บทที่2 แนวคิดและทฤษฎีทเ่ี กย่ี วข้อง ในการพฒั นาภาคนิพนธ์น้ี คณะผจู้ ดั ทาไดป้ ระยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยแี นวคิดและทฤษฎีต่างๆ มาใชเ้ พื่อเป็นแนวทางในการพฒั นาประกอยดว้ ย 2.1 เทคโนโลยเี สมอื นจริง Augmented Reality1 2.1.1 ความหมาย Augmented Reality Augmented Reality หรือ AR เป็ นเทคโนโลยีใหม่ ท่ีผสานเอาโลกแห่งความเป็ น จริง (Real) เขา้ กบั โลกเสมือน (Virtual) ซ่ึงจะทาใหภ้ าพท่ีเห็นในจอภาพกลายเป็ นวตั ถุ 3 มิติลอยอยู่เหนือพ้ืนผิวจริง และกาลงั พลิกโฉมหน้าให้ส่ือโฆษณาบนอินเทอร์เน็ต ไปสู่ ความตื่นเตน้ เร้าใจแบบใหม่ ของการท่ีภาพสินคา้ ลอยออกมานอกจอคอมพิวเตอร์ นาไปสู่ การเปล่ียนแปลงโฉมหนา้ ส่ือยคุ ใหม่ เช่นเดียวกบั เม่ือคร้ังเกิดอินเทอร์เน็ตข้ึนในโลกก็วา่ ได้ หากเปรียบส่ือต่างๆ เสมือน “กล่อง” แลว้ AR คือการเดง้ ออกมาสู่โลกใหม่ภายนอกกล่องท่ี สร้างความตื่นเตน้ เร้าใจ ในรูปแบบ Interactive Media เพียงแค่ภาพสัญลกั ษณ์ที่ตกแต่งเป็ นรูปร่างต่างๆ แลว้ นาไปทารหัสหรือเรียกว่า Marker เม่ือตีพมิ พบ์ นวตั ถุต่างๆ แลว้ ไม่วา่ จะเป็ นบนผา้ แกว้ น้า กระดาษ หนา้ หนงั สือหรือ แมแ้ ต่บนนามบตั ร แลว้ ส่องดว้ ยกลอ้ งเวบ็ แคม หรือการยกสมาร์ทโฟนส่องไปขา้ งหนา้ ท่ีมี Reality Browser Layar เราอาจเห็นภาพโมเดลของอาคารขนาดใหญ่ หรือเห็นสัญลกั ษณ์ ของร้านคา้ ต่างๆ รูปสินคา้ ต่างๆ รวมไปถึงรูปคนเสมือนจริงปรากฏตวั และกาลงั พูดผา่ น หนา้ จอคอมพิวเตอร์ น่ีคือสิ่งท่ีต่ืนตาต่ืนใจ และทาให้ AR กลายเป็ นสิ่งที่ถูกถามหากนั มาก ข้ึน 1 ท่ีมา http://lprusofteng.blogspot.com/2013/05/augmented-reality-ar.html
8 รูปท่ี 2.1 ตวั อยา่ งอุปกรณ์เสมือนจริง ( ท่ีมา : http://static.dezeen.com/uploads/2013/08/dezeen_ikea-launch_augmented- reality_2014_ss2_pan.jpg ) 2.1.2 หลกั การของเทคโนโลยเี สมือนจริง2 แนวคิดหลกั ของเทคโนโลยีเสมือนจริง คือการพฒั นาเทคโนโลยีท่ีผสานเอาโลก แห่งความเป็ นจริงและความเสมือนจริง เขา้ ด้วยกนั ผ่านซอฟต์แวร์และอุปกรณ์เช่ือมต่อ ต่างๆ เช่น เวบ็ แคม คอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์อ่ืนท่ีเก่ียวขอ้ ง ซ่ึงภาพเสมือนจริงน้ันจะ แสดงผลผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์ หน้าจอโทรศพั ท์มือถือ บนเคร่ือง ฉายภาพ หรือบน อุปกรณ์แสดงผลอ่ืนๆ โดยภาพเสมือนจริงที่ ปรากฏข้ึนจะมีปฏิสัมพนั ธ์กบั ผใู้ ชไ้ ดท้ นั ที ท้งั ในลกั ษณะที่เป็ นภาพ น่ิงสามมิติ ภาพเคล่ือนไหว หรืออาจจะเป็ นส่ือที่มีเสียงประกอบ ข้ึนกบั การออกแบบสื่อแต่ละรูปแบบว่าให้ออกมาแบบใด โดยกระบวนการภายในของ เทคโนโลยเี สมือนจริง ประกอบดว้ ย 3 กระบวนการ ไดแ้ ก่ - การวเิ คราะห์ภาพ (Image Analysis) เป็ นข้นั ตอนการคน้ หา Marker จากภาพที่ได้ จากกลอ้ งแลว้ สืบคน้ จากฐานขอ้ มูล (Marker Database) ที่มีการเก็บขอ้ มูลขนาด และรูปแบบของ Marker เพื่อนามาวเิ คราะห์รูปแบบของ Marker การวิเคราะห์ ภาพ สามารถแบ่งไดเ้ ป็ น 2 ประเภท ไดแ้ ก่ การวเิ คราะห์ภาพโดยอาศยั Marker เป็นหลกั ในการทางาน (Marker based AR) และการวเิ คราะห์ภาพโดยใชล้ กั ษณะ ตา่ งๆ ท่ีอยใู่ น ภาพมาวเิ คราะห์ (Marker-less based AR) 2 ที่มา https://nipatanoy.wordpress.com/โลกเสมือนผา่ นโลกจริง-augmented-reality/
9 - การคานวณค่าตาแหน่งเชิง 3 มิติ (Pose Estimation) ของ Marker เทียบกบั กลอ้ ง - กระบวนการสร้างภาพสองมิติ จากโมเดลสามมิติ (3D Rendering) เป็นการเพ่มิ ขอ้ มลู เขา้ ไปในภาพ โดยใชค้ า่ ตาแหน่ง เชิง 3 มิติ ท่ีคานวณไดจ้ นไดภ้ าพเสมือน จริง 2.1.3 องคป์ ระกอบของเทคโนโลยเี สมือนจริง ประกอบดว้ ย - AR Code หรือตวั Marker ใชใ้ นการกาหนดตาแหน่งของวตั ถุ - Eye หรือ กลอ้ งวิดีโอ กลอ้ งเวบ็ แคม กลอ้ งโทรศพั ทม์ ือถือ หรือ ตวั จบั Sensor อ่ืนๆ ใชม้ องตาแหน่งของ AR Code แลว้ ส่งขอ้ มลู เขา้ AR Engine - AR Engine เป็ นตวั ส่งขอ้ มูลที่อ่านไดผ้ า่ นเขา้ ซอฟต์แวร์หรือส่วนประมวลผล เพ่อื แสดงเป็นภาพต่อไป - Display หรือ จอแสดงผล เพ่ือใหเ้ ห็นผลขอ้ มลู ที่ AR Engine ส่งมาใหใ้ นรูปแบบ ของภาพ หรือ วีดีโอหรืออีกวิธีหน่ึง เราสามารถรวมกลอ้ ง AR Engine และ จอภาพ เขา้ ดว้ ยกนั ในอุปกรณ์เดียว เช่น โทรศพั ทม์ ือถือ หรืออื่นๆ รูปที่ 2.2 องคป์ ระกอบของเทคโนโลยเี สมือนจริง ( ที่มา : http://learngears.files.wordpress.com/ )
10 2.1.4 ระบบเสมือนเสริมบนโทรศพั ทม์ ือถือ โทรศพั ทม์ ือถืออจั ฉริยะหรือสมาร์ทโฟน (Smart Phone) ถือเป็ นจุดเปล่ียนแนวคิด ทางการตลาดของการโฆษณา เพราะด้วย ระบบเสมือนจริงบนโทรศพั ท์มือถือ (Mobile AR) ทาใหผ้ ใู้ ชส้ ามารถ รับขอ้ มูลหรือข่าวสารไดท้ นั ทีตามคุณลกั ษณะของซอฟตแ์ วร์หรือ โปรแกรมต่างๆ ที่อยใู่ นโทรศพั ทม์ ือถือ แบบท่ีผใู้ ชส้ ามารถพกพา ไดอ้ ยา่ งสะดวก ระบบเสมือนจริงบนโทรศพั ท์มือถือจดั เป็ นเทคโนโลยี เสมือนจริงท่ีใช้งานบน โทรศพั ท์มือถือ ทาให้หน้าจอของโทรศพั ท์ มือถือแสดงขอ้ มูลต่างๆ ที่ไดร้ ับจากเครือข่าย อินเทอร์เน็ต ท้งั น้ี โทรศพั ทม์ ือถือที่สามารถใช้ระบบเสมือนจริงไดต้ อ้ งมีคุณสมบตั ิของ เคร่ือง ดงั น้ี - กลอ้ งถ่ายรูป - GPS ท่ีสามารถระบุพกิ ดั ตาแหน่งและเช่ือมตอ่ อินเทอร์เน็ตได้ - เขม็ ทิศดิจิตอลในเครื่อง สาหรับโทรศพั ทม์ ือถือท่ีรองรับเทคโนโลยนี ้ีไดม้ ีหลายยห่ี อ้ เช่น iPhone 3GS และ มือถือที่มีระบบปฏิบตั ิการแอนดรอยด์ เช่น HTC G1, HTC HERO, HTC DROID เป็ นตน้ 2.1.5 การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยเี สมือนจริง จากอดีตจนถึงปัจจุบนั มีการประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยเี สมือน จริงเขา้ กบั ชีวติ ประจาวนั เช่น - การประยุกตใ์ ชท้ างดา้ นการศึกษา เช่น การทาเป็ นหนงั สือ 3 มิติ เร่ือง Dinosaur มีภาพกราฟฟิ กไดโนเสาร์ พุ่งออกมาแบบ 3 มิติ ดว้ ยความน่าต่ืนเตน้ พร้อม หมุนดูรอบตวั ไดเ้ หมือนจริง ของ TK park - การประยกุ ตใ์ ชใ้ นอุตสาหกรรม เช่น อุตสาหกรรมสร้าง เคร่ืองบิน อุตสาหกรรม ผลิตรถยนต์ โดยบริษทั BMW ไดใ้ ชเ้ ทคโนโลยเี สมือนจริงมาช่วยในการผลิต โดยใหผ้ ใู้ ช้ไดเ้ รียนรู้การ ทางานดว้ ยการใส่แวน่ ตาท่ีจะมีคาแนะนาและจาลอง การทางาน แสดงให้เห็นแต่ละข้นั ตอนก่อนปฏิบตั ิจริงแบบ 3 มิติ ที่เสมือนจริง หรือเรียกส้ัน ๆ วา่ “เทคโนโลยี AR” (Augmented Reality) เป็ นเทคโนโลยีท่ี ผสมผสานโลก ในความเป็ นจริง และโลกเสมือนท่ีสร้างข้ึนมาผสานเข้า ดว้ ยกนั ผ่านซอฟตแ์ วร์และอุปกรณ์เชื่อมต่อต่างๆ ซ่ึงถือวา่ เป็ นการสร้างขอ้ มูล
11 อีกข้อมูลหน่ึงที่เป็ นส่วนประกอบบนโลกเสมือน (virtual world) เช่น ภาพกราฟิ ก วดิ ีโอ รูปทรงสามมิติ และขอ้ ความ ตวั อกั ษร ให้ผนวกซอ้ นทบั กบั ภาพในโลกจริงที่ปรากฏบนกลอ้ ง - การประยุกต์ใช้ทางด้านการแพทย์ เช่น การเรียบเรียง หลกั การประยุกต์ใช้ ภาพเสมือนจริงทางการแพทย์ โดยการเพ่มิ ตวั ต่อประสานระบบสัมผสั ภาพ 3 มิติ เพื่อเพ่ิมความสมจริงในการ รักษา และให้นกั ศึกษาแพทยไ์ ดใ้ ช้เครื่องมือแพทย์ รักษาหรือผ่าตดั ผูป้ ่ วยแบบไม่ต้องสัมผสั กบั ผูป้ ่ วยจริง มีการนาเทคโนโลยี เสมือน จริงจาลองการผ่าตัดผ่านระบบ ARI*SER โดยทางมหาวิทยาลัย แพทยศาสตร์ Ganz ไดแ้ ปลงให้เป็ นระบบจาลองการผา่ ตดั ตบั เสมือนจริงและ อุปกรณ์เชื่อมต่อต่าง ๆ ซ่ึงถือว่าเป็ นการสร้างข้อมูลอีกข้อมูลหน่ึงท่ีเป็ น ส่วนประกอบบนโลกเสมือน (virtual world) เช่น ภาพกราฟิ ก วดิ ีโอ รูปทรงสาม มิติ และขอ้ ความ ตวั อักษร ให้ผนวกซ้อนทบั กบั ภาพในโลกจริงท่ีปรากฏบน กลอ้ ง - การประยุกตใ์ ชท้ างดา้ นธุรกิจ เช่น การใชเ้ ทคโนโลยีเสมือนจริงกบั การซ้ือขาย ทางการเงินดว้ ยเทคโนโลยี CYBERII โดย ระบบสามารถให้ผใู้ ช้งานกาหนด บทบาทของตวั แทนจาหน่าย (Finance Dealer) ในสภาพแวดล้อมเสมือนท่ี สามารถเสนอราคา ในการซ้ือขาย โดยใชล้ ูกบอลสีเหลืองแสดงราคาซ้ือและลูก บอลสี แดงแสดงราคาขาย ทาให้ผูใ้ ช้สามารถจาลองการซ้ือขายทางการเงินได้ เสมือนจริงในการ รักษา และให้นกั ศึกษาแพทยไ์ ดใ้ ชเ้ คร่ืองมือแพทยร์ ักษาหรือ ผ่าตดั ผูป้ ่ วยแบบไม่ตอ้ งสัมผสั กบั ผูป้ ่ วยจริง มีการนาเทคโนโลยีเสมือน จริง จาลองการผา่ ตดั ผา่ นระบบ ARI*SER โดยทางมหาวทิ ยาลยั แพทยศาสตร์ Ganz ไดแ้ ปลงใหเ้ ป็นระบบจาลองการผา่ ตดั ตบั เสมือนจริง - การประยุกตใ์ ช้ทางดา้ นการโฆษณา เช่น โทรศพั ทม์ ือถือซมั ซุงนาเทคโนโลยี Mobile AR มาสร้างการรับรู้เพ่ือให้ลูกคา้ ไดท้ ราบถึงระบบปฏิบตั ิการใหม่บน มือถือ Samsung Wave และ ให้วดู ด้ีเป็ นผนู้ าเสนอวิธีการใชง้ านผา่ นเทคโนโลยี เสมือนจริงในรูปแบบสามมิติ โดยลูกคา้ สามารถใช้เว็บแคมและเคร่ืองพิมพ์ ประกอบกบั ซอฟตแ์ วร์ต่างๆ ท่ีมีภายใตร้ ะบบปฏิบตั ิการ BADA ของ Samsung เรียกใชโ้ ปรแกรมประยกุ ตต์ ่างๆ เพ่อื ใชง้ านตามตอ้ งการ
12 - การประยุกต์ใชก้ บั การท่องเท่ียว เช่น การนาเทคโนโลยี เสมือนจริงไปใช้เพ่ือ แนะนาประเทศไทยในงาน “The World Exposition Shanghai China 2010” ภายใตแ้ นวคิด “Thinness: Sustainable Ways of Life” และได้นาเสนอ นิทรรศการภายใน อาคารศาลาไทยแยกเป็ น 3 ส่วน คือ 1.เร่ือง “จากต้นสาย แหล่งกาเนิด: A Journey of Harmony” 2.เรื่อง “เกิดร้อยพนั พลายวถิ ี: A Harmony of Different Tones” และ 3 เรื่อง “หลอม รวมชีวีสู่วถิ ีความเป็ นไทย: A Harmony of Thais” ในแต่ละหอ้ ง นิทรรศการจะนาเสนอเอกลกั ษณ์ของความเป็ นไทยที่ เกิดจากการ พฒั นาดา้ นต่างๆ ผา่ นเทคโนโลยเี สมือนจริง เช่น การฉายวิดีโอ เพ่ือ แสดงความสัมพนั ธ์ ระหวา่ งพ่ีนอ้ งของชาวไทยกบั จีน โดยมียกั ษว์ ดั โพธ์ิขยบั ตวั และพดู คุยกบั ตวั ละครจีนหรืออาจจะเรียกวา่ “AR Code” ก็ได้ โดยใชก้ ลอ้ งเวบ็ แคมในการรับภาพ เมื่อซอฟท์แวร์ท่ีเราใช้งานอยู่ประมวลผลรูปภาพเจอ สัญลกั ษณ์ที่กาหนดไวก้ ็จะแสดงขอ้ มูลภาพสามมิติที่ถูกระบุไวใ้ นโปรแกรมให้ เห็น เราสามารถที่จะหมุนดูภาพท่ีปรากฏไดท้ ุกทิศทางหรือเรียกว่าหมุนได้ 360 องศา - การประยกุ ตก์ บั การส่ังซ้ือสินคา้ ออนไลน์ เช่น บริษทั ชิเซโด้ นาเทคโนโลยเี สมือนจริงมาใชผ้ า่ นกระจก ดิจิตอลเพ่ือจาลองการ ทดสอบในการแต่งหน้าวา่ เหมาะกบั ลูกคา้ หรือไม่ โดยระบบจะซ้อนภาพส่วน ของการแต่งหน้าข้ึนไปบน ใบหน้าจริงที่ปรากฏบนหนา้ จอในลกั ษณะของการ เปรียบเทียบให้ เห็นท้งั ก่อนแต่งหนา้ และหลงั แต่งหนา้ ในการใชง้ านจะใหล้ ูกคา้ น่ัง ลงตรงหน้าเคร่ืองแล้วให้กล้องสแกน จากน้ันระบบจะวิเคราะห์สี ผิว องค์ประกอบต่างๆ ตลอดจนรูปใบหน้า เพ่ือแนะนาวา่ ควร เลือกแต่งหน้าและ เลือกใชเ้ คร่ืองสาอางใด โดยสามารถแสดงผลการแต่งหนา้ ไดท้ นั ที และสามารถ สั่ ง พิ ม พ์ ภ า พ ใ บ ห น้ า ก่ อ น แ ล ะ ห ลั ง แ ต่ ง พ ร้ อ ม ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว กั บ ผ ลิ ต ภัณ ฑ์ เครื่องสาอางที่ตอ้ งใชเ้ พอ่ื เลือกซ้ือตามรายการที่เลือกไว้ บริษทั Tissot ให้ลูกคา้ สามารถลองสินคา้ ผา่ นหนา้ จอ คอมพิวเตอร์ท่ีมีเวบ็ แคม โดยลูกคา้ จะเลือกรหสั สินคา้ หรือรุ่นท่ี ลูกคา้ ตอ้ งการทาใหล้ ูกคา้ ไดล้ องสินคา้ เสมือนจริงผา่ นเทคโนโลยี AR จนไดส้ ินคา้ ที่ถูกใจก่อนส่ังซ้ือของจริงที่ปรากฏบน หนา้ จอในลกั ษณะของการเปรียบเทียบให้ เห็นท้งั ก่อนแต่งหนา้ และหลงั แต่งหนา้ ในการใชง้ านจะใหล้ ูกคา้ นงั่ ลงตรงหนา้ เคร่ืองแลว้ ให้กลอ้ งสแกน จากน้นั ระบบ จะวเิ คราะห์สี ผวิ องคป์ ระกอบต่างๆ ตลอดจนรูปใบหนา้ เพ่ือแนะนาวา่ ควร เลือก
13 แต่งหน้าและเลือกใชเ้ คร่ืองสาอางใด โดยสามารถแสดงผลการแต่งหนา้ ไดท้ นั ที และสามารถส่ังพิมพภ์ าพใบหนา้ ก่อนและหลงั แต่งพร้อมขอ้ มูลเก่ียวกบั ผลิตภณั ฑ์ เครื่องสาอางท่ีตอ้ งใชเ้ พ่อื เลือกซ้ือตามรายการที่เลือกไว้ สาหรับ Mobile AR มีการนาเสนอการแต่งบา้ นดว้ ยมือ ถือจาก IKEA ที่ทาใหล้ ูกคา้ เป็ น สถาปนิกดว้ ยตวั เอง โดยไม่ตอ้ งเสีย เงิน เพียงแค่ใช้โทรศพั ท์มือถือแลว้ เลือกรูปสินคา้ ในหมวด IKEA PS จากน้ันกดถ่ายรูป และเล่ือนตาแหน่งโทรศพั ท์มือถือไปถ่ายในมุม ที่ตอ้ งการวาง เฟอร์นิเจอร์ จะเห็นมุมห้องที่มีเฟอร์นิเจอร์ตามที่ เลือกไว้ โดยสามารถบนั ทึกภาพและส่งต่อให้ เพอื่ นผา่ น MMS ได้ ใหก้ ลอ้ งสแกน จากน้นั ระบบจะวเิ คราะห์สี ผวิ องคป์ ระกอบต่างๆ ตลอดจนรูป ใบหน้า เพ่ือแนะนาว่าควร เลือกแต่งหน้าและเลือกใช้เครื่องสาอางใด โดยสามารถแสดงผลการ แตง่ หนา้ ไดท้ นั ที และสามารถสง่ั พิมพภ์ าพใบหนา้ ก่อนและหลงั แต่งพร้อมขอ้ มูลเก่ียวกบั ผลิตภณั ฑ์ เคร่ืองสาอางท่ีตอ้ งใชเ้ พื่อเลือกซ้ือตามรายการท่ีเลือกไว้ 2.1.6 แนวโนม้ การใชเ้ ทคโนโลยเี สมือนจริงในอนาคต สาหรับแนวโนม้ การใชเ้ ทคโนโลยเี สมือนจริง ไดอ้ า้ งอิงจากงานวจิ ยั เร่ือง “The Future of Internet III” ของ Pew Internet ท่ีทาการสารวจเกี่ยวกบั การประเมินผลกระทบจากอินเทอร์เน็ตใน ประเดน็ ตา่ งๆที่เก่ียวขอ้ งกบั สังคม การเมือง และเศรษฐกิจของ ชีวิตมนุษยใ์ นอนาคตปี 2020 ผา่ น ทางอีเมล์ และเครือขา่ ยสังคมออนไลน์ Facebook ในช่วงวนั ที่ 28 ธนั วาคม ค.ศ. 2007 ถึงวนั ท่ี3 มีนาคม ค.ศ. 2008 จากจานวนท้งั หมด 1,196 คน แบ่งเป็นผู้ เชี่ยวชาญ 578 คน ท่ีตอบแบบสอบถาม ผา่ นทาง Facebook และ ผเู้ ก่ียวขอ้ งกบั อินเทอร์เน็ตที่ไดร้ ับการคดั เลือกจากโครงการ 618 คนท่ีตอบ แบบสอบถามผา่ นทางอีเมล์ นอกจากน้ี เทคโนโลยีเสมือนจริงยงั มีแนวโนม้ ที่จะพฒั นามากข้ึนควบคู่ไปกบั เทคโนโลยี 4G หรือเทคโนโลยีเจนเนอเรชนั่ ท่ี 4 (4th Generation) ซ่ึงความรวดเร็วของเทคโนโลยีระบบ 4G (4th Generation) ที่เป็นระบบเครือข่ายไร้สายความเร็วสูงพิเศษสามารถส่งผา่ นขอ้ มูลในความเร็วที่ ประมาณ 20 – 40 เมกะไบต์ต่อวนิ าที (Mbps/Second) ทาให้ผบู้ ริโภคสามารถดาวน์โหลดขอ้ มูล รูปแบบพิเศษท่ีเรียกว่า AR (Augmented Reality) รวมถึงขอ้ มูลในรูปธรรมดาอ่ืนๆ (ขอ้ มูลภาพ ภาพยนตร์ การประชุมหรือสัมมนาที่ตอ้ งมีโตต้ อบ (Real time)ไดอ้ ยา่ งสะดวก เพราะเทคโนโลยี 4G คือระบบการติดต่อ ส่ือสารที่สามารถใช้งานไดโ้ ดยไม่จากดั พ้ืนท่ี จากคุณสมบตั ิเด่นๆ ของ ระบบ 4Gที่กล่าวมา นกั การตลาดและองคก์ รธุรกิจสามารถนาเทคโนโลยรี ะบบ 4G และ AR มาใช้ เป็ นเคร่ืองมือในการติดต่อสื่อสารทาการตลาดและบริหารดาเนินงานเพ่ือให้เกิดประโยชน์สาหรับ องคก์ รธุรกิจและผบู้ ริโภค
14 สาหรับแนวโนม้ การใชเ้ ทคโนโลยเี สมือนจริง ไดอ้ า้ งอิงจากงานวิจยั เร่ือง “The Future of Internet III” ของ Pew Internet ที่ทาการสารวจเก่ียวกบั การประเมินผลกระทบจากอินเทอร์เน็ตใน ประเด็นต่างๆท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั สังคม การเมือง และเศรษฐกิจของ ชีวิตมนุษยใ์ นอนาคตปี 2020 ผ่าน ทางอีเมล์ และเครือข่ายสังคมออนไลน์ Facebook ในช่วงวนั ที่ 28 ธันวาคม ค.ศ. 2007 ถึงวนั ท่ี3 มีนาคม ค.ศ. 2008 จากจานวนท้งั หมด 1,196 คน แบ่งเป็ นผู้ เช่ียวชาญ 578 คน ท่ีตอบแบบสอบถาม ผา่ นทาง Facebook และ ผเู้ กี่ยวขอ้ งกบั อินเทอร์เน็ตท่ีไดร้ ับการคดั เลือกจากโครงการ 618 คนท่ีตอบ แบบสอบถามผา่ นทางอีเมล์ 2.2 ภาพสามมิต3ิ ปัจจุบนั มีการออกแบบสามมิติในหลายสาขางาน แมก้ ระทง่ั บนหนา้ จอคอมพิวเตอร์ ซ่ึงใน อดีตเราจะพบภาพสามมิติบนหนา้ จอภาพยนตร์หรือโทรทศั น์เท่าน้นั ส่วนงานสามมิติที่จบั ตอ้ งไดก้ ็ อาจเพียงงานประติมากรรม สถาปัตยกรรม อุตสาหกรรมศิลป์ ประยกุ ต์ศิลป์ หรือหตั ถศิลป์ เท่าน้นั อยา่ งไรก็ตามพ้ืนฐานท้งั หมดไม่ว่าจะเป็ นงานออกแบบสองมิติหรืองานออกแบบสามมิติในศิลปะ แทบทุกสาขางาน ยอ่ มตอ้ งใชท้ ศั นธาตุและหลกั การออกแบบเป็นแนวทางท้งั สิ้น ความหมายของงานออกแบบสามมิติ งานสามมิติ หมายถึง การจดั ปริมาตรท่ีเป็นจริงในท่ี วา่ งดว้ ยองคป์ ระกอบ พลาสติก คือ รูปทรง เส้น ระนาบ ท่ีวา่ ง สี และผวิ สมั ผสั ฯลฯ ใหม้ ีความ เคล่ือนไหว และจดั ใหอ้ งคป์ ระกอบเหล่าน้ีมีความเป็นอนั หน่ึงอนั เดียวกนั มิติมีความหมายวา่ การวดั ขนาดต่างๆ เช่น ความกวา้ ง ความยาว หรือความสูง - ตรงกบั คาในภาษาองั กฤษวา่ Dimension - การวดั เฉพาะความยาวเรียกวา่ First dimension - การวดั เฉพาะความกวา้ งเรียกวา่ Second dimension - การวดั เฉพาะความสูงหรือความหนาเรียกวา่ Third dimension แตก่ ารวดั ท้งั ความยาว ความกวา้ ง และความสูงหรือหนารวมเรียกวา่ Three dimension หรือ 3 มิติความหมายโดยทว่ั ไปของคาวา่ 3 มิติ จึงสามารถครอบคลุมไปถึงวตั ถุสิ่งของต่างๆ ที่มีความ ยาว ความกวา้ ง และความสูงหรือความหนาดว้ ย เช่น คน สัตว์ ส่ิงของ อาคารบา้ นเรือน ฯลฯ ในทาง ศิลปะ คาวา่ 3 มิติตรงกบั คาวา่ ภาพลอยตวั (Round relief) ซ่ึงหมายถึงภาพที่สามารถมองเห็นได้ ทุกๆ ดา้ น สามารถกินเน้ือที่ในอากาศและน้า ซ่ึงก็ คืองานประฎิมากรรมนนั่ เอง 3 ที่มา https://krusarayut.wordpress.com /คอมพวิ เตอร์พ้นื ฐาน-5/หน่วยการเรียนรู้ท่ี-1/ภาพสามมิติ/
15 ดงั น้นั จึงสรุปไดว้ ่า งานออกแบบสามมิติหมายถึง การจดั องค์ประกอบทางศิลปะให้เป็ น อนั หน่ึงอนั เดียวกนั โดยมีมิติของการมองไดท้ ้งั ความกวา้ ง ความยาว และความสูง หรือความหนา งานสามมิติกินบริเวณพ้ืนที่วา่ งสามมิติ งานสามมิติมีท้งั เคลื่อนไหวได้ และเคล่ือนไหวไมไ่ ด้ 1. ภาพสามมิติแบบทศั นียภาพ ภาพทศั นียภาพ เป็นภาพเขียนแบบท่ีมีลกั ษณะเป็นจุดรวมสายตา เม่ือภาพมองดูภาพท่ีใกลก้ ็ จะมีขนาดใหญ่ และเมื่อไกลออกไปจะมองเห็นเล็กลงไปรวมจุด ภาพเขียนแบบชนิดน้ีนิยมใชเ้ ขียน ในงานสถาปัตยกรรม มีอยู่ 3 แบบ ดงั น้ี 1.1 ภาพทศั นียภาพแบบรวมสายตา 1 จุด เป็ นภาพเขียนแบบท่ีมองเห็นดา้ นหนา้ ลกั ษณะตรงต้งั ฉากและจะเห็นดา้ นอ่ืนเอียงลึกลงไปรวมจุดเพียงหน่ึงจุด มีอยู่ 3 ลกั ษณะคือ แนวระดบั สายตา, แนวมุมสูง และแนวมุมต่า ดงั แสดงในรูปที่ 2.3 รูปท่ี 2.3 ภาพแสดงทศั นียภาพแบบ 1 จุด ( ท่ีมา : https://krusarayut.files.wordpress.com/2012/09/4-1.jpg )
16 1.2 ภาพทศั นียภาพแบบรวมสายตา 2 จุด เป็นภาพเขียนแบบท่ีมีจุดรวมสายตาอยู่ 2 จุด คือ จุดทางดา้ นซา้ ยมือ (LVP) และจุดทางดา้ นขวามือ (RVP) ดงั แสดงในรูปที่ 2.4 รูปท่ี 2.4 ภาพแสดงทศั นียภาพแบบ 2 จุด ( ที่มา : https://krusarayut.files.wordpress.com/2012/09/4-2.jpg ) 1.3 ภาพทศั นียภาพแบบรวมสายตา 3 จุด เป็ นภาพเขียนแบบที่มีจุดรวมสายตาอยู่ 3 จุด คือจุดรวมสายตาทางดา้ นซ้ายมือ จุดรวมสายตาทางดา้ นขวามือ และจุดรวมสายตา ทางดา้ นล่าง (หรือดา้ นบน) ดงั แสดงในรูปท่ี 2.5 รูปที่ 2.5 ภาพแสดงทศั นียภาพแบบ 3 จุด ( ที่มา : https://krusarayut.files.wordpress.com/2012/09/4-3.jpg )
17 รูปท่ี 2.6 ภาพแสดงทศั นียภาพแบบท้งั สามแบบ ( ท่ีมา : https://krusarayut.files.wordpress.com/2012/09/4-4.jpg ) 2. ภาพออบลิค เป็ นภาพเขียนแบบที่ด้านหน้ามีลกั ษณะต้งั ตรง ส่วนภาพด้านข้างและ ดา้ นบนจะเอียงลึกลงไปเพียงดา้ นเดียว โดยมีขนาดที่ขนานเท่ากนั ตลอด โดยทว่ั ไปจะเป็ นมุมเอียง 45 องศา มีอยู่ 2 แบบ ดงั น้ี 2.1 ภาพออบลิคแบบเต็มส่วน (Cavalier Drawing) เป็ นแบบท่ีมีอตั ราส่วนภาพ ระหวา่ งความกวา้ ง: ความสูง : ความลึกของภาพเป็ น 1 : 1 : 1 ดงั แสดงในรูปท่ี 2.7 รูปท่ี 2.7 ภาพออบลิคแบบเตม็ ส่วน ( ที่มา : https://krusarayut.files.wordpress.com/2012/09/4-5.jpg )
18 2.2 ภาพออบลิคแบบคร่ึงส่วน (Cabinet Drawing) เป็ นแบบที่มีอตั ราส่วนภาพ ระหวา่ งความกวา้ ง:ความสูง : ความลึก ของภาพเป็ น 1 : 1 :0.5 ดงั แสดงในรูปที่ 2.8 รูปที่ 2.8 ภาพออบลิคแบบคร่ึงส่วน ( ท่ีมา : https://krusarayut.files.wordpress.com/2012/09/4-6.jpg ) 3. ภาพสามมิติแบบแอกโซโนเมตริก แอกโซโนเมตริก (Axonometric) คาวา่ แอกซอน (Axon) มาจากคาวา่ Axis ซ่ึงแปลวา่ แกน ฉะน้ันภาพแอกโซโนเมตริจึงเป็ นภาพสามมิติท่ีวดั จากแกนสามแกนมุมรวมกนั 360 องศา โดยมี แกนหลกั ทามุมต้งั ฉากกบั แนวนอน ส่วนอีกสองแกนจะมีมุมเอียงลึกลงไปท้งั สองขา้ ง มีอยู่ 3 แบบ ดงั น้ี 3.1 ภาพไดเมตริก (Diametric Projection) เป็ นภาพเขียนแบบสามมิติท่ีมีมุมรอบ ศูนยก์ ลางจานวนสามแกน โดยสองแกนมุมเท่ากนั ส่วนแกนท่ีสามทามุมต่างออกไป และ แกนหลกั ตอ้ งทามุมต้งั ฉากกบั แนวนอน โดยมีรูปแบบอตั ราส่วนความกวา้ ง ความสูง และ ความลึกของภาพอยหู่ ลายรูปแบบ ดงั แสดงในรูป 2.9
19 รูปท่ี 2.9 ภาพไดเมตริก ( ที่มา : https://krusarayut.files.wordpress.com/2012/09/4-8.jpg ) 3.2 ภาพไตรเมตริก (Trimetric Projection) เป็นภาพเขียนแบบสามมิติท่ีมีมุมรอบ ศนู ยก์ ลางจานวนสามแกนโดยท้งั สามแกนทามุมไมเ่ ทา่ กนั และแกนหลกั ตอ้ งทามุมต้งั ฉาก กบั แนวนอน โดยมีสัดส่วนความกวา้ งความสูง และความลึกของภาพ ดงั แสดงในรูปที่ 2.10 รูปท่ี 2.10 ภาพไตรเมตริก ( ที่มา : https://krusarayut.files.wordpress.com/2012/09/4-9.jpg )
20 3.3 ภาพไอโซเมตริก (Isometric Projection) เป็ นภาพเขียนแบบสามมิติที่มีมุมรอบ ศูนยก์ ลางจานวนสามแกนโดยท้งั สามแกนทามุม 120 องศาเทา่ กนั และแกนหลกั ตอ้ งทามุม ต้งั ฉากกบั แนวนอนโดยมีสัดส่วนความกวา้ ง ความสูง และความลึกของภาพ ดงั แสดงใน รูปท่ี 3.3 รูปที่ 2.11 ภาพไอโซเมตริก ( ท่ีมา : https://krusarayut.files.wordpress.com/2012/09/4-10.jpg ) 2.3 ความหมายของ M-Commerce4 M-Commerce คือ การดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั ธุรกรรม หรือการเงิน โดยผา่ น เครือข่ายโทรศพั ทเ์ คลื่อนที่ หรือการคา้ ขายตามระบบแนวความคิดของระบบการคา้ อิเล็กทรอนิกส์ E-Commerce ท่ีใช้อุปกรณ์พกพาไร้สายเป็ นเคร่ืองมือในการสั่งซ้ือ และขายสินคา้ ต่างๆ ท้งั การ ส่ังซ้ือสินคา้ ท่ีเป็ นรูปธรรม หรือนามธรรม รวมท้งั การรับ-ส่งอีเมล์ ส่ิงที่น่าสนใจ และเป็ นจุดท่ีน่า ศึกษา คือ โทรศพั ทเ์ คล่ือนสามารถพกพาไปไดท้ ุกท่ีไม่จากดั ทาใหต้ ลาดการคา้ ออนไลน์ หรือการ ทาธุรกรรมเชิงพาณิชยผ์ ่านโทรศพั ท์เคล่ือนที่ เป็ นตลาดที่น่ากลวั ท่ีสุด เพราะสะดวกสบาย ไม่มี ขอ้ จากดั ในการจบั จา่ ย และคนในสังคมไทยมีความคุน้ เคยกบั การ ใชโ้ ทรศพั ทเ์ คล่ือนท่ีอยแู่ ลว้ โดย M-Commerce เป็ นการแตกแขนงของเทคโนโลยีท่ีมีผลกระทบโดยตรงต่อการขยายตวั ของธุรกิจ พาณิชยอ์ ิเล็คทรอนิคส์ โดย M-Commerce จะช่วยเร่งอตั ราการเติบโตให้กบั การดาเนินธุรกรรมผา่ น เครือข่ายอิเล็คทรอนิคส์ไดเ้ ร็วกว่าการใช้เทคโนโลยี E-Commerce ขอบเขตของ M-Commerce 4 ที่มา http://believelove.exteen.com/20090308/m-commerce
21 ครอบคลุมท้งั การดาเนินธุรกรรมระหวา่ งผดู้ าเนินธุรกิจ กบั ผใู้ ชบ้ ริการโทรศพั ทเ์ คล่ือนที่ (Business to Customer หรือ B2C) และระหวา่ งผดู้ าเนินธุรกิจดว้ ยกนั เอง (Business to Business หรือ B2B 2.3.1จุดเด่นของ M-Commerce เน่ืองจากลกั ษณะของ M-Commerce ในเรื่องของความสามารถในการเคลื่อนยา้ ย และการ เขา้ ถึง ทาใหข้ อ้ จากดั ทางภูมิศาสตร์ และเวลาลดลง ส่งผลให้ M-Commerce มีจุดเด่นในดา้ นต่าง ๆ ดงั น้ี 1. ความแพร่หลายของเคร่ืองลูกข่าย หรือโทรศพั ท์เคลื่อนที่หาซ้ือไดง้ ่าย และใน ปัจจุบนั มีความแพร่หลายมากข้ึน ดว้ ยผลจากการแข่งขนั ระหว่างผใู้ ห้บริการ เครือข่าย รวมถึงแรงผลกั ดนั ของโทรศพั ทเ์ คลื่อนที่แบบพร้อมใช้ (เติมเงินได)้ ทาใหก้ ารซ้ือหาโทรศพั ทเ์ คลื่อนที่ทาไดง้ ่าย 2. ความสามารถในการติดตามตวั ไดเ้ สมอ ตราบใดที่ผูใ้ ชบ้ ริการเปิ ดเคร่ือง และอยู่ ในบริ เวณท่ีมีสัญญาณ การติ ดต่อส่ื อสารจากเครื อข่ายไปสู่ เครื่ อง โทรศพั ทเ์ คล่ือนท่ีจะทาไดเ้ สมอ ท้งั น้ีผใู้ ชบ้ ริการมีสิทธ์ิท่ีจะระงบั การติดตามตวั ไดใ้ นเวลาที่ตอ้ งการ เช่น ระงบั การโทรเขา้ ให้โทรศพั ท์เคลื่อนท่ีทาไดเ้ ฉพาะ การโทรออกเท่าน้นั 3. กระบวนการรักษาความปลอดภยั โทรศพั ทเ์ คลื่อนที่ในปัจจุบนั มี SIM การ์ด ซ่ึง ใช้เก็บขอ้ มูลส่วนตวั ที่สาคญั ของผูใ้ ช้บริการ พร้อมกบั การเขา้ รหัสขอ้ มูลไว้ หากตอ้ งมีการรับ-ส่งขอ้ มูลกบั ระบบเครือข่าย ตวั เครื่องโทรศพั ทเ์ คลื่อนที่จะมี ความสามารถในการเขา้ รหสั ขอ้ มูลต่าง ๆ ท่ีมีการใชง้ านดว้ ยรหสั ที่ไม่สามารถ ถอดออกโดยบุคคลท่ี 3 ได้ ตวั อย่างเช่น เคร่ืองโทรศพั ท์เคลื่อนที่ที่สนบั สนุน เทคโนโลยี WAP (Wireless Application Protocol) เป็นตน้ 4. ความสะดวกในการใชง้ าน เนื่องจากการออกแบบโทรศพั ทเ์ คลื่อนท่ีรุ่นใหม่ ๆ ใหม้ ีความสวยงาม และใชง้ านง่ายมากข้ึน ไม่วา่ จะเป็ นในส่วนของหนา้ จอ การ แสดงผล และการป้ อนขอ้ มูล รวมท้งั การเพ่ิมหน่วยความจาภายในตวั เคร่ืองให้ มากข้ึน ทาให้สามารถใชบ้ นั ทึกขอ้ มูลต่าง ๆ เช่น สมุดโทรศพั ท์ รายการนัด หมาย หรือรหสั ลบั ส่วนตวั ต่าง ๆ ไดม้ ากข้ึน
22 2.3.2 ลกั ษณะของ M-Commerce เนื่องจากจานวนผูใ้ ช้อุปกรณ์ส่ือสารไร้สายท่ีเพ่ิมข้ึนอย่างรวดเร็ว และค่าใช้จ่ายในการ เช่ือมต่ออินเทอร์เน็ต (Internet access) มีแนวโนม้ ท่ีจะลดลงอยา่ งต่อเน่ือง ทาให้เกิดแรงขบั ดนั ใน การทาธุรกรรมแบบไร้สายซ่ึงมีลกั ษณะสาคญั ดงั น้ี 1.ความสามารถเคลื่อนยา้ ย (Mobility) เป็ นจุดดึงดูดท่ีน่าสนใจ เนื่องจากระบบไร้ สายได้สนองตอบผู้บริ โภคด้านสารสนเทศจากแหล่งต่าง ๆ ท่ีเครื อข่าย อินเทอร์เน็ตสามารถเขา้ ถึง ทาให้ลูกคา้ สามารถเลือกซ้ือสินคา้ ไดท้ ุกหนทุกแห่ง โดยใชโ้ ทรศพั ทม์ ือถือท่ีพกพาไปกบั ผใู้ ชง้ าน 2. ความสามารถเขา้ ถึง (Reach ability) หมายถึง บุคคลสามารถติดต่อ ณ เวลาใด ๆ (At any time) ท่ีท่านสามารถกาหนดได้ 2.3.3 ปัจจยั สาคญั ท่ีผลกั ดนั ให้ M-Commerce ประสบความสาเร็จ นอกจากลกั ษณะ และจุดเด่นของ M-Commerce ท่ีเป็ นพ้ืนฐาน สาคญั ในการผลกั ดันให้การดาเนินธุรกรรมเชิงพาณิชย์ในรูปแบบของ M-Commerce เกิดข้ึนไดแ้ ลว้ ความกา้ วหนา้ อยา่ งรวดเร็วของเทคโนโลยีส่ือสารโทรคมนาคม ที่ช่วยให้ โทรศพั ทเ์ คล่ือนที่ในอนาคตอนั ใกลม้ ีขีดความสามารถเพิ่มเติมมากข้ึน จึงถือวา่ เป็ นปัจจยั สาคญั ท่ีช่วยให้ M-Commerce กา้ วผ่านอุปสรรคที่ขดั ขวางการเติบโตของกิจกรรม E- Commerce ซ่ึงสามารถสรุปไดเ้ ป็ น 3 ประการดงั น้ี 1.การใชป้ ระโยชน์จากขอ้ มูลตาแหน่งทอ้ งถิ่น เทคโนโลยี Location Based Service ซ่ึงเป็ นความก้าวหน้าอีกข้นั หน่ึงของเครือข่ายโทรศพั ท์เคล่ือนที่ จะทาให้ เครือข่ายทราบไดว้ า่ ผใู้ ชบ้ ริการแต่ละรายอยู่ ณ ท่ีแห่งใดไดต้ ลอดเวลา ทาให้ สามารถสร้างบริการ M-Commerce ท่ีสัมพนั ธ์กบั ตาแหน่งท่ีอยขู่ องผใู้ ชบ้ ริการ ไดอ้ ย่างอตั โนมตั ิ ซ่ึงส่ิงเหล่าน้ีไม่อาจเกิดข้ึนไดก้ บั การใช้เคร่ืองคอมพิวเตอร์ เพ่อื ทาธุรกรรมแบบ E-Commerce 2. สามารถเช่ือมตอ่ กบั เครือข่าย เพื่อติดต่อสื่อสารไดใ้ นทนั ที ดว้ ยความพร้อมของ เทคโนโลยกี ารรับส่งขอ้ มูลแบบใหม่ ๆ ในปัจจุบนั เช่น GPRS (Generic Packet Radio Service) ในเครือข่าย GSM ร่วมกบั เทคโนโลยี WAP ทาใหผ้ ใู้ ชบ้ ริการ สามารถติดต่อกบั แหล่งใหบ้ ริการ M-Commerce หรือบริการอินเตอร์เน็ตต่าง ๆ
23 ไดท้ นั ทีท่ีตอ้ งการ โดยไม่ตอ้ งเสียเวลารอการเช่ือมต่อวงจรใหเ้ รียบร้อยก่อนท่ี จะทาการสื่อสารได้ เหมือนดงั ในกรณีของการพ่ึงพาเทคโนโลยี WAP บน เครือข่าย GSM หรือการใช้คอมพิวเตอร์ทาธุรกรรมแบบ E-Commerce ซ่ึง ความสามารถแบบใหม่ของโทรศพั ท์เคลื่อนท่ีน้ีเอง ที่น่าจะตรงกบั พฤติกรรม การใชง้ านของมนุษยท์ ่ีสุด และน่าจะเป็ นหน่ึงในปัจจยั สาคญั ที่ผลกั ดนั ให้เกิด การเจริญเติบโตของกิจกรรม M-Commerce 3. การจดั การฐานขอ้ มูลส่วนบุคคล แมใ้ นปัจจุบนั เคร่ืองโทรศพั ทเ์ คลื่อนที่บางรุ่น จะมีความสามารถในการบนั ทึกขอ้ มูลบางอย่างของผูใ้ ช้บริการบา้ งแล้ว แต่ โทรศพั ทเ์ คลื่อนท่ีรุ่นใหม่ ๆ ท่ีมีหน่วยความจามาก และมีการใชเ้ ทคโนโลยกี าร พฒั นาโปรแกรมพเิ ศษ เช่น การใชโ้ ปรแกรมแบบ Java2ME น่าจะเป็ นจุดหกั เห ท่ีสาคญั สาหรับการเติบโตของกิจกรรม M-Commerce ตวั อยา่ งของขอ้ มูลที่เก็บ ไวใ้ นฐานข้อมูลส่วนบุคคลก็อาจจะเป็ น ความชอบส่วนตวั , เลขท่ีบตั ร ประจาตวั ท่ีสาคญั ต่าง ๆ, กีฬาท่ีชอบ ฯลฯ ซ่ึงหากผใู้ ชบ้ ริการอนุญาตใหม้ ีการ เปิ ดเผยกบั แหล่งใหบ้ ริการขอ้ มูล M-Commerce ก็จะทาใหเ้ กิดบริการรูปแบบ ใหม่ ๆ ท่ีน่าสนใจข้ึนอีกมากมาย รูปที่ 2.3 ตวั อยา่ งภาพ M-Commerce ( ที่มา : http://www.smethailandclub.com/upload/filecenter/mobile-commerce.jpg )
Search
Read the Text Version
- 1 - 17
Pages: