Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore pansa

pansa

Published by pramahatongsuk, 2018-07-04 04:38:55

Description: pansa

Search

Read the Text Version

เนือ่ งในวันอาสาฬหบชู า ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๕๖และวันเข้าพรรษาพระสงฆ์ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๕๖ ขออนุโมทนาบุญกับท่านผู้บรหิ าร คุณครแู ละนกั เรียนทกุ ทา่ น พระครูสธุ ีวรสาร ดร.

เจาคัณฑีสถูป สถานทพี่ ระพุทธเจา้ พบปญั จวัคคีย์ทัง้ ๕ อย่หู ่างป่าอิสิปตนะ ๑ กม.สงู ๗๔ ฟุตตอ่ มา พ.ศ.๒๐๓๑ พระเจา้ อกั บาร์ซ่อมแซมเปน็ รปู ๖ เหลี่ยม อนุสรณพ์ ระเจา้ หะมายนุ พระครูสธุ ีวรสาร ดร.

ธมั เมกขสถูป สถานท่ีพระพทุ ธเจา้ ทรงแสดงธมั มจักกัปปวัตตนสูตร ไมค่ วรหมกมุ่นติดอย่ใู นกามคุณไม่ควรทรมานตน จิงจงั กบั สิ่งที่ไม่จรี ัง จนเกิดทกุ ขห์ าสุขไม่ได้ พระครูสธุ ีวรสาร ดร.

วันอาสาฬหบชู า ต ร ง กั บ วั น ขึ้ น ๑ ๕ คา่ เ ดื อ น ๘• วันข้ึน ๑๕ ค่า เดอื น ๘ เปน็ วันทพี่ ระพทุ ธองคท์ รงแสดงธรรมหรือ หลักธรรมทท่ี รงตรสั รู้ เป็นคร้ังแรกแกเ่ บญจวัคคยี ท์ ้ัง ๕ ณ มฤคทายวนั ตา่ บลอิสิปตนะ เมืองพาราณสี ในชมพูทวีปสมัยโบราณ• ธรรมเทศนาท่ที รงแสดงคร้ังแรกจงึ ได้ช่อื ว่า ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร แปลวา่ พระสูตรแหง่ การหมนุ วงล้อธรรม หรือพระสูตรแหง่ การแผ่ ขยายธรรมจักร กลา่ วคอื ดนิ แดนแห่งธรรม พระครูสธุ ีวรสาร ดร.

ใจความ สาคญั ของปฐมเทศนาก. มัชฌมิ าปฏปิ ทาหรอื ทางสายกลาง เป็นขอ้ ปฏบิ ตั ทิ ี่เปน็ กลาง ๆ ถกู ตอ้ งและเหมาะสมทีจ่ ะใหบ้ รรลุถึงจุดหมายได้ มใิ ชก่ ารดา่ เนนิ ชวี ติ ท่ีเอยี งสดุ ๒ อยา่ ง หรอื อย่างหน่ึงอยา่ งใด คือ๑. การหมกมนุ่ ในความสุขทางกาย มวั เมาในรปู รส กลนิ่ เสียง เปน็ การหลง เพลิดเพลินหมกม่นุ ในกามสขุ หรือ กามสขุ ัลลิกานโุ ยค๒. การสรา้ งความล่าบากแกต่ นด่าเนินชวี ติ อย่างเลอื่ นลอย เชน่ บา่ เพ็ญตบะการ ทรมานตน คอยพง่ึ อ่านาจสิง่ ศักดส์ิ ทิ ธ์ิ เปน็ ตน้ การด่าเนินชวี ติ แบบทีก่ อ่ ความทุกข์ใหต้ นเหน่ือยแรงกาย แรงสมอง แรงความคิด รวมเรยี กว่า อตั ตกิ ลมถานุโยค พระครูสธุ ีวรสาร ดร.

• เพือ่ ละเว้นห่างจากการปฏิบัติทางสดุ เหล่านี้ ตอ้ งใชท้ างสาย กลาง เป็นการด่าเนนิ ชีวิตด้วยปญั ญา โดยมีหลัก ๘ ประการ เรยี กว่า อรยิ ัฏฐงั คิกมคั ค์ หรือ มรรคมอี งค์ ๘ ได้แก่๑. สมั มาทิฏฐิ เห็นชอบ คอื รู้เขา้ ใจถูกตอ้ ง เห็นตามทีเ่ ปน็ จริง๒. สมั มาสังกปั ปะ ดา่ ริชอบ คือ คดิ สุจริตต้งั ใจท่าสง่ิ ท่ดี งี าม๓. สัมมาวาจา เจรจาชอบ คือ กล่าวค่าสจุ ริต๔. สมั มากมั มนั ตะ กระท่าชอบ คือ ทา่ การท่ีสจุ ริต พระครูสธุ ีวรสาร ดร.

๕. สัมมาอาชวี ะ อาชีพชอบ คอื ประกอบสัมมาชพี หรืออาชีพท่ี สุจริต๖. สัมมาวายามะ พยายามชอบ คือ เพยี รละช่ัวบา่ เพญ็ ดี๗. สัมมาสติ ระลึกชอบ คือ ท่าการดว้ ยจิตสา่ นึกเสมอ ไม่เผลอพลาด๘. สมั มาสมาธิ ตงั้ จติ มัน่ ชอบ คือ คมุ จติ ให้แน่วแนม่ ่นั คงไม่ฟงุ้ ซา่ น พระครูสธุ ีวรสาร ดร.

ข. อรยิ สัจ ๔ แปลว่า ความจรงิ อนั ประเสริฐของอรยิ ะ ซงึ คอื บคุ คลทีหา่ งไกลจากกเิ ลส ไดแ้ ก่๑. ทกุ ข์ ไดแ้ ก่ ปัญหาทงั้ หลายท่ีเกดิ ข้นึ กบั มนษุ ย์ บุคคลตอ้ ง กา่ หนดรู้ให้เทา่ ทันตามความเปน็ จรงิ วา่ มันคืออะไร ตอ้ ง ยอมรบั รู้กล้าสู้กับปญั หา กล้าเผชิญความจริง ตอ้ งเข้าใจใน สภาวะโลกวา่ ทกุ สงิ่ ไมเ่ ทีย่ ง มีการเปลยี่ นแปลงไปเป็นอยา่ ง อ่ืน ไมย่ ึดติด พระครูสธุ ีวรสาร ดร.

๒. สมทุ ัย ไดแ้ ก่ เหตุเกิดแห่งทกุ ข์ หรอื สาเหตขุ องปญั หา ตวั การสา่ คัญของทุกข์ คือ ตณั หาหรอื เส้นเชอื กแหง่ ความ อยากซึ่งสมั พนั ธ์กับปัจจัยอน่ื ๆ๓. นิโรธ ได้แก่ ความดบั ทกุ ข์ เร่มิ ดว้ ยชีวิตท่อี สิ ระ อยู่อย่าง รูเ้ ทา่ ทันโลกและชวี ติ ดา่ เนนิ ชวี ิตดว้ ยการใชป้ ัญญา๔. มรรค ไดแ้ ก่ กระบวนวธิ ีการแก้ปญั หา อันไดแ้ ก่ มรรคมี องค์ ๘ ประการดงั กล่าวข้างตน้ พระครูสธุ ีวรสาร ดร.

ผลจากการ แ ส ด ง ป ฐ ม เท ศ น าปรากฏวา่ โกณฑญั ญะได้เกิดเข้าใจธรรม เกิดดวงตาในธรรมจักษุบรรลุเป็นโสดาบันจึ ง ทู ล ข อ บ ร ร พ ช า แ ล ะ ถื อ เ ป็ นพ ร ะ ภิ ก ษุ ส า ว ก รู ป แ ร ก ใ นพระพุทธศาสนามีช่อื วา่ อัญญาโกณฑญั ญะ พระครูสธุ ีวรสาร ดร.

ความหมายของอาสาฬหบูชา (อา-สาน-หะ-บ-ู ชา/อา-สาน-ละ-หะ-บ-ู ชา)• การบูชาเพื่อระลกึ ถงึ เหตกุ ารณ์สา่ คัญในเดือน ๘ หรือเรียกให้ เตม็ วา่ อาสาฬหบรู ณมบี ชู า• โดยสรปุ วันอาสาฬหบชู า แปลวา่ การบูชาในวันเพ็ญ เดอื น ๘ พระครูสธุ ีวรสาร ดร.

วนั เขา้ พรรษา ตรงกับวันแรม ๑ ค่าเดอื น ๘• \"เขา้ พรรษา\" แปลว่า \"พกั ฝน\" หมายถึง พระภิกษสุ งฆ์ตอ้ ง อยู่ประจ่า ณ วัดใดวัดหนึง่ ระหว่างฤดูฝน• โดยทพ่ี ระภิกษใุ นสมัยพทุ ธกาล มีหนา้ ทจ่ี ะตอ้ งจารกิ โปรด สัตว์ และเผยแผพ่ ระธรรมคา่ สงั่ สอนแก่ประชาชนไปในท่ี ต่าง ๆ ไม่จา่ เป็นต้องมที ่ีอยู่ประจ่า แม้ในฤดฝู น พระครูสธุ ีวรสาร ดร.

• ชาวบ้านจึงตา่ หนวิ า่ ไปเหยียบข้าวกล้าและพชื อื่นๆ จน เสยี หาย• พระพทุ ธเจา้ จึงทรงวางระเบยี บการจา่ พรรษาใหพ้ ระภิกษุ อยูป่ ระจ่าท่ีตลอด ๓ เดอื น ในฤดฝู น คือ• เร่ิมตัง้ แตว่ ันแรม ๑ ค่า เดือน ๘ ของทุกปี ถ้าปใี ดมีเดอื น ๘ สองครง้ั กเ็ ลอ่ื นมาเป็นวันแรม ๑ ค่า เดือนแปดหลงั และ ออกพรรษาในวนั ข้ึน ๑๕ ค่า เดอื น ๑๑ พระครูสธุ ีวรสาร ดร.

ผา้ นอกจากบริขารแปด• \"ผา้ อาบน้่าฝน\" คือผ้าส่าหรับอธิษฐานไว้ใช้นงุ่ อาบนา่้ ฝน ตลอด ๔ เดือนแหง่ ฤดฝู น เรียกอกี อยา่ งว่า \"ผา้ วัสสกิ สาฏกิ า\"• \"ผ้าจา่ นา่ พรรษา\" คือผ้าทท่ี ายกถวายแก่พระสงฆ์ผ้อู ยู่จ่า พรรษาครบแล้วในวดั น้ัน ภายในเขตจีวรกาลเรียกอีกอยา่ ง วา่ \"ผ้าวัสสาวาสกิ สาฎกิ า\" พระครูสธุ ีวรสาร ดร.

การปฏบิ ตั ติ นของชาวพทุ ธ• การปฏบิ ัตติ น ในวันนหี้ รือก่อนวันน้ีหนึ่งวนั พทุ ธศาสนกิ ชนมกั จะ จดั เคร่อื งสกั การะเชน่ ดอกไม้ ธูปเทยี น เครอ่ื งใช้ เชน่ สบู่ ยาสฟี ัน เป็นตน้ มาถวายพระภิกษุ สามเณร ทต่ี นเคารพนับถอื• ท่สี า่ คัญคือ มปี ระเพณหี ลอ่ เทียนขนาดใหญ่เพื่อให้จดุ บูชาพระ ประธานในวัดอยู่ไดต้ ลอด ๓ เดอื น• มกี ารประกวดเทียนพรรษา โดยจดั เป็นขบวนแห่ท้ังทางบกและ ทางน้า่ ในชุมชนท่ีมีความพร้อม พระครูสธุ ีวรสาร ดร.

กจิ กรรมตา่ งๆท่คี วรปฏบิ ัตใิ นวันเขา้ พรรษา๑. ร่วมกิจกรรมทา่ เทยี นเพือ่ จุดบชู าพระให้แสงสวา่ งในพรรษา๒. รว่ มพิธีเวยี นเทยี นเนอื่ งในวนั อาสาฬหบูชา๓. ร่วมกจิ กรรมถวายผา้ อาบน้่าฝน และจตุปจั จัย แกภ่ ิกษสุ ามเณร๔. ร่วมทา่ บุญ ตักบาตร ฟังธรรมเทศนา รักษาอุโบสถศลี๕. อธษิ ฐาน งดเวน้ อบายมขุ ตา่ ง ๆ๖. ละชว่ั ท่าดี สร้างประโยชน์ให้สมบรู ณ์ทัง้ แก่ตนและคนอ่นื พระครูสธุ ีวรสาร ดร.

ขอความสขุ สวัสดี จงมีแดท่ ุกท่านตลอดกาลนาน พระครูสธุ ีวรสาร ดร.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook