว เมื่อสัญญาณไปกระทบสิ่งกดี ขวางดา้ นหน้าก็จะสะท้อนกลับเข้ามา ทาให้รู้ว่ามอี ะไร อยู่ด้านหน้า มันจะบินหลบเล่ียงได้ แม้แต่สายโทรศัพท์ที่ระโยงระยางเป็นเส้นเล็กๆ คล่ืนเสียงก็จะไป กระทบแล้วสะท้อนกลับเข้าหูของมันได้ ไม่มีสัตว์ชนิดไหนที่จะสามารถรับคล่ืนสะท้อนกลับไปได้ใน ระยะใกล้ แตค่ ้างคาวทาได้ และบินวนกลับไดท้ นั ทว่ งที วธิ ีการสรปุ ใจความ ใคร = ค...้า..ง..ค..า..ว................ ทาอะไร = .อ..อ..ก...ห..า..ก...ิน............ เม่ือไร = .ต..อ..น...ก..ล...า..ง..ค..ืน........ อย่างไร = .โ.ด..ย...ไ.ม...่ใ.ช...ส้ ..า..ย..ต...า...แ..ต...่อ..า..ศ..ัย...เ.ส..ีย...ง..ส..ะ..ท...้อ..น...ก..ล..บั...ข..อ...ง.ต...ัว..ม..ัน...เ.อ...ง.... ผลเป็นอย่างไร = .ส..า..ม..า..ร..ถ...ห..ล...บ..ส...่ิง..ก..ดี ..ข...ว..า..ง... ใจความสาคญั ของเรอ่ื ง ค้างคาว คอื ....................ค..า้..ง..ค..า..ว..จ...ะ..อ..อ...ก..ห...า..ก..ิน...ใ.น...ต..อ..น...ก..ล...า..ง..ค..นื....โ.ด...ย..ไ..ม..่ต...อ้ ..ง..อ..า..ศ...ัย..ส..า..ย...ต..า...แ...ต..จ่..ะ...อ..า..ศ..ัย..เ.ส...ยี ..ง.............. .....ส..ะ..ท...้อ..น...ก..ล...บั ..ข...อ..ง..ต..วั...ม..นั...เ.อ..ง................................................................................................................
แบบฝึกทกั ษะการอา่ นจบั ใจความสาคญั ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ ๑ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เล่มท่ี ๑ ความรูพ้ ืน้ ฐานการอา่ นจบั ใจความสาคัญ กจิ กรรมที่ ๑.๑ คาช้แี จง นักเรียนจับคู่คาถามและคาตอบให้ถูกตอ้ ง (๑๐ คะแนน) คาถาม คาตอบ ๑. การอา่ นจบั ใจความสาคัญ ควรตัง้ จดุ มงุ่ หมายในการอ่าน ๒. กอ่ นท่จี ะอ่านจบั ใจความสาคัญ การค้นหาสาระสาคัญของเรื่องหรือของ หนังสือทอ่ี ่าน สว่ นนนั้ คือข้อความท่มี สี าระ ควรทาอยา่ งไร ครอบคลุมข้อความอน่ื ๆ ๓. ในการฝึกอ่านจับใจความสาคัญ ๑. เพือ่ ใหอ้ ่านและจับใจความได้ ๒. เพอื่ บอกรายละเอียดของเร่ืองราวทีอ่ ่าน ควรปฏบิ ัติอยา่ งไร ๓. อ่านเพื่อปฏิบตั ิตามคาสง่ั และคาแนะนา ๔. ฝกึ การใช้สายตา นิยมอา่ นเพ่อื ฝึกการอ่าน ๔. เมอื่ อา่ นจบแลว้ เรว็ และตอบคาถามได้ถกู ต้อง เพอื่ ช่วยให้การจาแมน่ ยา ๕. เพ่ือสรุปหรือยอ่ เร่ืองท่ีอา่ นเก่ยี วกบั อะไร นักเรยี นควรทาอย่างไร ๖. เพอ่ื คาดการณ์ ทานายเรือ่ งวา่ จะลงเอย ๕. การอา่ นจับใจความ อย่างไร ๗. เพ่อื ทารายงานย่อสรปุ มีการฝกึ โน้ตยอ่ มีจดุ มุง่ หมายอยา่ งไร ๘. เพอ่ื หาความจรงิ และแสดงข้อคิดเห็นได้ สรา้ งนิสัยรกั การอ่าน ฝกึ ใชพ้ จนานุกรม จดบันทกึ ฝกึ จบั ใจความทีละยอ่ หนา้ จดบนั ทึก
แบบฝกึ ทักษะการอา่ นจบั ใจความสาคัญ ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี ๑ 9 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย เล่มที่ ๑ ความรู้พืน้ ฐานการอา่ นจบั ใจความสาคญั กจิ กรรมท่ี ๑.๒ คาชแ้ี จง นักเรียนอ่าน เรือ่ ง ความรู้พื้นฐานการอา่ นจับใจความสาคญั แล้วต้งั คาถามพร้อมท้ัง แสดงคาตอบทีถ่ ูกต้อง (๑๐ คะแนน) คาถาม คาตอบ ๑.................................................................. ๑.................................................................. ................................................................... ................................................................... .................................................................... .................................................................... ๒.................................................................. ๒.................................................................. ................................................................... ................................................................... .................................................................... .................................................................... ๓.................................................................. ๓.................................................................. ................................................................... ................................................................... .................................................................... .................................................................... ๔.................................................................. ๔.................................................................. ................................................................... ................................................................... .................................................................... .................................................................... ๕.................................................................. ๕.................................................................. ................................................................... ................................................................... .................................................................... ....................................................................
แบบฝกึ ทกั ษะการอา่ นจบั ใจความสาคญั ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑ 10 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย เล่มที่ ๑ ความรู้พืน้ ฐานการอา่ นจับใจความสาคัญ กจิ กรรมท่ี ๑.๓ คาช้ีแจง นกั เรยี นทาเครื่องหมาย (/) หน้าข้อทเี่ ปน็ ขอ้ เทจ็ จริงและทาเครื่องหมาย (X) หนา้ ข้อทเ่ี ป็นข้อคิดเห็น (๑๐ คะแนน) ………..…...๑. การอา่ นจบั ใจความสาคัญเปน็ การอ่านค้นหาสาระ .................๒. การอ่านควรไม่ควรใช้เวลานานมากเกนิ ไป .................๓. ใจความสาคัญสว่ นมากจะปรากฏในบรรทัดแรกหรือบรรทดั สดุ ท้าย .................๔. ชอื่ เรอื่ ง คานา สารบัญ เป็นส่วนประกอบของหนังสอื .................๕. การอา่ นทุกครงั้ เราควรจดบนั ทกึ ความรจู้ ากเร่ืองท่ีอา่ น .................๖. ในหน่ึงยอ่ หนา้ จะมีใจความสาคัญที่สดุ เพียงอย่างเดยี ว .................๗. การต้งั จุดมงุ่ หมายในการอ่านเป็นแนวทางในการกาหนดการอา่ น .................๘. การทดสอบเปน็ การตรวจสอบความเข้าใจในการอา่ น .................๙. ในการอ่านเราควรฝกึ แบ่งการจบั สายตาในแตล่ ะบรรทดั .................๑๐. หนงั สือแตล่ ะประเภทมีรปู แบบการแต่งและเป้าหมายแตกตา่ งกัน
แบบฝกึ ทกั ษะการอา่ นจบั ใจความสาคัญ ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ ๑ 11 กล่มุ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เลม่ ท่ี ๑ ความร้พู น้ื ฐานการอา่ นจับใจความสาคัญ กจิ กรรมที่ ๑.๔ คาช้ีแจง นักเรียนเขียนแผนผังความคิดสรุป เรอื่ ง ความร้พู ้นื ฐานการอ่านจับใจความ สาคัญ (๑๐ คะแนน) ความหมาย จุดมุ่งหมาย ………………………………………………… ………………………………………………… ………………………………………………… ………………………………………………… ………………………………………………… ………………………………………………… ………………………………………………… ………………………………………………… ความรูพ้ ้ืนฐาน การอา่ นจบั ใจความสาคัญ หลกั การอา่ น ขอ้ ควรปฏิบัติ จับใจความสาคัญ การอ่านจับใจความสาคญั ………………………………………………… ………………………………………………… ………………………………………………… ………………………………………………… ………………………………………………… ………………………………………………… ………………………………………………… ………………………………………………… ………………………………………………… ………………………………………………… ………………………………………………… ………………………………………………… ………………………………………………… ………………………………………………… ………………………………………………… …………………………………………………
แบบฝึกทักษะการอา่ นจบั ใจความสาคัญ ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ ๑ 12 กลุม่ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เล่มท่ี ๑ ความรูพ้ ้ืนฐานการอ่านจบั ใจความสาคัญ กิจกรรมท่ี ๑.๕ คาชี้แจง นักเรียนอ่านเรื่องที่กาหนดให้แลว้ สรุปใจความสาคัญให้ถกู ต้อง (๑๐ คะแนน) เตารีดไหม้เป็นปัญหาที่พบบ่อยๆ ซึ่งเมื่อนามารีดผ้าจะทาให้ฝืดรีดไม่คล่อง และที่ พ้นื เตารีด กจ็ ะมรี อยไหม้ดาติดอยู่ วธิ กี ารแกไ้ ขก็คือการใชย้ าสีฟันป้ายทีร่ อยไหม้ของเตารีด แล้วใช้เศษผ้าถูแรง ๆ ให้ท่ัวรอยไหม้ก็จะหายไป และนาผ้าชุบน้าทาความสะอาดอีกครั้ง เตารดี ก็จะใช้ไดด้ ตี ามปกติ วิธีการสรปุ ใจความ ใคร = ............................................................................................ ทาอะไร = ............................................................................................ เม่ือไร = ............................................................................................ อย่างไร = ............................................................................................ ผลเปน็ อยา่ งไร = ............................................................................................ ใจความสาคัญของเรื่อง คือ .............................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................. .............................................................................................................................................. ............................................................................................................................. .................
แบบฝึกทกั ษะการอ่านจบั ใจความสาคัญ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี ๑ 13 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย เลม่ ที่ ๑ ความรู้พน้ื ฐานการอ่านจบั ใจความสาคญั แบบฝกึ ทักษะที่ ๒ กลวิธกี ารอา่ นจบั ใจความสาคัญ
แบบฝกึ ทักษะการอ่านจบั ใจความสาคัญ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑ 14 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เล่มที่ ๑ ความรพู้ ื้นฐานการอ่านจับใจความสาคัญ ใบความรทู้ ี่ ๒ เรอื่ ง กลวธิ ีการอา่ นจบั ใจความสาคญั ใจความสาคัญ ใจความสาคัญ คือ แก่นของย่อหน้าท่ีสามารถครอบคลุมเน้ือความในประโยคอื่น ๆ ในย่อ หน้าน้ันหรือสามารถเป็นหัวเร่ืองของย่อหน้าน้ันๆ ได้ และสามารถเปน็ ประโยคเด่ียวๆ ได้ โดยไม่ต้อง มีประโยคอ่ืนประกอบ ซึ่งในแต่ละย่อหน้าจะมีประโยคใจความสาคัญเพียงประโยคเดียวหรืออย่าง มากไมเ่ กนิ ๒ ประโยค ใจความรองหรือพลความ หมายถึง ใจความหรือประโยคท่ีช่วยขยาย ใจความสาคญั เป็นใจความให้ชดั เจนเชน่ การอธิบายคาจากัดความ การยกตวั อยา่ ง การเปรียบเทยี บ การแสดงเหตผุ ลสนับสนุน รวมถงึ การเพิ่มรายละเอียดให้แกป่ ระโยค ใจความสาคญั ด้วยวิธใี ดวิธีหนง่ึ ทกี่ ล่าวมาข้างตน้
แบบฝึกทกั ษะการอ่านจบั ใจความสาคญั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ 15 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เลม่ ที่ ๑ ความรูพ้ ื้นฐานการอา่ นจบั ใจความสาคญั ลักษณะของใจความสาคญั ๑. ใจความสาคญั เป็นข้อความที่ทาหน้าท่ีคลุมใจความของข้อความอื่นๆ ในตอน น้ัน ๆ ได้หมด ขอ้ ความนอกนั้นเป็นเพยี งรายละเอยี ดหรือส่วนขยายใจความเท่านนั้ ๒. ใจความสาคญั ของข้อความหนง่ึ ๆ หรือยอ่ หน้าหนึ่งๆ ส่วนหนึ่งๆ ส่วนมากจะมีเพียงประการ เดยี ว ๓. ใจความสาคญั ส่วนมากมีลักษณะเป็นประโยค อาจจะเป็นประโยคเดียวหรอื ประโยคซ้อนก็ ได้ แตใ่ นบางกรณใี จความสาคัญไม่ปรากฏเปน็ ประโยค เป็นเพยี งประโยคเดียวหรอื ประโยคซ้อนก็ได้ บางกรณใี จความสาคัญไม่ปรากฏเป็นประโยค เปน็ เพยี งใจความทีแ่ ฝงอยู่ในข้อความตอนนนั้ ๆ ๔. ใจความสาคัญที่มีลักษณะเปน็ ประโยคสว่ นมากจะปรากฏอยู่ตน้ ข้อความ เชน่ ความ แตกต่างของมนษุ ย์และสตั ว์อีกประการหนงึ่ ทเี่ ห็นเด่นชดั คือเรื่องของการใช้ภาษา มนุษย์สามารถ ถา่ ยทอดความรู้ความคิดออกมาเป็นตัวเขยี น คือ เปน็ ภาษาหนงั สอื สาหรับให้ผู้อน่ื อ่านและเขา้ ใจตรง ตามทต่ี ้องการ แต่สตั ว์ใช้ไดแ้ ต่เสยี งเทา่ น้ันในการส่อื สาร แมแ้ ต่เสียงหลายท่านกย็ งั มีความเห็นว่าสัตว์ จะทาเสยี งเพอ่ื แสดงความรสู้ ึก เช่น โกรธ หวิ เจบ็ ปวด เทา่ นนั้ เสียงของสัตว์ไม่อาจส่ือ ความหมายได้ละเอียดลออเท่าภาษาพดู ของมนุษย์ การพิจารณาตาแหนง่ ใจความสาคญั ใจความสาคญั ของข้อความในแต่ละย่อหนา้ จะปรากฏดังนี้ ๑. ประโยคใจความสาคัญอยูต่ อนตน้ ของย่อหน้า ๒. ประโยคใจความสาคญั อย่ตู อนกลางของยอ่ หน้า ๓. ประโยคใจความสาคัญอยูต่ อนท้ายของยอ่ หนา้ ๔. ประโยคใจความสาคญั อยู่ตอนต้นและตอนท้ายของย่อหน้า ๕. ผู้อ่านสรปุ ข้นึ เอง จากการอ่านทง้ั ย่อหน้า (กรณใี จความสาคัญหรือความคิดสาคัญ อาจรวมอยใู่ นความคิดยอ่ ยๆ โดยไมม่ ีความคิดทเ่ี ป็นประโยคหลัก) หลักการอา่ นจบั ใจความให้เข้าใจ ง่ายและรวดเร็ว
แบบฝกึ ทกั ษะการอา่ นจบั ใจความสาคญั ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ ๑ 16 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย เลม่ ที่ ๑ ความรู้พนื้ ฐานการอา่ นจับใจความสาคัญ วิธจี บั ใจความสาคญั วิธีการจับใจความสาคัญมีหลายวิธี เช่น การขดี เส้นใต้ การใช้สีต่างๆ กัน แสดงความสาคัญ มากน้อยของข้อความ การบันทึกย่อเป็นส่วนหนึ่งของการอ่านจับใจความสาคญั ที่ดี แต่ผู้ที่ย่อควรย่อ ด้วยสานวนภาษา และสานวนของตนเองไม่ควรย่อด้วยการตัดเอาข้อความสาคัญมาเรียงต่อกัน เพราะอาจทาให้ผู้อ่านพลาดสาระสาคัญบางตอนไปอันเป็นเหตุให้การตคี วามผิดพลาดคลาดเคล่อื นได้ วิธีจบั ใจความสาคัญมีหลักดังนี้ ๑. พจิ ารณาทลี ะย่อหนา้ ๒. ตัดสว่ นทเี่ ป็นรายะละเอียดออกได้ เชน่ ตวั อย่าง สานวนโวหาร อุปมาอุปไมย (การเปรยี บเทียบ) ตัวเลข สถติ ิ ตลอดจนคาถามหรอื คาพูดของผเู้ ขยี นซง่ึ เปน็ สว่ นขยาย ๓. สรุปใจความสาคญั ดว้ ยภาษาของตนเอง การสรุปสาระสาคญั การอา่ นจับใจความ สรปุ สาระสาคัญการอา่ น คอื บทสรุปของเนอื้ หาเรือ่ งใดเร่ืองหน่ึงที่ตอ้ งการให้ผู้อ่านจดจาได้ และนาไปใช้หลังอ่านจบแลว้ การสรปุ สาระสาคญั คล้ายกับการย่อความ แต่มิใชก่ ารยอ่ ความ ซ่ึงท่ี อาจเรยี กได้หลายคา อาทิเชน่ ประเดน็ สาคัญ ตะกอนความรหู้ ลักวิชา เคล็ดวชิ า หรือความคดิ รวบยอด โดยการสรุปสาระสาคัญจากการอา่ นเป็นข้อๆ ตวั อย่าง การอดนอนจดั เปน็ สาเหตุอย่างหน่ึง อาจส่งผลให้เกิดสิวได้เพราะความเครยี ดสง่ ผลต่อระบบ ตา่ ง ๆ ของร่างกาย มกี ารเปลี่ยนแปลงระดับฮอรโ์ มนซึ่งส่งผลให้เกดิ การเห่อของสิวได้ สังเกตไดว้ า่ เด็กวัยรุ่นหลายคนพอใกลส้ อบ จะมีสิวเหอ่ ข้นึ ซงึ่ เปน็ ผลสืบเนือ่ งมาจากความเครียดน่ันเอง ๑. สรุปข้อเท็จจริง คือ เหตกุ ารณห์ รอื เร่อื งราวทเี่ ป็นมาหรือเปน็ อยู่ตามความเปน็ จรงิ โดยไม่ ดัดแปลงข้อความใด ๆ เลย สวิ เหอ่ ขึน้ ซึ่งเป็นผลสบื เนือ่ งมาจากความเครยี ด ๒. สาเหตุ คอื ต้นเหตุหรือเหตเุ ร่ิมทาให้เกดิ เหตกุ ารณห์ รอื เรื่องราวตา่ ง ๆ อาจจะแสดงให้ เห็นได้ชัดเจนหรือแฝงอยตู่ ้องทาความเข้าใจใหช้ ัดเจน การอดนอน
แบบฝึกทักษะการอา่ นจบั ใจความสาคัญ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ 17 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย เลม่ ท่ี ๑ ความรู้พ้นื ฐานการอ่านจับใจความสาคญั ๓. ผลลพั ธ์ คอื ผลทเ่ี กดิ ข้ึนจากสาเหตุในเหตุการณ์หรอื เรื่องราวต่าง ๆ จดั เป็นบัน้ ปลาย ของเหตุการณ์หรือเรอ่ื งราวเปน็ ไดท้ ง้ั ผลดีหรือไม่ดีก็ได้ เกิดการเห่อของสวิ ๔. สรุปคุณค่า คือประโยชน์ท่ีได้รบั จากการอ่านเป็นได้ทั้งประโยชน์ทางตรง ที่ปรากฏให้ เหน็ ได้ชดั เจน และแฝงอยู่ในเหตุการณน์ น้ั ๆ การเปลยี่ นแปลงระดับฮอร์โมน ๕. ขอ้ คิดเหน็ เปน็ ความคิดของผู้อา่ นเกีย่ วกบั เรอ่ื งราวท่ชี วนคิดหรือความรสู้ ึกความเชือ่ แนวคดิ ทนี่ าเสนอตอ่ ส่ิงใดสิ่งหนึ่ง ซ่งึ ขอ้ คดิ เหน็ นัน้ อาจแตกต่างกนั ขนึ้ อยู่กับพ้นื ฐานและ ประสบการณ์ของแตล่ ะบคุ คล การอดนอนเป็นสาเหตุท่ีทาให้มกี ารเปลี่ยนแปลงระดบั ฮอร์โมนในรา่ งกาย สง่ ผลใหเ้ กิดการเห่อของสวิ
แบบฝกึ ทกั ษะการอ่านจบั ใจความสาคญั ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี ๑ 18 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย เลม่ ที่ ๑ ความรู้พืน้ ฐานการอา่ นจบั ใจความสาคัญ กิจกรรมท่ี ๒.๑ คาชแี้ จง นักเรยี นตอบคาถามต่อไปนใ้ี หถ้ ูกต้อง (๑๐ คะแนน) ๑. ใจความสาคัญ หมายถงึ .................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................... ..................................................................................................................................... ............... ๒. การสรุปใจความสาคัญ ควรใชภ้ าษาอย่างไร .............................................................................................. ...................................................... ............................................................................................................................. ....................... ๓. ใจความสาคัญมลี ักษณะอยา่ งไร ..................................................................................................................................... ............... ............................................................................................................................. ....................... ๔. การสรุปคณุ ค่า หมายถึงอะไร ............................................................................................................................. ....................... .................................................................................................................................................... ๕. ขอ้ เท็จจรงิ แตกต่างจากข้อคิดเห็นอย่างไร ..................................................................................................................... ............................... ............................................................................................................................. .......................
แบบฝกึ ทกั ษะการอา่ นจบั ใจความสาคัญ ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ ๑ 19 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เลม่ ที่ ๑ ความร้พู ้ืนฐานการอ่านจบั ใจความสาคญั กจิ กรรมท่ี ๒.๒ คาช้ีแจง นักเรยี นทาเครอื่ งหมาย (/) หน้าข้อทเ่ี ป็นขอ้ เท็จจริงและทาเครื่องหมาย (X) หนา้ ข้อทีเ่ ปน็ ข้อคิดเห็น (๑๐ คะแนน) ………… ๑. ใจความรองคือประโยคทข่ี ยายความประโยคสาคญั ............ ๒. ใจความสาคญั ทาหนา้ ที่คลุมใจความของข้อความอื่นๆ ............ ๓. ใจความสาคัญส่วนมากมีลักษณะเปน็ ประโยค ........... ๔. การสรปุ สาระสาคัญควรเรยี บเรยี งเปน็ คาพูดของตนเอง ............ ๕. ในแตล่ ะย่อหน้าจะปรากฏใจความสาคญั ในตาแหน่งเดียว ............ ๖. การบนั ทกึ ย่อเป็นสว่ นหนึง่ ของการอา่ นจับใจความ ............ ๗. สาเหตคุ อื เหตทุ ท่ี าใหเ้ กดิ เรื่องราว ............. ๘. การสรปุ สาระสาคญั คลา้ ยกับการย่อความ ............. ๙. ผลลัพธ์ คือ ผลทเี่ กิดขนึ้ จากสาเหตใุ นเหตุการณห์ รือเร่อื งราวตา่ งๆ ........... ๑๐. การจดบนั ทึกเราควรใช้คาพดู ของตนเอง
แบบฝึกทกั ษะการอา่ นจบั ใจความสาคัญ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ 20 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เลม่ ที่ ๑ ความรพู้ ้ืนฐานการอ่านจับใจความสาคญั กจิ กรรมท่ี ๒.๓ คาชีแ้ จง นักเรียนขดี เสน้ ใตป้ ระโยคใจความสาคญั จากขอ้ ความท่ีกาหนดให้ (คะแนนเตม็ ๑๐ คะแนน) ๑. ความสมบูรณ์ของชีวิตมาจากความเข้าใจชีวิตเป็นพ้ืนฐาน คือเข้าใจธรรมชาติ เข้าใจความเป็น มนุษย์ และความสัมพันธ์ท่ีเกอื้ กูลกันระหว่างมนุษย์กบั มนุษย์ และมนุษย์กับธรรมชาติ มีความรัก ความเมตตาตอ่ เพื่อนมนุษย์ และธรรมชาติอยา่ งจรงิ ใจ ๒. ความเครียดทาให้เพิ่มฮอร์โมนอะดรีนาลีนในเลือด ทาให้หัวใจเต้นเร็ว เส้นเลอื ดบีบตัว กล้ามเนื้อ เขม็งตึง ระบบย่อยอาหารผิดปกติ และเกิดอาการปวดหัว ปวดท้อง ใจส่ัน แข้งขาอ่อนแรง ความเครียดจึงเป็นตัวการท่ีเรง่ ให้แกเ่ รว็ ๓. สารอาหารในข้าวกลอ้ งจะช่วยให้ร่างกายแข็งแรง และช่วยป้องกนั โรคอ้วน ข้าวกล้องมีสารเส้นใย มากกว่าข้าวขาว ๘ เท่า ข้าวกล้องจะช่วยดูดซับไขมัน และน้าตาลในอาหาร แล้วขับออกมาเป็น กากอาหาร ทาใหไ้ ขมันและน้าตาลซึมเขา้ กระแสเลอื ดน้อยลง ๔. ปลาทูจากจังหวัดสมุทรสงครามหรือแม่กลองกินอร่อยกว่าปลาทูน่านน้าอื่น เพราะเน้ือดิน และ ระบบนา้ บริเวณก้นอ่าวไทยแถบจังหวัดสมุทรสาคร และสมุทรสงครามโดยเฉพาะบรเิ วณปากน้า และก้นอ่าวแม่กลองจะเป็นดนิ เลนร่วนซุยซ่ึงมเี น้อื ดินทท่ี าให้ ปลาทอู ร่อย ๕. คนโบราณท่านแบ่งการปกครองในบ้านไว้ดังน้ี คือ สามีเป็นใหญ่นอกบ้าน ซึ่งหมายความว่าสามี เป็นผู้มีภาระหน้าที่ทางานภายนอกบ้านเป็นงานอาชีพหาเงินเล้ียงครอบครัว ส่วนภริยาเป็นใหญ่ ในบ้าน ซึ่งหมายความถึงผู้รับผิดชอบในการปกครองดูแลกิจการในบ้านซึ่งเป็นพวกการบ้านงานครัว นั่นเองหรือ “สามีเป็นผู้หา ภริยาเป็นผู้เก็บ (เงิน)” การแบ่งหน้าที่ของสามีและภริยากันเช่นนี้ทา ใหค้ นแตก่ ่อนอยดู่ ้วยกัน อย่างสนั ตสิ ุข
แบบฝกึ ทกั ษะการอ่านจบั ใจความสาคญั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ 21 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เล่มท่ี ๑ ความรพู้ ้ืนฐานการอ่านจบั ใจความสาคัญ กิจกรรมท่ี ๒.๔ คาชแ้ี จง นักเรยี นเขียนแผนผงั ความคดิ สรปุ ความรู้ เรอ่ื ง กลวธิ กี ารอา่ นจับใจความสาคัญ (๑๐ คะแนน) ความหมายของใจความสาคัญ ตาแหนง่ ของใจความสาคัญ ………………………………………………… ………………………………………………… ………………………………………………… ………………………………………………… ………………………………………………… ………………………………………………… ………………………………………………… ………………………………………………… กลวธิ ีการอา่ น จบั ใจความสาคญั ลักษณะของ การสรุปสาระสาคัญ ใจความสาคัญ ………………………………………………… ………………………………………………… ………………………………………………… ………………………………………………… ………………………………………………… ………………………………………………… ………………………………………………… ………………………………………………… ………………………………………………… ………………………………………………… ………………………………………………… ………………………………………………… ………………………………………………… ………………………………………………… ………………………………………………… …………………………………………………
แบบฝึกทักษะการอา่ นจบั ใจความสาคัญ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ 22 กลุม่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย เล่มท่ี ๑ ความรพู้ ื้นฐานการอา่ นจบั ใจความสาคญั กิจกรรมที่ ๒.๕ คาช้ีแจง นักเรยี นอ่านบทร้อยกรองแล้วสรุปสาระสาคญั ตามหวั ข้อท่ีกาหนด (คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน) นกเอย๋ นกนอ้ ยน้อย บินล่องลอยเปน็ สุขศรี ขนขาวราวสาลี อากาศดีไมม่ ภี ยั ทกุ ทิศเจ้าเทยี่ วท่อง ฟา้ สีทองอนั สดใส มปี ่าพาสขุ ใจ มีตน้ ไม้มลี าธาร ผู้คนไม่มีโรค นับเปน็ โชคสุขสาราญ อากาศไร้พิษสาร สตั ว์ชน่ื บานดินชน่ื ใจ คนสัตวไ์ ด้พึง่ ปา มารกั ษาป่าไม้ไทย สนิ้ ป่าเหมือนสิน้ ใจ ชว่ ยปลกู ใหมไ่ วท้ ดแทน สรปุ ข้อเท็จจริง …………………………………….…………………… สาเหตุ …………………………………….…………………… ผลลพั ธ์ …………………………………….…………………… สรุปคณุ คา่ …………………………………….…………………… ขอ้ คิดเหน็ …………………………………….……………………
แบบฝึกทักษะการอ่านจบั ใจความสาคัญ ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ ๑ 23 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย เล่มที่ ๑ ความรู้พ้นื ฐานการอ่านจบั ใจความสาคญั แบบทดสอบหลงั เรยี น กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย จานวน ๑๐ ขอ้ เลม่ ที่ ๑ ความรพู้ น้ื ฐานการอา่ นจบั ใจความ ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๑ คาชแี้ จง นกั เรียนอา่ นคาถามแลว้ เลอื กคาตอบที่ถกู ต้องท่สี ุดเพียงคาตอบเดยี ว โดยทาเครอื่ งหมายกากบาท (x) ลงในชอ่ งอักษร ก ข ค ง ๑. ข้อใดไมใ่ ช่ขั้นตอนการอา่ นจบั ใจความ ก. อ่านซ้า ข. คัดลอก ค. อ่านผ่านๆ ง. อา่ นใหล้ ะเอยี ด ๒. ข้อใดกลา่ วไมถ่ ูกต้องเกย่ี วกับใจความสาคัญ ก. เขา้ ใจประเภท ข. ต้งั จุดม่งุ หมาย ค. ใชพ้ จนานกุ รม ง. สารวจสว่ นประกอบ ๓. “ตารวจจับโจรที่ปลน้ ร้านทองเยาวราชในตัวเมืองจังหวดั สงขลาเม่ือวานน้ี” ใจความสาคญั คือข้อใด ก. ตารวจจบั โจร ข. โจรปล้นร้านทอง ค. ร้านทองในจงั หวัดสงขลา ง. โจรปล้นร้านทองเมือ่ วานนี้ ๔. “ตารวจจบั โจรท่ีปล้นร้านทองเยาวราชในตัวเมืองจังหวัดสงขลาเมื่อวานน้ี” ใจความรอง คือข้อใด ก. ตารวจจบั โจร ข. โจรปล้นร้านทอง ค. ร้านทองในจงั หวดั สงขลา ง. โจรปล้นร้านทองเมือ่ วานนี้
แบบฝึกทักษะการอ่านจบั ใจความสาคญั ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ 24 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย เล่มท่ี ๑ ความรูพ้ ืน้ ฐานการอา่ นจบั ใจความสาคัญ ๕. ขอ้ ใดไม่ใช่จดุ มุงหมายของการอ่านจับใจความสาคญั ก. อา่ นแล้วแสดงข้อคิดเหน็ ได้ ข. อ่านแลว้ สามารถสรปุ ย่อเร่ืองได้ ค. อ่านแลว้ สามารถปฏิบตั ิตนตามได้ ง. อา่ นแลว้ สามารถแตง่ คาประพันธไ์ ด้ ๖. ขอ้ ใดกลา่ วถกู ตอ้ งเก่ยี วกับใจความสาคัญ ก. ทาให้เกดิ เรื่อง ข. เดน่ เฉพาะตวั ค. ครอบคลุมขอ้ ความอื่นๆ ง. ถกู ทุกข้อ ๗. ขอ้ ใดคอื หลักการอา่ นจับใจความสาคญั ก. ค้นหาสาระรอง ข. ค้นหาขอ้ คิดเห็น ค. ค้นหาขอ้ เท็จจริง ง. คน้ หาใจความสาคญั ๘. ใจความสาคัญมลี กั ษณะอยา่ งไร ก. เปน็ คา ข. เป็นวลี ค. เปน็ ขอ้ ความ ง. เป็นประโยค ๙. ข้อใดคือจุดมุง่ หมายของการอ่านจบั ใจความ ก. เมอ่ื อา่ นแล้วสรปุ หรอื ย่อเรื่องได้ ข. เมือ่ อา่ นแลว้ สามารถจาคาประพนั ธ์ชนิดตา่ งๆ ค. เมื่ออ่านแลว้ สามารถปฏบิ ัตติ ามคาสงั่ และคาแนะนาได้ ง. เมอ่ื อา่ นแลว้ สามารถคาดการณ์และหาความจรงิ แสดงข้อคดิ เห็น ๑๐. บคุ คลในขอ้ ใดไมม่ ีพืน้ ฐานในการอา่ นจบั ใจความ ก. นชุ ไม่ชอบวรรณคดไี ทยเมอ่ื อา่ นเร่ืองพระอภัยมณีไมค่ ่อยเขา้ ใจ ข. อรสาไดฉ้ ายาวา่ หนอนหนังสอื เพราะชอบอ่านหนังสือเกือบทุกประเภท ค. นาวินอา่ นหนังสือทุกประเภทและมกี ารจดบันทึกความรู้จากการอ่าน ง. แป้งอ่านเรอ่ื งแก่นข้าวไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ และเขา้ ใจ เพราะเคยทานามาก่อน
แบบฝกึ ทักษะการอา่ นจบั ใจความสาคัญ ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๑ 25 กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย เลม่ ที่ ๑ ความรู้พื้นฐานการอ่านจบั ใจความสาคญั เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน ขอ้ ที่ คาตอบ ๑. ค ๒. ก ๓. ง ๔. ก ๕. ก ๖. ข ๗. ก ๘. ข ๙. ง ๑๐. ง
แบบฝกึ ทักษะการอ่านจบั ใจความสาคญั ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ ๑ 26 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เล่มท่ี ๑ ความรู้พนื้ ฐานการอา่ นจบั ใจความสาคัญ เฉลยแบบฝึกทักษะ
แบบฝกึ ทกั ษะการอา่ นจบั ใจความสาคัญ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ 27 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย เลม่ ท่ี ๑ ความรพู้ ้ืนฐานการอ่านจบั ใจความสาคญั เฉลยแบบฝึกทักษะท่ี ๑ กจิ กรรมที่ ๑.๑ (แนวคาตอบ) ๑. การอ่านจับใจความสาคัญ ควรตงั้ จุดมงุ่ หมายในการอ่าน ๒. ก่อนทจ่ี ะอ่านจับใจความสาคัญ การค้นหาสาระสาคญั ของเร่ืองหรือของ ควรทาอย่างไร หนงั สอื ท่ีอ่าน ส่วนน้ันคอื ข้อความทม่ี สี าระ ครอบคลุมข้อความอนื่ ๆ ๓. ในการฝกึ อ่านจบั ใจความสาคัญ ควรปฏบิ ตั ิอย่างไร ๑. เพ่อื ให้อา่ นและจับใจความได้ ๒. เพื่อบอกรายละเอยี ดของเรอื่ งราวที่อ่าน ๔. เมอ่ื อา่ นจบแล้ว ๓. อ่านเพื่อปฏบิ ัติตามคาสงั่ และคาแนะนา เพอ่ื ช่วยใหก้ ารจาแม่นยา ๔. ฝึกการใชส้ ายตา นิยมอา่ นเพือ่ ฝึกการอา่ น นกั เรียนควรทาอยา่ งไร เร็วและตอบคาถามได้ถกู ต้อง ๕. การอา่ นจบั ใจความ ๕. เพื่อสรปุ หรือยอ่ เรื่องท่ีอา่ นเกี่ยวกับอะไร มจี ดุ มงุ่ หมายอย่างไร ๖. เพื่อคาดการณ์ ทานายเร่อื งวา่ จะลงเอย อย่างไร ๗. เพ่ือทารายงานย่อสรปุ มีการฝึกโนต้ ยอ่ ๘. เพื่อหาความจรงิ และแสดงขอ้ คิดเห็นได้ สรา้ งนสิ ยั รักการอ่าน ฝึกใช้พจนานกุ รม จดบนั ทึก ฝึกจับใจความทลี ะย่อหน้า จดบนั ทกึ
แบบฝึกทกั ษะการอา่ นจบั ใจความสาคัญ ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี ๑ 28 กลุม่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย เล่มท่ี ๑ ความรู้พ้นื ฐานการอ่านจับใจความสาคัญ กจิ กรรมท่ี ๑.๒ (แนวคาตอบ) คาถาม คาตอบ ๑. ในหน่ึงย่อหน้ามปี ระโยคท่ีเปน็ ใจความสาคญั กี่ประโยค ๑. หนึ่งประโยค ๒. การสรา้ งแรงดงึ ดดู ใจเพือ่ ฝกึ อา่ นใจความสาคัญใหแ้ ก่ ๒. หนังสือนิทาน ผู้เรียน ควรอา่ นหนังสือประเภทใด ๓. การเขียนโน๊ตย่อควรใชภ้ าษาอย่างไร ๓. ใชภ้ าษาของตนเอง ๔. การฝกึ อ่านควรหลกี เลีย่ งการอ่านลักษณะอยา่ งไร ๔. อา่ นทลี ะคา ๕. การอ่านเพ่ือใหร้ ู้ว่า อะไร มใี คร ๕. อ่านแบบผ่านๆ ทาอะไร ท่ีไหน อย่างไร เมื่อไร เป็นการอา่ นแบบใด อย่ใู นดลุ ยพินจิ ของครผู ู้สอน กจิ กรรมที่ ๑.๓ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐.
แบบฝกึ ทักษะการอา่ นจบั ใจความสาคัญ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑ 29 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เลม่ ที่ ๑ ความรูพ้ นื้ ฐานการอา่ นจบั ใจความสาคญั กจิ กรรมท่ี ๑.๔ จุดมงุ่ หมาย …อ…า่ น…เพ…่ือ…จ…ับ…ใจ…ค…ว…าม…ส…า…คญั……แล…ะ…ส…รุป… ความหมาย …เร…ือ่ …งท…่ีอ…า่ …น………………………………… …กา…ร…คน้…ห…า…ส…าร…ะ…ส…าค…ัญ…ข…อ…งเ…ร่ือ…ง…ห…รอื… …ขอ…ง…ห…นงั…ส…ือ…ท…ี่อา่…น………………………… ความร้พู ้ืนฐาน การอ่านจบั ใจความสาคัญ หลักการอ่าน ขอ้ ควรปฏิบัติ จับใจความสาคัญ การอ่านจบั ใจความสาคญั ต…้งั จ…ุด…ม…ุ่งห…ม…าย…ใน…ก…าร…อ…่าน……จ…ับใ…จ…คว…าม …อ่า…น…คร…่า…วๆ……ก่อ…น…แ…ละ…อ…า่ น…แ…บ…บ…… ส…าค…ญั …จ…าก…เ…รื่อ…งท…ี่อ…่าน……ท…ด…สอ…บ…เพ…ื่อ…ทา …ละ…เอ…ยี …ด…เ…ขีย…น…เร…ยี บ…เ…รีย…งเ…ป…น็ ……… ค…ว…าม…เข…า้ …ใจ…จา…ก…เร…ื่อง…ท…่ีอ่า…น…………… …สา…น…วน…ข…อง…ต…นเ…อ…งแ…ล…ะอ…่าน…ท…บ…ท…วน… …………………………………………… …เพ…ื่อต…ร…วจ…ส…อบ…ค…ว…าม…ถ…ูกต…้อ…งท…ด…ส…อบ… เ…พ…อ่ื ท…า…คว…า…มเ…ข้า..ใ..จ..จ..า.ก..เ..ร.่อื..ง..ท..่ีอ...า่ .น..... ข้ึนอยู่กับดุลยพนิ จิ ของครผู ้สู อน
แบบฝกึ ทักษะการอ่านจบั ใจความสาคัญ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ ๑ 30 กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย เล่มท่ี ๑ ความรู้พ้นื ฐานการอ่านจบั ใจความสาคญั กิจกรรมท่ี ๑.๕ วิธกี ารสรปุ ใจความ ใคร = เตารดี ............................................................................................ ทาอะไร = มรี อย.ไ..ห..ม...้ .................................................................................... เมื่อไร = ทีพ่ ้ืนเ.ต...า..ร..ดี .................................................................................... อย่างไร = ใช้ยาส.ฟี...ัน..ป...้า..ย..ท...่ีร..อ..ย...ไ.ห...ม..้ข...อ..ง..เ.ต...า..ร..ดี ..แ..ล...ว้ ..ใ.ช...้เ.ศ..ษ...ผ..า้..ถ...ูแ..ร..ง...ๆ............... ใหท้ วั่ และนาผา้ ชบุ นา้ ทาความสะอาด ............................................................................................ ผลเป็นอยา่ งไร = ร..อ...ย..ไ.ห...ม...้ก..จ็..ะ..ห...า..ย..ไ..ป............................................................... ใจความสาคญั ของเรือ่ ง คือ .....เ.ต..า..ร..ีด..ม..ีร..อ..ย..ไ.ห..ม...้ .ท..ี่พ...ืน้ ..เ.ต..า..ร..ีด...ใ.ช...ย้ ..า.ส..ฟี...ัน..ป..า้..ย..ท...ร่ี .อ...ย..ไ.ห..ม..้ข...อ..ง.เ.ต...า.ร..ดี..แ..ล..้ว..ใ..ช..เ้ .ศ..ษ..ผ..า้..ถ..ูแ..ร..ง...ๆ... .....ใ.ห..ท้...่ัว...แ..ล..ะ..น..า..ผ..้า..ช..ุบ..น...า้ .ท...า.ค...ว.า..ม..ส..ะ..อ..า..ด.....ร..อ..ย..ไ.ห..ม...ก้ ..จ็ ..ะ..ห..า..ย..ไ.ป........................................ .............................................................................................................................. ข้ึนอย่กู ับดลุ ยพนิ จิ ของครูผู้สอน
แบบฝกึ ทกั ษะการอ่านจบั ใจความสาคัญ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ 31 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย เลม่ ท่ี ๑ ความรพู้ ้นื ฐานการอา่ นจับใจความสาคัญ เฉลยแบบฝึกทักษะท่ี ๒ กิจกรรมที่ ๒.๑ ๑.ใจความสาคญั หมายถงึ ป...ร..ะ..โ.ย...ค..ห...ร..ือ..ข..้อ...ค..ว..า..ม...ท..เี่..ป..น็...แ..ก...น่ ..ข..อ...ง..เ.น..ื้อ...ค..ว..า..ม...ส..า..ม...า.ร..ถ.................. ..........ค..ร..อ..บ..ค..ล..ุม...เ.น..ือ้ ..ค..ว..า..ม..ใ.น...ป..ร..ะ..โ.ย..ค..อ..่นื...ๆ.............................................................................. .......๒.....ใก.ช..า.้ภ.ร.า.ส.ษ.ร..ปุา..ข.ใ.จอ..ค.ง.ต.ว..าน..มเ..อส..ง.า.ค...ัญ....ค...ว..ร..ใ..ช..ภ้ ...า.ษ...า..อ...ย..า่ ..ง..ไ.ร...................................................................... .......๓..ส...ใ.ว่ .จ.น.ค.ม.ว..า.า.ก.ม.เ.สป..า.น็.ค..ป.ญั .ร..มะ..ลี.โ.ย.ัก.ค.ษ..ค.ณ.ว..ะา..มอ...เย.ด.่า.ี.ยง..วไ.ร......................................................................................... ๔.การสรุปคณุ ค่า หมายถึงอะไร .........ป...ร..ะ..โ.ย...ช..น...ท์ ..่ีไ..ด..ร้..บั...จ..า..ก..ก...า..ร..อ..่า..น...เ.ป...็น..ไ..ด..้ท...้งั ..ป..ร..ะ...โ.ย..ช...น..ท์...า..ง..ต..ร..ง..ท...ี่ป..ร..า..ก...ฏ..ใ..ห..เ้..ห..็น...ไ.ด..ช้...ัด..เ.จ..น............. .......แ..ล..ะ..แ..ฝ..ง..อ..ย..ูใ่ .น...เ.ห..ต..ุก..า..ร..ณ...์น..้นั..ๆ....................................................................................... ๕.ข้อเท็จจริงแตกต่างจากข้อคิดเหน็ อยา่ งไร ........ข...้อ..เ.ท...็จ..จ...ร..ิง.ค...ือ..เ..ห..ต...ุก..า..ร..ณ...์ท...่ีเ.ก...ิด..ข..ึ้น...จ..ร..งิ...ไ..ม..ด่...ัด..แ...ป..ล...ง.ข...้อ..ค...ว..า..ม.....ข..อ้...ค..ดิ..เ.ห...็น....ค..ือ....ค..ว..า..ม...ร..้สู ..ึก..น...ึก..ค...ิด .......ข..อ...ง..ผ..ู้อ..่า..น...ท...่มี ..ีต..อ่...เ.ห...ต..ุก...า..ร..ณ...์น...นั้ ....ๆ..................................................................... ....................... กิจกรรมที่ ๒.๒ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐.
แบบฝึกทกั ษะการอ่านจบั ใจความสาคญั ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี ๑ 32 กล่มุ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เลม่ ท่ี ๑ ความรู้พ้นื ฐานการอ่านจับใจความสาคัญ กจิ กรรมท่ี ๒.๓ ๑.ความสมบูรณ์ของชีวิตมาจากความเข้าใจชีวติ เปน็ พน้ื ฐาน คือเข้าใจธรรมชาติ เขา้ ใจความเปน็ มนษุ ย์ และความสัมพันธ์ที่เกอื้ กูลกันระหวา่ งมนุษย์กบั มนุษย์ และมนุษย์กบั ธรรมชาติ มีความรักความเมตตา ตอ่ เพอ่ื นมนุษย์ และธรรมชาติอยา่ งจรงิ ใจ ๒.ความเครียดทาให้เพ่ิมฮอร์โมนอะดรีนาลีนในเลือด ทาให้หัวใจเต้นเร็ว เส้นเลือดบีบตัว กล้ามเนื้อ เขม็งตึง ระบบย่อยอาหารผิดปกติ และเกิดอาการปวดหัว ปวดท้อง ใจสั่น แข้งขาอ่อนแรง ความเครยี ดจึงเป็นตวั การที่เร่งใหแ้ ก่เร็ว ๓.สารอาหารในข้าวกล้องจะช่วยให้ร่างกายแข็งแรง และช่วยป้องกันโรคอ้วน ข้าวกล้องมีสารเส้นใย มากกว่าข้าวขาว ๘ เท่า ข้าวกล้องจะช่วยดูดซับไขมัน และน้าตาลในอาหาร แล้วขับออกมาเป็นกาก อาหาร ทาให้ไขมันและนา้ ตาลซมึ เข้ากระแสเลอื ดน้อยลง ๔.ปลาทูจากจังหวัดสมุทรสงครามหรือแม่กลองกินอร่อยกว่าปลาทูน่านน้าอ่ืน เพราะเนื้อดิน และ ระบบนา้ บริเวณก้นอ่าวไทยแถบจังหวดั สมุทรสาคร และสมุทรสงครามโดยเฉพาะบริเวณปากน้าและ ก้นอ่าวแมก่ ลองจะเป็นดนิ เลนรว่ นซุยซงึ่ มีเน้ือดินทท่ี าให้ ปลาทอู ร่อย ๕.คนโบราณท่านแบ่งการปกครองในบ้านไว้ดงั นี้ คือ สามเี ป็นใหญน่ อกบ้าน ซ่งึ หมายความว่าสามเี ป็น ผ้มู ภี าระหนา้ ท่ีทางานภายนอกบ้านเป็นงานอาชีพหาเงินเลี้ยงครอบครัว สว่ นภรยิ าเป็นใหญ่ในบ้าน ซ่ึง หมายความถึงผู้รบั ผดิ ชอบในการปกครองดูแลกิจการในบา้ นซ่ึงเปน็ พวกการบ้านงานครัวนัน่ เองหรอื “สามี เปน็ ผู้หา ภริยาเป็นผเู้ ก็บ (เงนิ )” การแบ่งหน้าทข่ี องสามแี ละภรยิ ากันเช่นนที้ าให้คนแต่ก่อนอย่ดู ้วยกัน อยา่ งสนั ตสิ ุข
แบบฝกึ ทกั ษะการอา่ นจบั ใจความสาคญั ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ ๑ 33 กล่มุ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เล่มที่ ๑ ความรพู้ ้ืนฐานการอ่านจบั ใจความสาคัญ กิจกรรมที่ ๒.๔ (แนวคาตอบ) ตาแหนง่ ของใจความสาคัญ ความหมายของใจความสาคัญ ……อ…ยตู่…อ…น…ต…น้ …ต…อ…น…ก…ล…าง…แ…ละ………… ……ต…อน…ท…า้ …ย…ขอ…ง…ย…่อห…น…้า………………… ……ใ…จค…ว…า…มส…า…ค…ญั …แล…ะ…เด…่น…ท…สี่ …ดุ ……… ……ใน…ย…อ่ …หน…้า…………………………… กลวธิ กี ารอา่ นจบั ใจความสาคัญ ลกั ษณะของ การสรปุ สาระสาคัญ ใจความสาคญั …บ…ท…ส…รปุ…ข…อ…ง…เน…ื้อ…ห…าเ…ร่ือ…ง…ใด…เร…ื่อ…ง…หน…่ึง ท…า…ห…น…า้ ท…คี่…ล…มุ …ใจ…ค…ว…าม…ข…อ…งข…อ้ …ค…วา…ม… …ท…่ตี …้อ…งก…า…รใ…ห…้ผ…อู้ ่า…น…จ…ด…จา…ได…้ …แ…ละ…… อ…ืน่ ……ๆ…ล…กั ษ…ณ…ะ…เ…ป…น็ ป…ร…ะ…โย…ค…………… …น…า…ไป…ใ…ช้ห…ล…ัง…อา่…น…จ…บ…แล…้ว……………… ส…่ว…น…ม…าก……จะ…ป…ร…าก…ฎ…อ…ย…่ตู น้…ข…้อ…ค…วา…ม… ………………………………………………… ………………………………………………… ข้ึนอยกู่ ับดุลยพินิจของครูผู้สอน กจิ กรรมที่ ๒.๕ สรปุ ข้อเทจ็ จรงิ ปา่ ไม้มีคุณค่า สาเหตุ คนรักษาปา่ ผลลัพธ์ ส่ิงมชี ีวิตได้อาศยั ปา่ สรุปคุณคา่ ปา่ ไม้มีประโยชน์ตอ่ ส่ิงมชี วี ิต ข้อคิดเห็น เราควรช่วยกนั ดแู ลรกั ษาปา่ ไม้
แบบฝกึ ทักษะการอ่านจบั ใจความสาคัญ ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๑ 34 กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย เลม่ ท่ี ๑ ความรู้พื้นฐานการอ่านจบั ใจความสาคญั เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น ข้อท่ี คาตอบ ๑. ข ๒. ก ๓. ข ๔. ง ๕. ง ๖. ค ๗. ก ๘. ง ๙. ก ๑๐. ก
แบบฝกึ ทกั ษะการอ่านจบั ใจความสาคัญ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑ 35 กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย เลม่ ท่ี ๑ ความรพู้ ้ืนฐานการอ่านจับใจความสาคญั บรรณานกุ รม กรมวชิ าการ. (๒๕๕๑). หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน ๒๕๕๑. กรงุ เทพมหานคร : ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทยจากดั . จุติกาญจน์ สุวรรณธาดา. ผลของการใช้โปรแกรมส่งเสรมิ การอ่านที่มีตอ่ การพัฒนความสนใจ ในการอ่านและความสามารถในการอา่ นจบั ใจความของนกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 1. (2537) .ปรญิ ญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑติ (การประถมศกึ ษา). กรุงเทพมหานคร : บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒประสานมิตร. ถ่ายเอกสาร. จไุ รรตั น์ ลกั ษณะศิริ และบาหยัน อ่มิ สาราญ. (๒๕๔๗). การใช้ภาษาไทย. กรงุ เทพมหานคร : คณะ อักษรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร. ถวลั ย์ มาศจรสั . (2540) . การเขยี นหนงั สือส่งเสริมการอ่านและหนังสืออา่ นเพ่ิมเติม. กรุงเทพมหานคร : เลิฟแอนด์ลิฟเพรส. สวุ ทิ ย์ มูลคา. (๒๕๔๘). กลยุทธ์การสอนคดิ วิเคราะห์. กรุงเทพมหานคร : ดวงกมลสมัย. แววมยรุ า เหมอื นนลิ . (๒๕๕๓). การอ่านจับใจความ. กรุงเทพมหานคร : ชมรมเด็ก. เอกรนิ ทร์ ส่ีมหาสารและคณะ. (๒๕๔๖). แม่บทมาตรฐานภาษาไทย. กรงุ เทพมหานคร : อักษร เจริญทัศน์ อจท.
Search
Read the Text Version
- 1 - 41
Pages: