การเตะฟุตบอล ท่ถี กู วิธี นายภาคิน ตอจับตน สาขาการศึกษาพิเศษ รหสั นักศึกษา:62040108107
แผนการจัดการเรียนรพู้ ลศึกษา สัปดาห์ท่ี 7 คาบที่ 2 โรงเรียน สาธิตจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัยฝา่ ยมัธยม ภาค ต้น ปีการศกึ ษา 2559 รายวิชา พลศกึ ษา1 (ฟตุ บอล) ระดับช้ัน มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 เรื่อง การสง่ ลูกด้วยข้างเท้าด้านใน วัน-เวลา วนั องั คารท่ี 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 (09.20 น. – 11.10 น.) นกั เรียนช้ัน ม.1/1,3 จานวน 34 คน (12.00 น. – 13.40 น.) นกั เรยี นชัน้ ม.1/4,6 จานวน 38 คน วนั พฤหัสบดที ี่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 (12.00 น. – 13.40 น.) นกั เรียนชน้ั ม.1/5,7 จานวน 34 คน อาจารย์นสิ ิตฝกึ สอน อ.เอกภพ สุรยิ เลศิ รตั น์ อาจารย์นเิ ทศกส์ ถานศึกษา อ.ศภุ ฤกษ์ มนั่ ใจตน สาระท่ี 3 การเคลอื่ นไหว การออกกาลงั กาย การเล่นเกม กฬี าไทย และกีฬาสากล มาตรฐาน พ 3.1 เขา้ ใจ มที ักษะการเคลอื่ นไหวกจิ กรรมทางกาย การเล่นเกม และกฬี า ตัวชี้วัดชน้ั ปี 1.นาผลการปฏิบัติตนเกี่ยวกับทกั ษะกลไก และทกั ษะการเคลอื่ นไหวในการเลน่ กฬี าจาก แหลง่ ข้อมลู ทีห่ ลากหลายมาสรุปเปน็ วิธีทีเ่ หมาะสมในบริบทของตนเอง 2.เลน่ กีฬาไทยและกฬี าสากล ท้งั ประเภทบุคคลและทมี อย่างละ 1 ชนิดกฬี า 3.เปรยี บเทียบประสทิ ธิภาพของรูปแบบการเคลอื่ นไหวทส่ี ง่ ผลตอ่ การเลน่ กีฬาและกจิ กรรมใน ชีวิตประจาวัน 4.รว่ มกจิ กรรมนันทนาการอย่างนอ้ ย 1 กจิ กรรม และนาความรแู้ ละหลกั การท่ีได้ไปปรบั ใช้ใน ชวี ติ ประจาวันอยา่ งเปน็ ระบบ มาตรฐาน พ 3.2 รักการออกกาลงั กาย การเลน่ เกม และการเล่นกีฬา ปฏิบัตเิ ป็นประจาอย่างสม่าเสมอ มีวินัย เคารพสทิ ธิ กฎ กติกา มนี า้ ใจนกั กีฬา มจี ิตวิญญาณในการแขง่ ขันและชืน่ ชมในสนุ ทรภี าพของกฬี า ตัวช้วี ัดชัน้ ปี 1.อธบิ ายสาเหตกุ ารเปลย่ี นแปลงทางกาย จิตใจ อารมณ์ สงั คม และสติปัญญาทเี่ กดิ จากการออก กาลงั กาย และเล่นกีฬาเปน็ ประจาจนเปน็ วถิ ีชวี ิต 2.เลือกเขา้ ร่วมกจิ กรรมออกกาลังกาย เลน่ กฬี าตามความถนัด ความสนใจ พรอ้ มทง้ั วิเคราะห์ ความแตกต่างระหว่างบคุ คลเพ่ือเปน็ แนวทางในการพฒั นาตนเอง 3.มีวินยั ปฏบิ ัตติ ามกฎ กตกิ า และข้อตกลงในการเล่นกฬี าทเี่ ลอื ก 4.วางแผนการรกุ และปอ้ งกันในการเลน่ กีฬาที่เลือกและนาไปใชใ้ นการเล่นอยา่ งเหมาะสมกบั ที 5.นาผลการปฏิบตั ใิ นการเล่นกีฬามาสรปุ เปน็ วิธีท่ีเหมาะสมกับตนเองดว้ ยความมุ่งม่นั
สาระท่ี 4 การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ สมรรถภาพและการป้องกนั โรค มาตรฐาน พ 4.1 เหน็ คณุ คา่ และมที กั ษะในการสร้างเสรมิ สขุ ภาพ การดารงสขุ ภาพ การป้องกันโรคและสร้าง เสริมสมรรถภาพเพอ่ื สุขภาพ ตวั ชีว้ ดั ชนั้ ปี 1.เลือกใชบ้ ริการสขุ ภาพอย่างมีเหตุผล 2.วเิ คราะห์ผลของการใช้เทคโนโลยที มี่ ีตอ่ สุขภาพ 3.วิเคราะห์ความเจรญิ ก้าวหน้าทางการแพทยท์ ี่มผี ลตอ่ สขุ ภาพ 4.วเิ คราะห์ความสมั พันธ์ของภาวะความสมดลุ ระหวา่ งสุขภาพทางกายและสุขภาพทางจติ 5.อธิบายลกั ษณะอาการเบ้อื งต้นของผ้มู ปี ญั หาสุขภาพจิต 6.เสนอแนะวิธีปฏบิ ัติตนเพอื่ จดั การกบั อารมณแ์ ละความเครียด 7.พัฒนาสมรรถภาพทางการตนเองใหเ้ ป็นไปตามเกณฑ์ทกี่ าหนด สาระสาคญั การส่งบอลเป็นสงิ่ ทส่ี าคญั อย่างหนงึ่ ของกฬี าฟตุ บอล ซ่งึ เปน็ ทกั ษะขน้ั พื้นฐานทสี่ าคญั ซงึ่ มีเหตุผล หลายประการทจี่ ะใชก้ ารสง่ บอลไม่ว่าจะเป็น การทาใหบ้ อลอยูใ่ นการครอบครองของทีม การเคลียรบ์ อลออก จากพื้นที่อนั ตราย การสง่ เพอ่ื เปิดโอกาสในการทาประตูค่แู ขง่ เป็นต้น ดงั น้นั ผเู้ รียนควรฝกึ ฝนการสง่ ลกู ใน ลกั ษณะตา่ งๆจะเกดิ ความชานาญ ท่สี ามารถนาไปสกู่ ารฝกึ ของกฬี าฟุตบอลไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. นักเรยี นสามารถอธิบายเกี่ยวกบั ทักษะการสง่ ลูกดว้ ยขา้ งเท้าด้านในได้อย่างถูกต้อง (IQ) 2. นักเรียนสามารถปฏบิ ตั แิ บบฝกึ ทกั ษะการสง่ ลูกด้วยขา้ งเทา้ ดา้ นใน ติดตอ่ กนั 30 ครั้ง ขึ้นไป (SQ) 3. นักเรยี นสามารถวงิ่ รอบสนามฟุตบอล จานวน 1 รอบ เพ่อื เสรมิ สรา้ งความทนทาน ของกล้ามเนอ้ื สว่ นขา (PQ) 4. นักเรยี นมีน้าใจ ชว่ ยเหลือ ใหค้ าแนะนา เมอื่ สมาชกิ ในหอ้ งทปี่ ฏิบัติทกั ษะการส่งลกู ดว้ ยขา้ งเท้าด้านในฟุตบอลที่ไม่ถกู ต้อง (MQ) 5. นกั เรยี นมคี วามกระตือรือรน้ ยมิ้ แยม้ แจ่มใส ในขณะท่ีเรียน และฝกึ ปฏบิ ตั ทิ ักษะ การสง่ ลกู ด้วยขา้ งเทา้ ดา้ นในดว้ ยความตั้งใจ (AQ)
ผลการเรยี นรทู้ ่คี าดหวัง รอ้ ยละนกั เรียน 80 ของนกั เรยี นท้งั หมด สามารถปฏิบตั ิทกั ษะกีฬาฟตุ บอล ในเรอื่ งของการส่งลกู ด้วย ขา้ งเทา้ ด้านใน ได้ตามจุดประสงค์การเรยี นร้ไู ด้ และสามารถนาความรแู้ ละทกั ษะ ทไ่ี ดจ้ ากการฝกึ ปฏิบตั ิไปเปน็ พืน้ ฐานของกีฬาที่มคี วามสนใจทจ่ี ะปฏิบตั ิและนาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจาวันได้ กระบวนการจดั การเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ผลลัพธก์ ารเรยี นรู้ การสรา้ งความคุ้นเคยกับลกู ฟุตบอล ขนั้ เตรียม /การอบอุ่นรา่ งกาย ( 5 นาที ) - การอบอุ่นรา่ งกายและ - ใหน้ กั เรยี นจดั แถวตอน 4 แถว โดยแยกตามสี กายบรหิ ารทาใหร้ า่ งกาย ครูสารวจรายชอื่ เครือ่ งแต่งกาย และสอบถาม ของนักเรียนมีความพร้อม สุขภาพรา่ งกายของนกั เรยี นทกุ คน ทีจ่ ะดาเนินกิจกรรมต่างๆ ในการเรียนการสอนได้ อย่างปลอดภยั และไมเ่ กดิ การบาดเจบ็ การสง่ ลกู บอลดว้ ยขา้ งเท้าดา้ นใน หรือ การสง่ ลูกแป - นักเรยี นมีระเบียบวินัย ในการจัดแถว(MQ) คอื เท้าท่เี ตะลูกบอลจะเหยยี ดและแบะ ออก เปน็ การใชเ้ ท้าส่วนท่ีกวา้ งทสี่ ดุ ในการ = ครู เตะหรอื สมั ผสั ลกู บอล ซึ่งจะทาให้การเตะ = นักเรยี น ลกู บอลมคี วามแมน่ ยา เรว็ แรง และมี - อบอนุ่ ร่างกาย ( Warm – up ) ประสิทธิภาพ ในการแข่งขนั ฟุตบอลแตล่ ะ - ครนู ายืดกลา้ มเน้ือในท่าต่างๆดงั น้ี คร้ัง ลูกบอลจะมกี ารเคลือ่ นทป่ี ระมาณ 60- 1. ยืดกลา้ มเน้ือและขอ้ ตอ่ ที่คอ 80% และจะมาจากการหยดุ หรือเตะดว้ ย 2. ยดื กลา้ มเนอ้ื หลงั ส่วนบน ข้างเท้าด้านใน การทีจ่ ะทาใหเ้ กดิ ความ 3. การยดื กลา้ มเนอ้ื หัวไหล่ ชานาญและมีประสทิ ธภิ าพสงู สุด 4. การยดื กล้ามเนอ้ื หน้าทอ้ ง จึงต้องมีการฝีกหัดอยา่ งสมา่ เสมอ 5. การยดื กลา้ มเนอื้ หลังและสะโพก 6. การยืดกล้ามเนอ้ื ขาด้านหลงั และหลงั ส่วนล่าง 7. การยืดกล้ามเนอ้ื หน้าขา
สาระการเรยี นรู้ กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ผลลัพธ์การเรยี นรู้ 8. การยดื กลา้ มเนอื้ หนา้ ข้อสะโพก 9. การยืดตน้ ขาด้านใน 10. การยืดหลังดา้ นข้าง ข้นั ตอนการสง่ ลูกบอลด้วยข้างเท้าดา้ นใน ขัน้ เสริมสรา้ งสมรรถภาพทางกาย -นักเรียนมสี มรรถภาพ หรอื การส่งลกู แป - ครูใหน้ ักเรยี นวง่ิ รอบสนามฟตุ บอล ทางกายทีด่ ี (PQ) จานวน 1 รอบ เพือ่ เสริมสร้างความทนทาน 1.ตาจ้องดลู ูกบอล พรอ้ มกบั เปา้ หมายที่จะ ของกล้ามเนือ้ ส่วนขา - นกั เรียนอธบิ าย สง่ ความสาคัญและวิธีการสง่ 2.ปลายเท้าหลกั ชี้ไปหาเปา้ หมายที่เราจะส่ง ข้ันอธบิ ายและสาธิต ( 5 นาที ) ลูกบอลดว้ ยขา้ งเท้าดา้ น 3.หนั ปลายเทา้ ท่จี ะใชส้ ง่ ออกด้านนอกใน 1. ครูอธบิ ายถึงวิธีการสรา้ งความคนุ้ เคย ใน ได้อย่างถูกต้อง (IQ) ลักษณะตงั้ ได้ฉากกบั ขาหลกั อีกข้างหนึง่ กบั ลกู ฟุตบอลโดยการการสง่ ลกู บอลดว้ ย 4.ใช้ขา้ งเท้าดา้ นในขา้ งทจี่ ะสง่ ลกู สมั ผสั ตรง ข้างเท้าด้านใน บรเิ วณกลางลูกบอล ในขณะเดียวกันนน้ั ให้ 2. ครอู ธิบายถงึ ทา่ ทางทถี่ กู ต้องในการส่งลูกบอล เหวี่ยงเท้าจากดา้ นหลังมากระแทกลกู บอล ด้วยขา้ งเท้าดา้ นใน แล้วส่งลกู ออกไป 3. ครสู าธิตการสง่ ลูกบอลด้วยข้างเทา้ ดา้ นใน 5.อยา่ ส่งลูกบอลแรงหรอื เบาเกินไป ให้นกั เรยี นดู ต้องฝึกจนสามารถกาหนดความแรง ของลูกบอลเองได้ ข้ันฝกึ หดั ทกั ษะ ( 20 นาที ) เพราะลกู แปเป็นวธิ กี ารสง่ ทีแ่ ม่นยาทสี่ ดุ 1. ครูใหน้ กั เรยี นลองฝกึ ทา่ ทางในการยนื กอ่ น การสง่ ลกู บอลด้วยข้างเทา้ ด้านใน 2. ครูให้นักเรยี นฝกึ การสง่ ลูกบอลด้วยข้างเทา้ ดา้ นใน สง่ ไป-มาเปน็ คู่ - ครใู ห้นักเรียนจับคู่ฝกึ สง่ ลกู ด้วยขา้ งเทา้ ดา้ นในสองจงั หวะ - ครูใหน้ ักเรยี นจับคฝู่ กึ สง่ ลกู ด้วยข้างเท้า ดา้ นใน จังหวะเดียว
สาระการเรยี นรู้ กระบวนการจดั การเรียนรู้ ผลลพั ธ์การเรยี นรู้ = ครู -นกั เรียนมีความต้งั ใจใน = นกั เรยี น การเรยี น(AQ) = ทิศทางการเดาะบอลสง่ ขั้นนาไปใช้ ( 15 นาที ) - ครใู หน้ กั เรยี นแตล่ ะแถวแขง่ ขนั การสง่ ลกู บอล ดว้ ยข้างเท้าด้านใน โดยกติกามีดงั นี้ - ครูจบั เวลา 2 นาที ใหน้ กั เรยี นส่งลูกบอลดว้ ย ข้างเท้าด้านใน ภายในกล่มุ โดยห้ามจา่ ยบอลเสีย ถา้ จ่ายบอลเสยี นบั ใหม่ ให้ได้จานวนครงั้ มากทส่ี ดุ -นักเรยี นมที กั ษะการสง่ - กลุม่ ไหนทาไดจ้ านวนครง้ั มากทสี่ ดุ เป็นผชู้ นะ ลกู บอลดว้ ยขา้ งเท้าดา้ น - ใหน้ ักเรียนแบง่ ข้างเลน่ ทมี โดยแบ่งทมี ใน ตามแบบฝึกไดอ้ ยา่ ง ออกเป็น 4 ทีม แบ่งตามสี ถกู ต้อง (SQ) ขัน้ สรปุ และสขุ ปฏิบตั ิ ( 5 นาที ) - ครถู ามคาถามเกี่ยวกบั การความสาคัญของการ ส่งลกู บอลด้วยข้างเท้าด้านใน - ครูให้นักเรยี นเก็บอุปกรณ์ใหเ้ รียบร้อย - ครูให้นกั เรยี นไปล้างมอื ล้างหน้าเตรยี มเรียน วิชาต่อไป ส่อื และแหลง่ เรยี นรู้ 1. นกหวดี 2. ตาราคมู่ ือ 1 เลม่
3. สนามฟตุ บอล 4. ลกู ฟตุ บอล จานวน 20 ลูก การวัดและประเมินผล 1. ครสู ังเกตการตอบคาถามเกี่ยวกับทกั ษะการสง่ ลกู ด้วยขา้ งเทา้ ดา้ นในได้อย่างถูกต้อง (IQ) 2. ครสู งั เกตความถกู ต้องในปฏบิ ัติแบบฝึกทักษะการสง่ ลูกดว้ ยขา้ งเทา้ ดา้ นใน ติดตอ่ กนั 30 ครัง้ ขึ้นไป (SQ) 3. ครูสังเกตสมรรถภาพทางกายในการวงิ่ รอบสนามฟุตบอล จานวน 1 รอบ เพอ่ื เสรมิ สร้างความ ทนทานของกล้ามเนอ้ื สว่ นขา(PQ) 4. ครูสงั เกตมนี า้ ใจ ชว่ ยเหลอื ใหค้ าแนะนา เมอื่ สมาชิกในหอ้ งทป่ี ฏิบตั ทิ กั ษะการสง่ ลูก ด้วยข้างเทา้ ด้านใน ที่ไมถ่ กู ต้องได้ (MQ) 5. ครสู ังเกตความกระตอื รือรน้ ยมิ้ แย้มแจม่ ใส ในขณะทเี่ รยี น และฝกึ ปฏบิ ตั ทิ กั ษะ การสง่ ลกู ด้วยข้างเท้าด้านใน ด้วยความต้งั ใจ (AQ) บันทกึ ผลหลังการสอน ปญั หาท่ีพบ / อุปสรรค
___________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________ ขอ้ เสนอแนะ / แนวทางแก้ไข ___________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________ ____________________________________________________________________________ _______ ___________________________________________________________________________________ ลงช่ือ………………………………………………………………. (………………………………………………………………………) วนั ………..เดอื น……………………………พ.ศ…………..
Search
Read the Text Version
- 1 - 9
Pages: