-1- . คมู่ ือการปฏิบตั งิ านการติดตั้งระบบอินเตอร์เนต็ บริษทั ทรัพยต์ าปี เทเลคอม นาย สัญชัญ อินปัญญา รหสั 6241050018 นาย สิทธิกร มะสวุ รรณ์ รหัส 6241050019 นางสาว สทุ ธิกานต์ รกั ษาเพชร 6241050020 สาขาเทคโนโลยอี เิ ล็กทรอนกิ ส์ วิทยาลัยเทคนิคสุราษฎร์ธานี สถาบันอาชีวศกึ ษาภาคใต้ 1
-2- สมรรถนะวิชาชีพ / รายวชิ า 20-4100-2303 ฝกึ ปฏบิ ตั งิ านเทคโนโลยพี ืน้ ฐาน 3(0-9-0) (Basic Technology Practice) สมรรถนะรายวิชา 1. ปฏิบัตงิ านเทคโนโลยพี ้ืนฐานได้ 2. ปฏิบตั ิงานเทคโนโลยเี ฉพาะสาขาวชิ าชพี ได้ 3. ปฏบิ ตั ิงานด้วยความรับผดิ ชอบจรรยาบรรณวชิ าชีพ คาอธบิ ายรายวชิ า ฝึกปฏิบัตงิ านอุตสาหกรรมพนื้ ฐานการใชเ้ คร่ืองมอื พ้ืนฐานเครอื่ งมือร่างแบบเครื่องมือวัด เบ้ืองต้นงานวางแบบช้ินงานการเล่อื ยการสกัดการลับดอกสว่านการเจาะการทาเกลียวด้วยมอื งาน ไฟฟา้ เบ้อื งตน้ งานเช่ือมโลหะเบ้อื งต้น 20-4105-2404 เทคโนโลยีเซนเซอร์และทรานสดวิ เซอร์ 3(0-9-0) (Sensors and Transducers Technology) สมรรถนะรายวิชา 1. ทดสอบการทางานของอุปกรณเ์ ซนเซอรแ์ ละทรานสดิวเตอร์ 2. ติดตงั้ ปรับแต่งอุปกรณ์เซนเซอร์และทรานสดวิ เตอร์ 3. บารุงรกั ษาอุปกรณ์เซนเซอร์และทรานสดิวเตอร์ 4. ประยกุ ตใ์ ช้งานอุปกรณ์เซนเซอรแ์ ละทรานสดวิ เตอร์ คาอธิบายรายวิชา ปฏิบัติเก่ียวกบั การทดสอบการทางานติดตัง้ ปรบั แต่งบารงุ รกั ษาอุปกรณ์เซนเซอรแ์ ละ ทรานสดวิ เซอรท์ ่ใี ช้ในการวัดและตรวจจบั อุณหภมู ิความดนั อตั ราการไหลระดับความหนาแน่น ความขึ้นความหนดื ความนาน้าหนักความเร็วแสงและเปลวไฟสวิตซ์และอ่ืน ๆ
-3- 20-4105-2501 โครงการพฒั นาทกั ษะวิชาชีพ 1 3 (0-9-0) (Development of Professional Skill Project 1) สมรรถนะรายวชิ า 1. การจัดทาโครงงานวิจัยท่เี ก่ยี วกับเทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนกิ ส์ 2. นาเสนอหัวข้อและหลักการการจัดทาโครงงานวจิ ัย 3. วเิ คราะหแ์ ละแก้ไขปญั หาผลจากการจดั ทาโครงงานวิจัย 4 รายงานผลการทาโครงงานวิจยั คาอธบิ ายรายวชิ า ปฏิบัติเก่ียวกบั การจัดทาโครงงานวิจัยการคน้ หาวิเคาระห์และนาเสนอหวั ขอ้ โครงงานวิจัย ท่เี กยี่ วกับเทคโนโลยอี เิ ล็กทรอนกิ สก์ ารนาเสนอหลักการการจัดทาโครงงานวิจัยดาเนินการจดั ทา โครงงานวิจัยตลอดจนวเิ คราะหแ์ ละแก้ไขปญั หาผลการดาเนินงานการจดั ทาโครงงานวิจัยรายงาน ผลการทาโครงงานวิจัยและปฏิบตั กิ ารจดั ทาโครงงานวจิ ัยด้วยความรบั ผดิ ชอบต่อจรรยาบรรณ วิชาชพี 24105-2601 การสือ่ สารโดยใชแ้ สง 3 (0-9-0) (Optical Communications) สมรรถนะรายวชิ า 1.เชื่อมต่อสายใยแก้วนาแสง 2. ประเมนิ งบประมาณในการเช่อื มโยงสญั ญาณระหวา่ งสถานี 3. ประยุกต์ใช้งานอปุ กรณ์การสอื่ สารโดยใช้แสง คาอธบิ ายรายวิชา ปฏบิ ตั ิเก่ียวกบั ทอ่ นาคลนื่ ไดอเิ ลค็ ตรคิ แบบทรงกระบอกและสภาพการเคลอื่ นที่ของคลื่น ชนดิ ของสายโยแก้วนาประเมินงบประมาณในการเช่ือมโยงระยะสงู สุดระหวา่ งสถานโี ดยพิจารณา จากคา่ ความสญู เสยี และค่าการกระจายออกพารามิเตอร์ในการส่งแสงหลกั การของเลเซอรเ์ ทคนคิ การมอดเู ลตเลเซอรด์ ว้ ยวิธีการปอ้ นสัญญาณเบสแบนด์ความถ่กี ลางหรือความถ่สี ูงตวั จบั แสงตวั ทวนสญั ญาณแบบสร้างสัญญาณขนึ้ มาใหม่การประยุกตอ์ ปุ กรณ์ทางแสง: อุปกรณแ์ ยกและรวม แสงเช่ือมโยงเลนส์การผลิตเสน้ ใยแกว้ นาแสงและกระบวนการผลติ สวติ ซ์ซึง่ ทางแสงคอนเซนเต เตอร์
-4- 20-4105-2602 การสอื่ สารไร้สายและเคลื่อนที่ 3 (0-9-0) (Wireless and Mobile Communications) สมรรถนะรายวิชา 1. ออกแบบระบบสื่อสารไรส้ ายและเคลื่อนท่ี 2. วิเคราะหร์ ะบบส่ือสารไรส้ ายและเคล่ือนท่ี 3. ประยกุ ตใ์ ชร้ ะบบการส่ือสารไรส้ ายและเคลื่อนท่ี คาอธิบายรายวิชา ปฏิบตั ิเก่ียวกับการออกแบบการวิเคราะห์และข้อ จากดั พ้ืนฐานของระบบการสอื่ สารไร้ สายช่องสญั ญาณและแบบจาลองระบบการเฟดดิ้งและไดเวอร์ซิต้ีการจดั การทรัพยากรและการ ควบคมุ กาลงั งานสายอากาศแบบมลั ตเิ ปลิ และระบบไมโมอลั กอรทิ ึมของการเข้ารหสั และถอดรหัส แบบสเปซเ์ ทคนคิ การเขา้ ถึงหลายทางและการตรวจจับผใู้ ช้งานหลายคนกระบวนการกอ่ นเข้ารหัส และการเข้ารหสั การกระจายสญั ญาณโครงข่ายเซลลูลารแ์ ละโครงขา่ ยแบบแอดออกโอเอ็ฟดีเอ็ม และระบบอลั ตร้าวายแบนด์ระบบการส่ือสารไร้สายแบบต่างๆ
-5- สารบัญ เร่อื ง หนา้ บทนา ขั้นตอนและการติดตั่งระบบอินเตอรเ์ นต็ 1 เคร่อื งมอื และอุปกรณ์ ขน้ั ตอนการสไปรทส์ ายไฟเบอร์ 1 ภาคผนวก 5 ภาคผนวก 01 9 13 14
-1- บทนา ในปัจจบุ ันโลกของเรามีการพฒั นาการด้านระบบเทคโนโลยีสาระสนเทศ ผคู้ น สว่ นใหญจ่ ึงมีความต้องการในการใช้งานอนิ เตอร์เน็ตเพ่อื ใชก้ ารศกึ ษา การ ตดิ ต่อส่ือสารและเพือ่ การใชง้ านในชีวิตประจาวัน คูม่ ือฉบบั น้ีมีขนั้ ตอนการตดิ ตง้ั ระบบอนิ เตอรเ์ น็ต รายละเอยี ดต่างๆของวสั ดุ อุปกรณแ์ ละหวังเป็นอยา่ งย่ิงว่าคมู่ ือฉบบั นี้เป็นประโยชน์ต่อผูอ้ ่านไม่มากกน็ อ้ ย ขั้นตอนการติดตง้ั ระบบอนิ เตอรเ์ นต็ ใชเ้ คร่อื งวดั ค่าแสงไฟเบอร์ขน้ึ วัดคา่ 1 สัญญาณทส่ี ปิตเตอร์L2 2 สไปรท์สายไฟเบอร์พรอ้ มใส่สลิปกบั ทอ่ หด พร้อมขน้ึ เสยี บเข้าในสปติ เตอร์L2
-2- ข้ันตอนการตดิ ตัง้ ระบบอนิ เตอรเ์ น็ต ตอกแผน่ เพลทเพ่อื บอกเลขรหสั ลกู ค้าและ 3 บ้านเลขท่ี 4 เดนิ สายจากสปิตเตอร์L2 ไปถงึ บา้ นลูกค้า 5 เดินสายภายในบา้ นของลูกค้า
-3- ข้นั ตอนการตดิ ต้งั ระบบอนิ เตอรเ์ น็ต 6 สไปรทส์ ายไฟเบอร์พร้อมใส่สลปิ กับทอ่ หด อีกด้านของฝ่งั ปลายสาย 7 วดั คา่ สญั ญาณฝ่ังปลายสาย 8 เสยี บปลายสายเขา้ โมเด็ม
-4- ข้นั ตอนการตดิ ต้งั ระบบอนิ เตอร์เน็ต 9 เซต็ โมเดม็ 10 นาโมเด็มไปตดิ ตัง่ ตามจุดทล่ี กู คา้ ตอ้ งการ
-5- เครือ่ งมอื และอปุ กรณ์ บันไดไมไ้ ผ่ บนั ไดเหลก็ Drop Wire Clamp HOOK BOLT Spen Clamp สายสญั ญาณ FTTH
-6- เครอื่ งมอื และอุปกรณ์ สายสัญญาณ FTTH สาเรจ็ รูป พร้อมหัวSC คอ้ น กิ๊ปตอกสาย เคร่ืองมือSplice สายFiber คมี ปอกสายไฟเบอร์ Stripper คีมปอกสายไฟเบอร์ Stripper ใช้ตดั ไฟเบอร์ชน้ั นอนสุด
-7- เครื่องมือและอุปกรณ์ optical fiber cleaver คมี ตดั optical fiber power meter สลปิ +ทอ่ หด แผน่ เพลท ตวั ตอกแผน่ เพลท
-8- เคร่อื งมอื และอปุ กรณ์ โมเดม็ โน๊ตบคุ๊ ล้อวดั ระยะทาง สวา่ น
-9- 1 ขั้นตอนการสไปรทส์ ายไฟเบอร์ เครือ่ งมือและอุปกรณ์
-10- ขน้ั ตอนการสไปรท์สายไฟเบอร์ 1. นาทอ่ หด+สลิปใสไ่ ปในสายไฟเบอร์ 2. ใชค้ ีมปอกสายไฟเบอร์ปอก สายไฟยาวประมาณ 3 นิ้ว 3. ใช้ตวั ตัดสายไฟเบอร์ (optical fiber cleaver) ตดั สายท่ไี มต่ อ้ งการออก
-11- ขั้นตอนการสไปรทส์ ายไฟเบอร์ 4. นาสายไฟเบอร์ท่ีทาเสร็จแลว้ มาใส่ในตวั เครอ่ื ง 5. นาสายไฟเบอร์แบบสาเร็จมาตดั แบบ ครึง่ แล้วทาแบบเดมิ แลว้ นามาใส่ในตวั เคร่อื ง
-12- ขน้ั ตอนการสไปรท์สายไฟเบอร์ 6. ถ้าการสไปรท์สาเรจ็ จะข้ึนในจอแบบ ในภาพถ้าไมส่ าเร็จตอ้ งทาใหม่ 7. เล่ือนสลปิ ท่ใี ส่ไว้มาหุ้มจดุ ที่ สไปรท์นามาใส่ตรงชอ่ งอบ 8. เลื่อนทอ่ หดมายังจุดท่อี บไว้แล้ว นาไฟแชค็ ลนทอ่ หดหุ้มท้งั 2 ฝ่ัง
-13- ภาคผนวก
-14- ภาคผนวก 01 การส่ือสารโดยใชแ้ สง (Optical Communications)
-15- สายใยแก้วนาแสง คอื อะไร สายใยแกว้ นาแสง หรอื เรยี กอีกช่อื หนึ่งวา่ สายไฟเบอร์ออฟติก ( Fiber Optic Cable ) คือสายสญั ญาณทผ่ี ลิต มาจากแกว้ และหุ้มดว้ ยใยพิเศษที่ป้องกันการกระแทกและฉนวน โดยมคี ุณสมบตั ิเหมือนเปน็ ท่อเพ่อื ส่งสญั ญาณ แสงจากต้นทางไปยังปลายทาง และมีอปุ กรณ์ทีต่ ้นทางและปลายทางทาหน้าที่แปลงสัญญาณแสงเป็นสญั ญาณ ข้อมูลเพ่ือนาไปใช้งาน สายใยแก้วนาแสงจะมีตน้ ทุนที่ตา่ มากและสง่ ข้อมูลได้เป็นปรมิ าณมากๆ ซึง่ ด้วย คุณสมบตั ิดงั กล่าวทาให้ถกู นามาใชเ้ พื่อส่งข้อมลู ในโครงข่ายคอมพิวเตอร์ (Network) และสือ่ สารข้อมลู เนือ่ งจากการส่งข้อมลู ผ่านสายไฟเบอรอ์ อฟตกิ ( Fiber Optic ) นน้ั สามารถส่งไดใ้ นระยะทางไกล และ สามารถส่งข้อมูลได้ในปริมาณท่ีสงู ตามขนาดของ Bandwidth ที่รองรับได้ อกี ท้ังยังไม่มีผลกระทบจาก คล่นื สญั ญาณรบกวนทางไฟฟ้าอีกด้วย จงึ ทาใหใ้ นปจั จบุ ันมีการนาสายใยแกว้ นาแสงมาใช้งานกนั อย่าง แพร่หลาย แทนสายชนิดเก่าทเ่ี ปน็ สายท่ีทาจากตัวนาชนิดทองแดงทมี่ รี าคาสูง สายใยแก้วนาแสงท่นี ยิ มใชก้ ันสามารถแยกได้ 2 ชนิดดังนี้ 1. ชนดิ Singlemode 2. ชนิด Multimode สายใยแกว้ นาแสง หรอื สายไฟเบอร์ออฟติกน้ันจะมีชนั้ ของแกว้ แยกออกเปน็ 2 สว่ น โดยส่วนของท่อแกว้ ดา้ น นอกเรยี กว่า Cladding และส่วนของท่อแก้วด้านในทเ่ี ปน็ ตัวลาเลียงส่งสญั ญาณเรียกวา่ Core ทอ่ แก้วช้ันที่ เป็น Cladding เปน็ ตวั ป้องกันสญั ญาณแสงไม่ใหว้ ่งิ ออกมาจากสว่ น Core ของสายใยแก้วนาแสง สาหรับ สายใยแก้วนาแสงทั้งสองชนิดข้างตน้ จะมีขนาดของ Cladding ทเ่ี ทา่ กนั โดยมีเส้นผา่ ศนู ย์กลางอยู่ท่ี 125 ไมครอนเมตร โดยมรี ายละเอียดดงั น้ี 1. ชนดิ Singlemode (SM) สาหรบั สายใยแกว้ นาแสงชนดิ น้ี จะมีเส้นผา่ ศูนยก์ ลางของ Core ขนาด 9 ไมครอนเมตร และ Cladding ขนาด 125 ไมครอนเมตร ตามลาดับ เม่ือ Core มีขนาดเลก็ มาก ทาให้ลาแสง เดนิ ทางค่อนข้างเป็นเส้นตรง และเกดิ การสูญเสยี น้อยลง จึงทาให้สามารถส่งข้อมลู จานวนมาก ๆ ได้อย่าง รวดเร็ว และสามารถส่งไปได้ไกลเป็นหลายสิบกิโลเมตร ซ่ึงจากข้อดีดงั กล่าว จงึ ทาใหน้ ิยมนามาใช้เป็นโครงข่าย เพ่อื เชื่อมต่อระหวา่ งสถานหี ลกั ของโครงข่ายส่ือสาร ซึ่งมีการเชือ่ มโครงข่ายกันระหวา่ งจงั หวดั หรือระหว่าง ภาค โดยความยาวคล่ืนแสงท่ีใชใ้ นการสง่ ข้อมูลจะส่งในช่วง 1300 นาโนเมตร (nm) หรอื 1500 นาโนเมตร (nm) 2. ชนดิ Multimode (MM) สาหรบั สายใยแกว้ นาแสงชนดิ นม้ี ีเสน้ ผ่าศูนย์กลางของ Core ขนาด 62.5 ไมครอนเมตร สาหรบั มาตรฐาน OM1 และขนาด 50 ไมครอนเมตรสาหรบั มาตรฐาน OM2, OM3 และ OM4 โดย สายใยแกว้ นาแสง Multimode ทงั้ หมดจะมี Cladding ขนาด 125
-16- ไมครอนเมตร และเนือ่ งจาก Core มีขนาด ใหญ่ ทาใหแ้ สงทเี่ ดินทางสามารถกระจดั กระจาย ทาให้แสงเกิด การหกั ล้างกัน และมีการสญู เสยี ของแสงมากกว่าสายใยแก้วนาแสงชนดิ Singlemode จึงทาให้สามารถสง่ ข้อมูลได้ในระยะทางทีส่ ้ันกวา่ โดยความยาวคลืน่ ทีใ่ ชใ้ นการสง่ ขอ้ มลู จะส่งในช่วง 850 นาโนเมตร (nm) หรอื 1300 นาโนเมตร (nm) ดงั นนั้ สายใยแก้วนาแสงชนิดนีส้ ว่ นใหญ่จะถูกนามาใช้ส่งสัญญาณภายในอาคารซึ่งมี ระยะไม่ไกล สายใยแก้วนาแสง หรอื สายไฟเบอรอ์ อฟตกิ (Fiber Optic cable) สามารถจาแนกตาม ลกั ษณะการใชง้ านไดอ้ ยา่ งไร 1. Tight Buffer เป็นสาย Fiber Optic สาหรบั เดินภายในอาคาร (Indoor) โดยมกี ารหมุ้ ฉนวนประเภท PVC หรือ LSZH อีกชน้ั หนง่ึ ให้มีความหนา 900 ไมครอนเมตร เพอ่ื ให้สะดวกใน การใช้งาน และชว่ ยป้องกนั สายใยแก้วนาแสงไม่ให้แตกหักในการติดต้งั โดยสายชนิดน้ีจะมีจานวน Core ของ สายใยแก้วนาแสงไม่มากนัก เชน่ 4, 6 หรือ 8 Cores นอกจากนย้ี ังมีสายท่ีใช้เช่ือมต่อภายในอาคารท่มี ีการเขา้ หัวคอนเนค็ เตอร์ (Fiber Connector) จานวน 1 Core หรือ 2 Cores ซ่ึงเราจะเรียกวา่ สาย Fiber Optic ท่ี เขา้ หัวคอนเน็คเตอรว์ ่า Fiber Optic Patch Cord ซ่งึ สาหรบั สาย Fiber Optic Patch Cord 1 Core จะนยิ ม เรียกว่าสาย Fiber Optic Patch Cord แบบ Simplex และสาหรับสาย 2 Cores จะนิยมเรยี กว่าสาย Fiber Optic Patch Cord แบบ Duplex 2. Loose Tube เป็นสาย Fiber Optic ที่ออกแบบมาใช้สาหรับเดนิ ภายนอกอาคาร (Outdoor) โดย จะมโี ครงสร้างของเปลือกหุ้มสายภายนอกทแี่ ข็งแรงทนต่อสภาพแวดล้อม และจะมีการใส่เยลกันน้าเข้าไป เพื่อ ปอ้ งกันน้าซึมเข้าไปภายในสาย นอกจากนี้ยังสามารถจาแนกสายแบบ Outdoor ตามลักษณะการใชง้ านย่อย ลงไปได้อีกดังน้ี 2.1 Duct Cable เป็นสาย Fiber Optic แบบรอ้ ยท่อ เป็นสายทใี่ ชส้ าหรบั ติดตั้งในท่อConduit 2.2 Direct Burial เปน็ สาย Fiber Optic ท่ีออกแบบมาให้สามารถใชฝ้ ังดนิ ได้ โดยไม่จาเป็นต้องร้อยท่อ โดย โครงสร้างของสายจะมสี ่วนของ Steel Armored ท่ชี ่วยเป็นเกราะป้องกนั และเพ่มิ ความแขง็ แรงให้กับสาย 2.3 Figure 8 เปน็ สาย Fiber Optic ที่ใช้ในการแขวนบนอากาศโดยโยงระหว่างเสาแต่ละตน้ โดยจะมีสว่ นท่ี เปน็ ลวดสลิงทาหน้าท่รี บั แรงดงึ และประคองสาย จงึ ทาใหส้ ายมรี ปู ร่างหนา้ ตัดคลา้ ยเลข 8 จึงเรียกว่า Figure 8 2.4 ADSS (All Dielectric Self Support) เป็นสาย Fiber Optic ทส่ี ามารถใช้แขวนบนอากาศโดยโยง ระหว่างเสาแตล่ ะต้นได้ โดยไมจ่ าเปน็ ตอ้ งใชล้ วดสลิงชว่ ย เน่ืองจากโครงสร้างของสายประเภทน้ไี ด้ถูกออกแบบ
-17- ให้สามารถช่วยประคองสายได้ดว้ ยตวั ของสายเอง และยงั เป็นสายที่ไม่มีส่วนทีน่ าไฟฟา้ ได้ ดังนัน้ จงึ ทาให้มี ความปลอดภยั ในกรณที จี่ าเป็นต้องนาไปติดตง้ั ใกล้กับสายไฟฟา้ 3. สายแบบ Indoor/Outdoor เปน็ สาย Fiber Optic ท่สี ามารถใช้ได้ในกรณีทจ่ี าเปน็ ต้องเดนิ สายท้งั ภายนอก และภายในอาคาร ซงึ่ คุณสมบัตพิ ิเศษทเ่ี พิม่ มาในสายชนิดน้เี รียกว่า Low Smoke Zero Halogen (LSZH) ดงั นน้ั เมื่อเกดิ อัคคภี ยั ขนึ้ สายชนดิ นจ้ี ะก่อใหเ้ กิดควันน้อย และควันไมเ่ ปน็ พษิ เมื่อเทียบกบั Jacket ของสายชนดิ อ่ืน ท่ีจะก่อให้เกิดควนั และเปน็ มลพษิ สินคา้ ประเภทสายไฟเบอรอ์ อฟติกหรือ สายใยแก้วนา้ แสงของเราน้นั มีให้เลือกมากมายและมหี ลากหลาย ประเภทเพ่ือใหเ้ หมาะกบั คุณ โดยสามารถเลือกชนิดของหัวและความยาวของสายได้ เพื่อความสะดวกสบายใน แตล่ ะพน้ื ท่ี หากไมม่ ่ันใจว่าต้องใช้สายอย่างไรประเภทไหน สามารถตดิ ต่อผา่ นทางเบอร์โทรของเรา หรือ เลอื ก Fiber optic cable ผ่านทางเวป็ ไซต์ได้ทนั ที แลว้ เราจะมเี จ้าหน้าท่ีตดิ ต่อกลับไป
-18- ประวตั ิผูจ้ ดั ทา ผจู้ ดั ทา : นายสญั ชญั อนิ ปญั ญา : นายสทิ ธกิ ร มะสุวรรณ์ : นางสาว สุทธิกานต์ รักษาเพชร หลักสตู ร : สาขาวชิ าเทคโนโลยีอิเล็กทรอนกิ ส์ ประวิตการทางาน ปี พ.ศ. 2562 ตาแหนง่ ช่างตดิ ตัง่ อินเตอรเ์ นต็ หนา้ ที่ 1.ตดิ ตงั่ ระบบอินเตอรเ์ น็ตของทรู ช่อื สถานประกอบการ (ปจั จุบัน) : บรษิ ทั ทรัพย์ตาปี เทเลคอม สถานทต่ี ิดต่อ 88/80 ซ.ศรวี ชิ ยั 16 อ.เมือง จ.สุราษฎรธ์ านี 84000
Search
Read the Text Version
- 1 - 23
Pages: