แบบฝึกปฏบิ ัติการศึกษาตวั บทวรรณคดี วรรณคดีสมัยสโุ ขทยั หลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีจำนวนมาก ทั้งโบราณสถาน โบราณวัตถุ จารึกและ จดหมายเหตุชาวต่างประเทศ ได้แสดงให้เห็นว่าอาณาจักรสยามในดินแดนสุวรรณภูมิน้ีมีความเจริญทาง วัฒนธรรมมาเปน็ เวลายาวนาน โดยเฉพาะวัฒนธรรมทางภาษา ชาวสยามขน้ึ ชอ่ื ว่าเป็นผู้ท่มี ีความเป็นเจ้า บทเจ้ากลอน มักพูดให้มีสัมผัสคล้องจองกันเสมอ วิถีชีวิตของคนไทยในอดีตน้ัน นับแต่เป็นเด็กนอนเปล ก็มักจะได้ยินคำพูดคล้องจองกันเช่นน้ีจากเพลงกล่อมเด็ก เมื่อโตข้ึนเป็นหนุ่มสาวก็มีเพลงเกี้ยวจดหมาย รัก อย่างท่ีในสมัยก่อนเรียกกันว่า “เพลงยาว” ขณะทำงานก็มีเพลงร้องเล่นเพ่ือความสมานสามัคคีและ เพื่อความสนุกสนาน อย่างเพลงเกย่ี วข้าว เพลงสงฟาง ตลอดจนการบวช ปลูกเรือน แต่งงาน กระทั่งการ ทำศพ ก็มีบทร้อยกรองท่ีคล้องจองกันด้วยถ้อยคำอันสละสลวยมาเกี่ยวข้องด้วยเสมอ(กุหลาบ มัลลิกะ มาส, ๒๕๒๕, หน้า ๓๙) สยามจงึ น่าจะเปน็ อาณาจกั รที่มีวรรณคดมี านานแล้ว เพียงแตต่ ามประวัติการศกึ ษาวรรณคดนี ั้น พบเพียงหลกั ฐานเอกสารที่เป็นลายลักษณ์อักษร ต้ังแต่ พ.ศ. ๑๘๐๐ เป็นต้นมาเท่านั้น ก่อนหน้าน้ีอาจมี วรรณคดีอีกจำนวนมากทมี่ ิได้ถกู บันทึก จารึกไว้ บางส่วนอาจเสียหายชำรุดไปเสยี หมดแล้ว หรือมเิ ช่นนั้น ก็ยังไม่พบต้นฉบบั (กุหลาบ มลั ลกิ ะมาส, ๒๕๒๕, หน้า ๓๙) ๑. วรรณคดสี มยั สุโขทยั ดังท่ีกล่าวไว้ในตอนต้นว่า หลักฐานท่ีเป็นลายลักษณ์อักษรเก่ียวกับวรรณคดีไทยน้ัน เริ่มตั้งแต่พุทธ ศตวรรตที่ ๑๘ ซึ่งตรงกับระยะท่ีกรงุ สุโขทัยเป็นราชธานีแห่งอาณาจักรสยาม แม้ว่าวรรณคดีส่วนหนึ่งใน สมัยน้ันจะเป็นการเล่าถ่ายทอดกันมาโดยไม่มีการจดบันทึก หรือท่ีเรียกว่าเป็นวรรณคดีประเภท “มุข ปาฐะ”(เปล้ือง ณ นคร และปราณี บุญชุ่ม, ๒๕๓๓, หน้า ๑๓) จึงไม่มีต้นฉบับใหค้ นรุ่นหลังไดศ้ ึกษา แต่ก็ ยังมีวรรณคดีส่วนท่ีนับได้ว่าเขียนเป็นตัวอักษร หลงเหลือเป็นหลักฐานสำคัญให้ศึกษาได้ในทางวรรณคดี จำนวน ๔ เร่อื งต่อไปน้ี ๘
๑.๑ ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหง ๑.๒ จารกึ วัดศรีชมุ ๑.๓ ไตรภมู ิพระรว่ ง ๑.๔ สุภาษติ พระรว่ ง ในลำดับต่อไปน้ี จะเป็นการยกตัวบทคำประพันธ์ในวรรณคดีแต่ละเรื่องมาให้ผู้เรียนได้อ่าน ศึกษาสืบค้นความหมายของคำศัพท์ ถอดความ วิเคราะห์ตีความเพื่อค้นหาใจความสำคัญและสรุป สาระสำคัญ ทั้งนี้ วรรณคดีบางเร่ืองท่ีมีความยาวค่อนข้างมากอย่างไตรภูมิพระร่วงน้ัน จะเป็นการ ยกตัวอยา่ งตวั บทเพียงบางตอนมาให้ศึกษาเทา่ น้ัน ๑.๑ ศลิ าจารกึ พอ่ ขนุ รามคำแหง ศิลาจารึกหลักท่ี ๑ นี้ เป็นหินชนวนท่ีมีลักษณะเป็นแท่นศิลารูปส่ีเหล่ียม มียอดแหลมมน สูง ๑ เมตร ๑๑ เซนติเมตร มีจารึกทั้ง ๔ ด้าน สูง ๕๙ เซนตเิ มตร กว้าง ๓๕ เซนตเิ มตร ด้านท่ี ๑ และด้านที่ ๒ มี ๓๕ บรรทัด ด้านที่ ๓ และด้านที่ ๔ มี ๒๗ บรรทัด เข้าใจกันวา่ คงจารกึ ในปี พ.ศ. ๑๘๓๕ (อลสิ า เลี้ยง รื่นรมย,์ ม.ป.ป.) แตล่ ะดา้ นของจารกึ ปรากฏขอ้ ความดังต่อไปน้ี ๙
ตวั อกั ษรท่ีจารกึ ดังกลา่ ว(ดา้ นท่ี ๑) สามารถถอดเปน็ ตวั อกั ษรไทยปจั จบุ นั ไดด้ งั น้ี ๑๐
และเม่ือแปลเป็นภาษาในปจั จุบนั จะได้ความดังน้ี ๑๑
ลำดับต่อไป จะเป็นศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหง ด้านที่ ๒ – ด้านท่ี ๔ ให้ผู้เรียนศึกษาเพ่ือถอด ความเป็นภาษาปัจจุบัน ตอบคำถาม ค้นความหมายของคำศัพท์และสรุปสาระสำคัญในคำถามทบทวน ทา้ ยบท ดา้ นที่ ๒ ๑๒
ดา้ นที่ ๓ ๑๓
ดา้ นท่ี ๔ รวมขอ้ ความทง้ั สน้ิ แลว้ จะเห็นว่าศลิ าจารึกพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ประกอบด้วย เน้ือความจำนวน ๑๒๔ บรรทัด ปัจจุบันเกบ็ อยู่ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร กรงุ เทพมหานคร ๑๔
๑.๒ จารึกวัดศรีชุม จารึกวัดศรีชุม สลักบนแผ่นหินดินดานรูปใบเสมา มี ๒ ด้าน (ชำรุดบางแห่ง) สูง ๒๗๒ เซนติเมตร กว้าง ๖๗ เซนติเมตร หนา ๘ เซนติเมตร พบในอุโมงค์มณฑปวัดศรีชุม เมืองสุโขทัย เลย เรียกช่ือว่าจารึกวัดศรีชุม ถูกจัดเป็นลำดับท่ี ๒ ในบรรดาจารึกท่ีพบจากเมืองสุโขทัย จึงได้ชื่ออย่างเป็น ทางการว่า ศิลาจารึกสุโขทัย หลักที่ ๒ เพราะต้องให้เป็นรองจากศิลาจารกึ สุโขทยั หลักที่ ๑ จารึกพอ่ ขุน รามคำแหง แต่คา้ นกบั หลักฐานว่าจารกึ วัดศรีชุมมีอายุเก่าสุดของรัฐสโุ ขทัย คำจารกึ ดา้ นท่ี ๑ มีดังต่อไปนี้ ๑๕
๑๖
๑๗
๑๘
๑๙
๒๐
๒๑
จารึกด้านท่ี ๒ ปรากฏข้อความว่า ๒๒
๒๓
๒๔
๒๕
๒๖
๑.๓ ไตรภูมพิ ระรว่ ง เมอ่ื ครั้งหอพระสมุดวชริ ญาณ(หอสมดุ แห่งชาติในปจั จบุ ัน)ชำระและจดั พมิ พ์วรรณคดีเลม่ น้ีเป็น ครงั้ ที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๐๖ ไดร้ ะบุไว้ในบานแผนก ตอนหน่ึงวา่ “หนงั สอื ไตรภมู ฉิ บันนี้ ว่าเป็นของพระเจ้ากรุงศรสี ัชนาลยั สุโขทัย ผู้ทรงพระ นามวา่ พระญาลไิ ทยไดแ้ ตง่ ขึน้ ไวเ้ มอ่ื ปีระกา ศกั ราชได้ ๒๓ ปี ต้นฉบับหอสมุดวชิรญาณ ๒๗
ได้มาจากเมอื งเพชรบรุ ี เปน็ หนังสอื ๑๐ ผูก บอกไว้ข้างทา้ ยวา่ พระมหาชว่ ย วัดปากน้ำ ช่อื วดั กลาง (คอื วดั กลางเมอื งสมุทรปราการเด๋ยี วน)ี้ จารขึน้ ไว้ในรชั กาลเจ้าเมืองกรงุ ธนบุรเี มอื่ ณ เดอื นสี่ ปีจอสมั ฤทธิศก จลุ ศกั ราช ๑๑๔๐ เมอื่ อา่ นตรวจดู เห็นได้ว่า หนังสือเรื่องน้ีเป็นหนังสอื เกา่ มาก มีศพั ท์เก่า ๆ ที่ไม่ เขา้ ใจและท่ีเป็นศพั ท์ อนั เคยพบแต่ในศิลาจารึกครง้ั สโุ ขทยั หลายศัพท์ น่าเชอ่ื วา่ หนงั สอื ไตร ภูมินี้ ฉบับเดิมจะได้แต่งแต่คร้ังกรุงสุโขทัยจริง แต่คัดลอกสืบกันมาหลายช้ันหลายต่อ จน วปิ ลาสคลาดเคลื่อน หรอื บางทีจะไดม้ ผี ดู้ ัดแปลงสำนวนและแทรกเติม ขอ้ ความเขา้ เมื่อคร้ัง กรงุ เกา่ บ้าง ก็อาจจะเปน็ ได้ ถึงกระนน้ั โวหารหนังสอื เรอ่ื งน้ยี ังเห็นได้ว่าเก่ากว่าหนังสือเรอ่ื ง ใดใดในภาษาไทย นอกจากศิลาจารึกที่ได้เคยพบมา จึงนับว่าเป็นหนังสือเร่ืองดีด้วยอายุ ประการ ๑ ... หนังสือไตรภูมิพระร่วงน้ี ต้นฉบับเดิมเป็นอักษรขอม และมีวิปลาสมาก ดังกล่าวมาแล้ว ในการคัดเป็นหนังสือไทย นอกจากตัวอักษรแล้ว ไม่ได้แก้ไขถ้อยคำแห่ง หน่ึงแห่งใดให้ผิดจากฉบับเดิมเลย แม้คาถานมัสการเอง ถ้าจะแปลเป็นภาษาไทย จะต้อง แก้ไขของเดิมบ้าง จึงมิได้ให้แปล ทิ้งไว้ทั้งรู้ว่าบางแห่งผู้ลอกคัดเขียนผิดต่อ ๆ กันมาแต่ ก่อน”(หอสมดุ วชิรญาณ, ๒๕๐๖) วรรณคดีเร่ืองน้ีแต่งขึ้นในปี พ.ศ. ๑๘๘๘ โดยพระยาลิไทย อุปราชผู้ครองนครศรีสัชนาลัย มี สาระสำคัญกล่าวถึงเรือ่ งการเกิด การตาย ของสตั ว์ทั้งหลายวา่ การเวียนว่ายตายเกิดอยใู่ นภูมิทั้งสามคือ กามภมู ิ รูปภมู ิ และอรปู ภูมิ ดว้ ยอำนาจของบุญและบาปทตี่ นได้กระทำแลว้ ในรายวิชาพัฒนาการของวรรณคดีไทยนี้ ได้นำเน้ือความในบางตอนสำคัญมาให้ผู้เรียนได้ศึกษา เพ่ือสังเกตลักษณะการเรียบเรียงเน้ือความ รูปประโยค คำศัพท์ และกลวิธีการใช้ความเปรียบ ดัง ตัวอย่างเนือ้ ความท่ตี ัดตอนมาใหศ้ ึกษา จำนวน ๑๐ ตอนดังตอ่ ไปนี้ ตัวอยา่ งเนอ้ื ความตอนท่ี ๑ สตั วอ์ นั เกิดในนรกภมู ิน้นั เป็นด้วยอุปปาตกิ โยนิ ภูลเปน็ รูปได้ ๒๘ คาบสนิ้ คาบเดียว รูป ๒๘ นั้นคืออนั ใดบา้ ง คือ ปถวี อาโป เตโช วาโย จักขุ โสต ฆาน ชวิ หาร กาย มน รปู สัทท คนั ธรส โผฏฐพั พ อิตถีภาว บุรุษภาว หทย ชีวิตนิ ท รีย อาหาร ปริจเฉท กายวิญญัต์ติ วจีวิญญัต์ติ สหุตา กัม์มัญ์ญตา อุปัจ์จโย สัน์ติ รูปปัส์ส ชรโตฯ อันว่าปถวีรูปนั้นคือ กระดกู และหนังแลฯ อาโปรปู นั้นคือนำ้ อันไหลไปมาในตนนัน้ แลฯ เตโชรูปนนั้ คอื วา่ ไฟอนั ร้อนและเกิดเปน็ เลอื ดในตนแล ฯ อันวา่ วาโยรปู นน้ั คือลมอนั ทรงสกลและให้ติงเนื้อติงตนแลฯ จกั ษรุ ูปน้นั คอื ตาอนั แต่งดูฯ โสตรูปนนั้ คือหูอนั ไดฟ้ ังนัน้ ฯ ฆานรูปนั้น คือจมูกอันแต่งดมให้รู้รสท้ังหลายฯ ชิวหารูปนั้นคือลิ้น อันรู้จักรสส้มและฝากและรสท้ังลายนั้น ๆ กายรูป ๒๘
นัน้ คือ รปู อันรู้เจบ็ รู้ปวดอันถูกตอ้ งฯ รูปารูปนั้น คือรูปอันเห็นแก่ตาฯ สัททารูป คือรูปอนั ได้ยินดีฯ คันธารูปน้ัน คือรูป อนั เปน็ กลิ่นเปน็ คนั ธอันหอมฯ รสารูปนั้นเป็นรสฯ โผฎฐัพพารูปนนั้ คือรูปอันถูกต้องฯ อติ ถีรูป คือรูปเปน็ ผ้หู ญงิ ฯ บรุ ุษ รูปน้ัน คือรูปอนั เป็นผู้ชายฯ หทยรูปนน้ั คือรูปอันเป็นต้นแก่รูปทั้งหลายอันอยู่ภายในฯ ชีวิตนิ ทรียรูปน้นั คือชีวิตอันอยู่ ในรปู ท้ังหลายฯ อาหารรูปน้ัน คืออาหารอันกินฯ ปริจเฉทรูปนั้น คือรูปที่ต่อที่ติดกันฯ กายวิญญัติรูปนนั้ คือรูปอนั รู้แต้ ตนฯ วจีวิญญัติรูปน้ัน คือ รูปอันรู้แต่ปากฯ รูปัสสรูปลุตารูปนั้น คือรูปอันรู้พลันฯ รูปัสสมุทุตารูปนั้น คือรูปอันอ่อนฯ รปู ัสสกัมมัญญตารูปน้ัน คือรูปอันควรรูปฯ รูปสั สอุปัจจโยรูปนั้น คือรปู อันให้เป็นอีกฯ รูปัสสสันตติรูปนั้น คือรปู อันสืบ อันแท่งดังฤๅจึงว่าสืบว่าแท่งนั้นสืบหลากวันคืนน้ันแลฯ รูปัสสชรตารูปนั้นคือรูปอันแก่อันเฒ่าฯ รูปัสสอนิจจาตารูปน้ัน คอื รูปอันยนิ ดรี ูปอันจะใกล้ตายนน้ั และรูปท้ัง ๒๘ รูปน้มี แี ก่สตั ว์ในนรกแลฯ ฝงุ สัตว์อนั ไปเกิดในทร่ี า้ ยท่ีเปน็ ทุกขลำบาก ใจเขานั้นเพ่ือใจเขาร้าย และทำบาปด้วยใจอันร้ายมี ๑๒ อันแลฯ อน่ึงคือ โสมนัสสสหคตทิฏฐิคตสัมปยุตตอสังขาริเมกํ ใจนี้มิรู้ว่าบาปและกระทำบาปด้วยใจอันกล้าและยินดีฯ อนึ่งคือโสมนัสสสหคตทิฏฐิคตสสังขาริกเมกํ ใจอันหนึ่งมิรู้ว่า บาปและยินดแี ละกระทำบาปนนั้ เพ่ือมีผู้ชักชวนฯ อนงึ่ คือ โสมนสั สสหคตทิฏฐิคตวิปปยุตตอสังขารกิ เมกํ ใจอันหนงึ่ รู้ว่า บาปและกระทำด้วยใจของตนเองอันกล้าแข็งและยินดีฯ อนงึ่ คือโสมนัสสสหคตทิฏฐิคตวิปปยตุ ตสสงั ขาริก ใจอันหนึ่งรู้ ว่าบาปและยินดีกระทำบาป เพื่อมผี ู้ชักชวนฯ อนงึ่ คืออุเบกขาสหคตทิฏฐิคตสมั ปยุตตอสังขาริก ใจอนั หน่ึงรู้ว่าบาปและ กระทำเพอ่ื มีผชู้ ักชวน และกระทำด้วยใจอันรา้ ยใจกล้าบมิยินดียินร้ายฯ หนึ่งคืออุเบกขาสหคตทิฏฐคิ ตสัมปยุตตสสังขา รกิ ใจอนั หน่ึงรู้วา่ บาปและกระทำเพื่อมีผูช้ วนและกระทำดว้ ยใจอันร้ายและใจกลา้ ฯ อนึง่ คืออุเบกขาสหคตทิฏฐคิ ตวิปป ยตุ ตอสังขาริก ใจอันหนึ่งรู้ว่าบาปและกระทำเองกับด้วยใจอนั ร้ายอันกล้าฯ อน่ึงคืออุเบกขาสหคตทิฏฐิคตสสังขาริก ใจ อน่ึงรู้ว่าบาปมีผู้ชวนและกระทำด้วยใจอันกล้าฯ อนึ่งคือโทมนัสสสหคตปฏิฆสัมปยุตตอสังขาริก ใจอน่ึงประกอบไปดว้ ย โกรธขึ้งเคียดกระทำบาปด้วยใจอันกล้าแข็งเองและร้ายฯ อนึ่งคือโทมนัสสสหคตปฏิฆสัมปยุตตสสังขาริก อนึ่งกอบไป ด้วยโกรธขึ้งเคียดกระทำบาปเพื่อเหตุมีผู้ชวนฯ อนึ่งคืออุเบกขาสหคตวิจิกิจฉาสัมปยุตตํ ใจอนึ่งบมิเช่ือบุญและกระทำ บาปด้วยใจประกลายฯ อนึ่งคืออุเบกขาสหคตอทุ ธัจจสัมปยตุ ต ใจอนั หน่ึงย่อมข้นึ ไปฟงุ้ ดังก้อนเถา้ และเอาก้อนเส้าทอด ลงย่อมปาลงทุกเมือ่ และกระทำบาปดว้ ยใจปกลายฯ ใจรา้ ยทัง้ ๑๒ น้ีผแิ ละมีแก่คนผู้ใดผู้นั้นได้ไปเกิดในที่รา้ ยเป็นต้นว่า จตุราบายแลฯ เหตุการเทา่ ใดและมีใจร้ายฝูงนี้แก่สัตว์ทั้งลาย เหตุการนั้นยังมี ๓ อนั อนึ่งชื่อวา่ โลโภเหตุ อนึ่งชือ่ ว่โทโส เหตุ อนึ่งช่ือว่าโมโหเหตุฯ อันชื่อว่าโลโภเหตุน้ัน เพื่อมักได้สินท่าน มักฆ่ามักตีท่านเพื่อจะเอาสินท่านและใจนั้นชวน กระทำบาปฯ อันชอ่ื วา่ โทโสเหตุนนั้ เพือ่ ตู่ทา่ นถกู ใจ ขึง้ เคียดหงิ ษาแกท่ า่ น มกั คมุ นุคุมโทษชวนใจกระทำบาปฯ อันชือ่ ว่า โมโหเหตุนัน้ บมริ ู้บญุ ธรรมใจพาลใจหลงไปกระทำบาปไปชวนพบทุกเมอ่ื แลฯ เพราะเหตุ ๓ อันนี้แหากพาสัตว์ทงั้ หลาย ไปเกดิ ในท่ีร้ายคือจตุราบายแลฯ ด้วยสุภาวกระทำบาปฝูงน้ันมี ๑๐ จำพวกโสด กาเยนติวิธํ กัม์มํปาณาติปาตา อทิน์นา ทานา กาเมสุมิจ์ฉาจาราฯ วาจากัมม์ จตุพ์พิธํ มุสาวาทา อสุสวาจาร เปสุญ์ญาวาจา สัมผัป์ปลาปาวาจาฯ มนสาติวิธญั ์ เจว มิจ์ฉาทิฏ์ฐิพ์ยาปาทวิหิษา ทสกัม์มปถาอิเมฯ สุภาวอันกระทำบาปด้วยตน ๓ จำพวกฯ สุภาวพดอันกระทำบาปด ด้วยปาก ๔ จำพวกฯ สภุ าวอันกระทำบาปด้วยใจ ๓ จำพวกฯ ผสมเข้าด้วยกันเป็น ๑๐ จำพวกแลฯ อันว่ากระทำบาป ๒๙
ด้วยตัวมี ๓ จำพวกนั้นฉันน้ี คือว่าฆ่าคนและฆ่าสัตว์ อันรู้ติงด้วยมือด้วยตีนตนฯ อน่ึงคือว่าลักเอาสินท่านอันท่านมิได้ ให้แก่ตนและเอาด้วยตนี มอื ตนฯ อน่ึงคือทำชดู้ ้วยเมียทา่ นผู้อ่นื ฯ อันว่าทำบาป ดว้ ยปากมี ๔ จำพวกน้ันฉันนี้ อนึ่งคือว่า กลา่ วถ้อยคำมสุ าวาทและส่อเสยี ดเอาทรพั ยส์ งิ่ สินของท่าน ๑ ฯ อนึ่งคือว่ากลา่ วถ้อยคำอันทา่ นบมพิ งึ เอาเอาน้นั ๑ อนึ่ง คือว่ากล่าวถ้อยคำติเตียนนินทาท่านและกลา่ วคำอันบาดเน้ือผิดใจท่าน กล่าวถ้อยคำอันหยาบช้าและยุยงให้ท่านผิดใจ กนั อน่ึงคือกล่าวด่าประหลกหยอกเลน่ อันมิควรกลา่ ว และกล่าวอันเป็นถอ้ ยคำติรจั ฉานกถานันแลฯ อันว่าเกิดบาปดว้ ย ใจน้ันมี ๓ จำพวก อน่ึงคือมิจฉาหิงษาทิฏฐิถือมั่นบมิชอบบมิพอและว่าขอบว่าพอ อันชอบพอและว่าบมิชอบบมิพอนั้น อนึ่งคือว่าเคียดฟูนแก่ผู้ใดและถือมั่นว่าเป็นข้าศึกตนต่อตายสู้ความโทษใร้ายและคุมความเคียดนั้นไว้มั่นึงฯ อน่ึงคือว่า ปองจะทำโทษโภยทา่ นจะใคร่ฆ่าฟันเอาทรัพยส์ ินท่านฯ สุภาวอันเป็นบาปนั้นมี ๑๐ จำพวกดังกล่าวมานแ้ี ลฯ และแต่ใจ บาปทั้งหลายดังกล่าวมาน้ีแลยังมีเพ่ือใจอันเป็นเจตสิกแต่งมายังใจให้กระทำบาปน้ัน ๒๗ นั้นคือ ผัสโส เวทนา สัญญา เจตนา เอกัคคตา ชีวิตินท์รียํ มนสิกาโร วิตัก์โก วิจาโร อธิโมก์โข วิริยํ ปีติฉัน์โท โมโห อหิริกํ อโนต์ตัป์ปํ อุท์ธัจ์จํ โลโภ ทฏิ ์ฐิ มาโน โทโส อิสส์ า มัจฉ์ ริ ิยํ กุกก์ ุจ์จํ ถนี ํ มทิ ์ธํ วิจิกจิ ์ฉา อันนฯี้ ผัส์โส มาใหต้ ้องใจฯ เวทนามาให้เสวยฯ สัญญาให้รู้ฯ เจตนาให้รำพึงฯ เอกัค์คตาให้ถือม่ันฯ ชีวิติน์ทริยํแต่ให้เป็นเจตสิกฯ มนสิการมัวมูนไปฯ วิตักกแต่ตริบริทำนำบาปฯ วจิ ารใพิจารณาแกบ่ าปฯ อธิโม์กโขน้นั ให้จำเตุเฉพาะแกบ่ าปฯ วริ ิยใํ หพ้ ยายามทำบาปฯ ปีตนิ ั้นให้ชื่นชนยนิ ดีกระทำบาป ฯ ฉันทะน้ันเหน่ียวแก่บาปฯ โมโหน้ันให้หลงแก่บาปฯ อหิริกฺน้ันให้บมีความละอายแก่บาปฯ อโนต์ตัปปํนั้น บมิให้กลัว แกบ่ าปฯ อุท์ธจั ์จใํ ห้ขึ้นฟงุ้ ฯ โลโภน้ันใหโ้ ลภฯ ทฏิ ์ฐิน้ันให้ถืดบาปมนั่ ฯ มานะนั้นให้ดุดันเยียสำหาวฯ โทโสน้นั ให้เคยี ดฟูน ฯ อิส์สานน้ั ให้ริษยาหิงษาเบียดเบียนหวงแหนฯ มจั ์ฉิริยํน้ันให้ตระหนี่ฯ กุก์กุจจ์ ํนั้นให้สนเทห่ ์ฯ ถีนํน้ันให้เหงาเหงียบบมิ ให้รู้สึกตนฯ มิท์ธํนั้นให้หลับฯ วิจิกิจ์ฉาน้ันท่านว่าชอบว่าพอก็ดีบมิให้ยินดีฯ เพราะใจนั้นฟุ้งซ่านชวนทำบาปนั้นได้ ๒๗ ดังกล่าวมาน้ีแลฯ ฝูงสัตว์ทั้งหลายอันได้กระทำบาปด้วยปากด้วยใจดังกล่าวแล้วน้ี ย่อมได้ไปเกิดในจตุราบายมีอาทิคือ นรกใหญ่ ๘ ชุมนนั้ ๆ ฯ สัญช์ ีโวกาล สุต์โตจ สงั ฆาโฏ โรรโุ วตถา มหาโรรุวตาโปจ มหาราโปจาติ วีจิโยฯ อนึง่ ชอื่ สัญชีพ นรก อน่ึงช่อื โรรพุ นรก อนง่ึ ช่ือดาปนรก อน่ึงชอ่ื มหาอวจิ ีนรก ฝูงนรกใหญ่ ๘ อันนอี้ ยู่ใต้แผ่นดนิ อันเราอยู่นแ้ี ละถัดกนั ลง ไป และนรกอันช่ือว่าอวิจีนรกน้นั อยู่ใต้นรกทั้งหลาย และนรกอันชอ่ื วา่ สัญชพี นรกนัน้ อย่เู หนือนรกทัง้ ๗ อันน้ัน ฝูงสัตว์ อันเกิดในนรกอันช่ือว่าสัญชีพนรกนั้นยืนได้ ๕๐๐ ปีด้วยปีในนรก และเป็นวัน ๑ คืน ๑ ในนรกได้ ๙ ล้านปีในเมือง มนษุ ยน์ ้ี ๕๐๐ ปีในสัญชพี นรกได้ล้าน ๖ แสนล้านหยิบหม่นื ปี ในเมืองคนนี้ ๑,๖๒๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐ ฯ ฝงู สัตว์อนั เกิด ในกาลสูตตนรกน้นั ยนื ได้ ๑,๐๐๐ ปี ในนรกนน้ั วัน ๑ คืน ๑ ในกาลสูตตนรกน้ันได้ ๓๖,๐๐๐,๐๐๐ ปีในมนุษย์ ๑,๐๐๐ ปี ในนรกได้มหาปทุมปทุมประติทธ ๑๒,๙๖๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐ ปีในมนุษย์ฯ ฝูงสัตว์อันเกิดในสังฆาฎนรกนั้นยืนได้ ๒,๐๐๐ ปี ในสังฆาฎนรกวัน ๑ คืน ๑ ได้ ๑๔๕,๐๐๐,๐๐๐ ปี ในมนุษย์ ๒,๐๐๐ ปี ในสังฆาฏนรกน้ันเป็นปีนั้นได้ ๑๐๓,๖๘๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐ เปน็ ปใี นมนุษย์แลฯ ฝูงสตั ว์อันเกิดในโรรุพนรกยนื ได้ ๔,๐๐๐ ปี ในโรรุพนรกวนั ๑ คืน ๑ ได้ ๕๗๖,๐๐๐,๐๐๐ ปใี นมนษุ ย์น้ี ทง้ั ๔,๐๐๐ ปี ในโรรพุ นรกน้นั ไดป้ ี ๘๒๙,๔๔๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐ ปี ในมนุษยเ์ รานแ้ี ล ฯ ฝงู สัตว์อนั เกิดในมหาโรรพุ นรกน้นั ยืนได้ ๘,๐๐๐ ปีในนรก วนั ๑ คืน ๑ ในนรกน้ันได้ ๒๓๐,๕๐๐,๐๐๐ ปี ในมนษุ ย์น้ี ๓๐
ทัง้ ๘,๐๐๐ ปีในนรกนั้นได้ ๖,๖๓๕,๕๒๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐ ปี ในมนษุ ยเ์ รานีแ้ ลฯ ... คนฝูงกระทำร้ายแกพ่ ่อแม่และสงฆ์ และคนผู้มีคุณและท่านผู้มีศีลก็ดี คนฝูงนั้นตายไปเกิดในนรกนั้น คนในนรกน้ันอยูใ่ นแม่น้ำอันใหญ่อัน ๑ เทียรย่อมเต็ม ไปดว้ ยเลือดและหนองท้ังหลาย แบเขาน้นั หาอันจะกนิ บมิได้ แลร้อนใจเพ่ืออยากนั้นนกั หนา คนนรกนน้ั จึงกินเลือดและ หนองน้นั เมือ่ เขากินเลอื ดและหนองน้นั เขา้ ไปเถงิ ทอ้ งเขาไส้ ก็กลายเป็นไฟไหม้แลลอดลงไปใต้ทา้ ยทวารหนตำ่ เป็นไฟพุง่ ออกฯ นรกบ่าวอนั ดับน้นั เปน็ คำรบ ๑๒ ชอื่ โลหพลิสนรก คนฝูงอนั เจรจาซอื้ ส่งิ สนิ ทา่ นแลไปพรางว่าจะใหเ้ บ้ยี ใหเ้ งินทา่ น แลตนใสก่ ลเอาสินท่านด้วยตราชั่งกด็ ี ด้วยทะนานกด็ ี กใ็ สก่ ลให้เขาพลัง้ พลาดแลประบัดส่ิงสินเขา แลบมิได้ให้เงินแก่เขา คร้ันว่าตายได้ไปเกิดในนรก ฝูงยมบาลเอาคีมคาบล้ินเขาชักออกแล้วเขาเอาเบ็ดเก่ียวลิ้นเขา ลำเบ็ดนั้นใหญ่เท่าลำตาล เทียรย่อมเหลก็ แดงลุกบมิเหือดสกั เมอ่ื ฝงู ยมบาลเขาลากไปผลักไป ให้ล้มหงายเหนือแผ่นเหล็กแดงเป็นเปลวพุ่งไหมต้ น เขาโสด ฝูงยมบาลเถือเอาหนงั เขาออกแลขึงดังขึงหนังวัว ฝูงคนนรกอดเจ็บบมิได้ร้องไห้นักหนา แลมีคนอันสั่นระทดดัง ปลาอนั หกั คอนนั้ แลข้ึนเหนือบกนัน้ เขายอ่ มรากเลือดออกดังน้ันหลายคาบแกเ่ ขาแลฯ นรกบา่ วอันดับนนั้ เปน็ คำรบ ๑๓ ช่ือว่าสังฆาฏนรกผู้ชายแรงทำชู้ด้วยเมียท่าน ผู้หญิงทำชู้จากผัวตน คร้ันว่าตายไปเกิดในนรกน้ัน ๆ มีผู้หญิงก็หลาย มี ผูช้ ายกม็ าก ฝงู ยมบาลเอาหอกแทงตนเขาบาดขาดวิ่นนกั หนา มเี ลือดและน้ำหนองยอ้ ยนกั หนา ดจุ ดงั ววั อนั ท่านเอาหอก แทงเป็นหลายแห่ง แลมีเลือดอนั ย้อยเตม็ ตัวทกุ แห่ง แลคนนรกนนั้ จมอยู่ในแผ่นเหล็กแดงจมลงครึง่ ตน เขาทกุ คนเทียร ย่อมเอามือพาดเหนือหัวเขาร้องไห้อยู่นักหนา ตนเขาฝังอยู่ในน้ันดังคนแสร้งฝังไว้แล ยังมีเขาเหล็กแดงอัน ๑ ลุกเป็น เปลวไฟแลกลิ้งเขา้ มาแลมเี สยี งอันดัง เสียงฟา้ แลกลงิ้ มาทง้ั สองขา้ งหนบี ตนเขาดังท่านหนีบออ้ ยดังนั้นเป็นหลายคาบแลฯ นรกบ่าวถัดน้ันเป็นคำรบ ๑๔ ชื่อวสิรนรก คนฝูงอันกระทำชู้ด้วยเมียท่านตายไปเกิดในนรกน้ันแลฯ นรกนั้นเทียรย่อม ผหู้ ญิงทั้งหลายผู้ชายก็หลายนัก ยมบาลจบ ๒ ตีนเข้า แลหย่อนหัวลงในขุมนรกน้ันแล้วจึงเอาค้อนเหล็กแดงตตี นเขาให้ ยบั ยอ่ ยไปเลา่ แลฯ นรกบา่ วถดั นัน้ อันคำรบ ๑๕ ช่อื โลหสิมพลนี รก ฝงู คนอันทำชดู้ ว้ ยเมียท่านก็ดี และผู้หญงิ อนั มีผวั แลว้ แลทำชูจ้ ากผวั กด็ ี คนฝงู น้ันตายไปเกดิ ในนรกนั้น ๆ มีปา่ ไม้งว้ิ ปา่ ๑ หลายต้นนัก แลต้นงิ้วนนั้ สูงไดแ้ ลโยชน์ แลหนามงิ้ว น้ันเทยี รย่อมเหล็กแดงเป็นเปลวลกุ อยู่ แลหนามง้วิ น้ันยาวได้ ๑๖ นิ้วมือเป็นเปลวไฟลุกอยู่บห่อนจะรู้ดับสักคาบแล ใน นรกนั้นเทยี รยอ่ มฝูงหญิงฝูงชายหลาดแลคนฝูงน้ันเขาได้รักใคร่กันดังกลา่ วมาดุจก่อนน้ันแล ลางคาบผหู้ ญงิ อย่บู นปลาย งวิ้ ผู้ชายอยู่ภายต่ำ ฝูงยมบาลเขาก็เอาหอกดาบแหลนหลาวอันคมเทียมย่อมเหล็กแดงแทงตีนผู้ชายนั้น จำให้ขึ้นไปหา ผู้หญิงช้ขู องสูอันอย่บู นปลายงิ้วโพ้นเรว็ อยา่ อยู่ แลฝูงผู้ชายทนเจบ็ บมิได้จึงปนี ข้ึนไปบนต้นง้ิวนั้น คร้ันว่าข้ึนไปไส้หนาม ง้ิวนนั้ บาดทว่ั ตนเขาขาดทกุ แหง่ แลว้ เปน็ เปลวไฟไหม้ตนเขา ๆ อดบมไิ ด้ จึงบ่ายหวั ลงมา ฝูงยมบาลกเ็ อาหอกแทงซ้ำเล่า ร้องวา่ สูเร่งขึ้นไปหาชูส้ ทู ่ีอยู่บนปลายงวิ้ โพ้นสูจะลงมาเยียใดเลา่ เขาอดเจ็บบมิได้ เขาเถียงยมบาลว่า ตูมขิ ้ึนไปเขาก็มขิ ึ้น ไป แลหนามงิ้วบาดท่ัวทั้งตัวเขา ๆ เจ็บปวดนักหนาดังใจเขาจะขาดตาย แลเขากลัวฝูงยมบาลเขาจึงขึน้ ไปเถิงปลายงิ้ว นั้น ครนั้ จะใกล้เถงิ ผู้หญงิ น้ันไส้ กแ็ ลเห็นผู้หญิงน้ันกลบั ลงมาอยู่ภายต่ำเล่า ยมบาลหมู่ ๑ แทงตนี ผหู้ ญงิ ใหข้ นึ้ ไปหาผูช้ าย ผูเ้ ปน็ ช้สู ูอนั อยบู่ นปลายงิ้วนั้นเล่า แลว่าเมื่อเขาข้ึน เขาลงหากนั อยู่ฉันนน้ั เขาบมิไดพ้ บกนั ยมบาลขับผู้หญงิ ผชู้ ายจำให้ ข้นึ ใหล้ งหากนั ดังนน้ั หลายคาบหลายครา ลำบาดนกั หนาแลฯ ๓๑
ตวั อย่างเนอื้ ความตอนที่ ๒ และสัตว์อนั เกิดในติรัจฉานภมู นิ ้ัน ลางคาบเป็นด้วยอณั ฑชะโยนิ ลางคาบเป็นดว้ ยชลามพชุ ะโยนิ ลางคาบเป็น ดว้ ยสงั เสทชะโยนิ ลางคาบเป็นดว้ ยอปุ ปาตกิ ะโยนิ แต่สิง่ อนั ดงั นี้ชือ่ ตริ ัตฉาน มอี าทคิ ือว่าครุฑแลนาคสิงหช์ ้างมา้ วัวควาย เนอ้ื ถกึ ทกุ สิง่ เปด็ และห่านไกแ่ ละนกและสตั ว์ทั้งหลาย ฝงู น้สี ่งิ อนั มี ๒ ตนี กด็ ี ๔ ตนี ก็ดี หลายตีนก็ดี เทียรย่อมเดินไปมา และคว่ำมาอกลงเบ้ืองต่ำ และฝูงตกนรกช่ือติรัจฉาน อันว่าฝงู ติรัจฉานน้ันเทียรย่อมพลนั ด้วย ๓ ช่ือ อน่ึงชื่อกามสัญญา อน่ึงชอ่ื อาหารสัญญา อน่ึงช่ือมรณสัญญาฯ อันช่ือว่ากามสญั ญานั้น เขาพลันด้วยกามกิเลสแลฯ อันช่ือว่าอาหารสัญญา น้ันเขาพลันด้วยอาหารนั้นหากมีฯ อันชื่อว่ามรณสัญญา เขาพลันด้วยความตาย คือ อายุสม์แห่งเขาน้อย เขาอ่อนด้วย พลันสามน้ีช่ือทุกเม่ือฯ อันวา่ ติรจั ฉานน้ีแลจะมีธรรมสัญญานั้นหาบมิได้มากนักหนาแลฯ อันว่าธรรมสัญญานั้นรจู้ ักบุญ จักธรรม เลือกติรัจฉานจะรู้จักบุญจักธรรมไส้ฯ อันว่าเป็นติรัจฉานน้ีบห่อนจะเลี้ยงตนด้วยค้าและขายและทำไร่ไถนา เลี้ยงชีวิตหาบมิได้ฯ ลางสิ่งกินลำเชือกเขากินใบเชือกเขากินใบไม้ฯ มีลางส่ิงกินแต่เพ่ือนฝูงตนเอง มีลางสิ่งกินอันบแรง หลกั ฐานเขา เนื้ออันบแรงนัน้ กลัวเขากแ็ ลน่ ไปเร้นท่ีลับเขาไลท่ นั จึงกินสงิ่ นั้น ฝูงตริ จั ฉานนนั้ ย่อมขา้ ศึกอันรพู้ งึ มาเล้ียงตน รอดช่ัวตนเขา เม่ือเขาตายไปแลเขาย่อมไปเกิดในจตุราบายไส้ เลอื กแลนักจริงสัตว์จะไดเ้ กิดเมืองฟ้าไส้ ฝูงน้ันเดินไปมา ยอ่ มทำ้ อกลงตำ่ ดังน้นั มีส่ิงรา้ ยไส้ฯ ซ่งึ ว่าส่งิ อนั ดนี ัน้ คือราชสีห์ อนั ว่าราชสีหน์ ้ันมี ๔ ส่ิง ๆ หนึ่งชือ่ ตณิ ะสิงหะ สิ่งหนึง่ ชื่อ กาละสิงหะ ส่ิงหนึ่งชื่อบัณฑรสิงหะ ส่ิงหน่ึงชื่อไกรสรสิงหะฯ อันว่า ติณสิงหะ น้ันมีตนมันดังปีกนกเขา ย่อมกินแต่หญ้า มาเป็นอาหาร กาลสีหะนั้นดำดังวัวดำ ย่อมกินหญ้าเป็นอาหาร บัฑรสีหะน้ันมีตนเหลืองดังใบ ย่อมกินเนื้อเป็นอาหาร ไกรสรสหี ะนั้นมฝี ปี ากแลปลายตีนท้ัง ๔ นัน้ แดงดงั ท่านเอาน้ำครง่ั ละลายด้วยน้ำชาดหรคุณทา ท้ังปากทง้ั ท้องแดงดงั น้ัน โสดเป็นแนวแดงแต่หัวตลอดรอบบนหลังอ้อมลในแค่งซาบ สอดหลังแดงดังรส เอวนั้นงามดังท่านแสร้งแต่ง ตนราชสีห์ น้ันมีสร้อยอันอ่อนดังนั้น งามดังท่านเอาผ้าแดงอันมีค่าได้แสนตำลึงทองแลเอามาพาดเหนือตนไตรสรสิงหะน้ัน ในตัว ไกรสรสงิ หะน้ันทข่ี าวกข็ าวนกั ดังหอยสังขอ์ ันงามท่านผินใม่ ผิเมื่อไกรสรสิงหะนั้นออกจากคหู าทองก็ดีเงนิ กด็ ี คหู าแกว้ ก็ ดอี ันเป็นทีอ่ ยแู่ ห่งไกรสรสิงหะน้ัน ตนจงึ ไปยนื อยู่เหนือแผน่ ศิลาเลอื งอันเรอื งงามดังทอง ส่ตี นี ๒ ตนี หลังเหยยี บเพียงกัน และเหยียบสองตีนหน้าจึงขัดขนหลังน้ัน และเหยียบสองตีนเบ้ืองหน้าจงึ ฟุบสองตีนหลังลงและยืนตัวขึ้นแล้วจึงกระทำ เสียงออกดังเสียงฟ้าลั่น แล้วจงึ สั่นขนฟุ้งในตนเสีย แล้วจึงแต่งตนไปเดินเล่นไปมาดงั ลูกวัวแล่นน้ัน เมื่อไกรสรสิงหะน้ัน เดินไปเดินมาครั้งดูพลันงามนักดังผู้มีกำลังและถือดุ้นไฟแกว่งไป โดยกำลัง เม่ือเดือนดับน้ันแล เมื่อเดินบ่ายไปบ่ายมา ดังนั้นก็ร้องด้วยเสียงอันแรง ๓ คาบและเสียงน้ันไปไกลได้ ๓ โยชน์แล แต่บรรดามีสัตว์ ๒ ตีน ๔ ตีนอยู่แห่งใด ๆ ก็ดี และเสียงได้ยนิ เถิงใด ๆ กลัว มีตวั นั้นส่ันแลตกใจสลบอยู่บมิรสู้ ึกตนเลย เขาหนีจากท่ีนนั้ สิ้นแล แต่ฝูงสัตว์ซ่ึงว่าอย่ใู นถ้ำ ก็ดำหนีลงไปเถิงพื้นถ้ำพื้นพ่าง แลครางอยู่ช้างสารอยู่ในป่าคร้ันได้ยินกล่าวและร้องจำร้อง ฝ่ากลางป่าผิมีช้างบ้านอัน หาญผูกด้วยเชือกเหล็กอันม่ันก็ดี ครั้นว่าได้ยนิ เสียงไกรสรสิงหะน้ันกต็ ืน่ นักดงั เชือกจะขาด ออกทัง้ ชเี้ ยย่ี วราดแลน่ หนไี ป สนิ้ แต่ไกรสรสงิ หราชดงั กันเองแล และฝูงม้าแก้วอนั ช่อื ว่า พลาหกตระกูล และผู้มีบุญคือ โฑธสิ ัตว์และอรหันตาขีณาสพ เจ้า หากจะฟังเสียงไกรสรสิงหะน้ันได้ไส้ และไกรสรสิงหะน้ัน เมื่อยืนอยู่ในที่เล่นน้ันและเดินเบื้องซ้ายเบ้ืองขวาไกลได้ ๓๒
และช่ัววัวมอ เม่ือข้ึนมาเบื้องบนลางคาบสูงได้ ๗ ชั่ววัวมอ ลางคาบเดินสูงข้ึนได้ ๗ ช่ัววัวมอ เมื่อเดินเบ้ืองหน้าเหนือที่ เพียงไกลได้ ๑๖ ช่ัววัวมอ ลางคาบไกลได้ ๒๐ ชั่ววัวมอไส้ ผิอยู่เนือหลังก็ดีเหนือเขาก็ดีและเดินหนต่ำ ลางคาบไกลได้ ๑๖ โยชน์ ลางคาบได้ ๘๐ โยชน์ ผเิ ม่ือเดนิ ไปในกลางหาวและมนั แลเห็นตน้ ไมใ้ หญอ่ อกมันหลีกผดิ เบ้ืองซา้ ยเบ้ืองขวาก็ดี ยังได้แลชั่ววัวมอเลย และเมื่อหยุดแห่งเม่ือร้องด้วยเสียงแรง ๓ คาบดังนั้น ครั้นว่าหาย้รองไส้ มันจึงเต้นแล่นไปหน้าได้ แล ๓ โยชน์ เมื่อมันเดินไปน้ันเร็วนักแลฯ สวนลมบันริเรียนอยู่ฟังมันได้ยินเสียงภายหลังเล่าเพราะมันเร็วนักฯ อันว่า ไกรสรสงิ หะนั้นมีกำลังหนกั หนาดังกล่าวมานแี้ ลฯ แตต่ ริ จั ฉาน ๔ ตีนเท้าอย่านับชา้ งแกว้ ท้งั หลาย อันวา่ จะไปลวงอากาศ นั้นแลจะย่ิงกว่าไกรสรสิงหะนี้หาบมิได้เลยฯ ฝูงช้างแก้วนั้นมี ๑๐ จำพวก ๆ หน่ึงช่ือเหกาลาพกหัตถีกูล สิ่งหนึ่งช่ือกัง เขยกหตั ถีกลู สิ่งหนึ่งช่ือจันทรหตั ถกี ูล สิ่งหนึ่งชอ่ื ตามพหตั ถกี ูล สิ่งหนึ่งชือ่ มังคลหัตถกี ูล สง่ิ หน่ึงชื่อคันธหัตถีกูล สิ่งหนึ่ง ช่อื มัลคลหัตถีกลู ส่งิ หน่งึ ช่อื โปจัตถีกลู ส่ิงนงึ่ ช่ืออุโบสถหัตถีกูล สง่ิ หนึ่งชือ่ ฉัททันตกลู ฝูงชา้ งน้ันโสดเทียรยอ่ มอยู่ในคหู า ทองและใหญ่งามนักหนา แดงแลรอบโสด แต่ติรัจฉานอันหาตีนบมิได้ปลา ๆ ๗ ตัว ๆ หนึ่งช่ือติรนยาวได้ ๗๕ โยชน์ ตัวหน่ึงชื่อติปังคลนั้นยาวได้ ๒๕๐ โยชน์ ตัวหน่ึงช่ือ ติรปิงคลยาวได้ ๕๐ โยชน์ ตัวหน่ึงชื่ออานนท์ ตัวหนึ่งชื่อนิรย ตัว หนึ่งชื่ออชนาโรหน ตัวหนึ่งช่อื มหาติ และปลา ๔ ตัวน้ยี อ่ มยาวและตวั และ ๑,๐๐๐ โยชน์ ผิเม่ือปลาตัวชื่อติมรปิงคลอัน ยาวได้ ๕,๐๐๐ โยชนแ์ ละติงปีกซ้ายก็ดีติงปีกขวาก็ดี และติงปลายหางก็ดีติงหัวก็ดี และน้ำในสมทุ รนั้นก็สะเทือนตีฟอง ดังหม้อแกงเดือดไกลได้ ๔๐๐ โยชน์ ผิมนั ติงปกี ทั้งสองข้างและแกว่งหางแกว่งวั วัดแวงตีน้ำเลน่ น้ำนน้ั สะเทือนดินตีฟอง ไกลได้ ๗๐๐ โยชน์ ลางคาบตฟี องไกลได้ ๘๐๐ โยชน์ แรงปลาตวั อันชื่อตมิ ิรปงิ คลน้ันมกี ำลงั ดังกล่าวนีแ้ ลฯ และปลา ๔ ตัวน้ันยังใหญ่กว่านี้ย่ิงมีกำลังนักแลฯ ฝูงติรัจฉานดังครุฑราชดังเมื่อเป็นดุจดังติรัจฉานทั้งหลายแล เครื่องเขากินเขาอยู่ นน้ั เทพยดาในสวรรค์ไส้ และมเี ดชนตระบะศักดานุภาพ รู้หลักรู้นิมิตดงั เทพยดาในสวรรค์ โสดดังน้นั เรียกเขาช่ือเทพโย นิเลฯ และตีนเขาพระสุเมรุราชนั้น มสี ระใหญ่อนั หนึ่งไดช้ ่ือวา่ สิมพลีสร้างโดยกว้างได้ ๕๐๐ โยชน์ รอบนัน้ เทียรยอ่ มป่า ไม้ง้ิวเป็นรอบปลายไม้ง้ิวน้ันสูงเพียงกัน ดังแสร้งปลูกและเห็นเขียวงามและพึงพอใจนักหนาแล มีงิ้วใหญ่ต้นหน่ึงโดย ธรรมดาใหญเ่ ทา่ ไม้ชมพูทวีปเรานแี้ ล ต้นงวิ้ นนั้ ใหญ่ฝูงงิ้วนน้ั เป็นหนารอบ ฝ่ังสระน้ัน ๆ เป็นที่อยูแ่ ก่ฝูงครุฑทั้งหลายน้ัน และสัตว์อันมีปีกและจะเสมอด้วยครุฑหาบมิได้เลย ครุฑราชตัวเป็นพระญาแก่ครุฑท้ังหลายน้ัน มีตนน้ันใหญ่ได้ ๕๐ โยชน์ ขนปีกซ้ายก็ดีขนปีกขวาก็ดีหางก็ดีคอก็ดีย่อมยาว ๕๐ โยชน์ ปากนั้นยาวได้ ๙ โยชน์ และตีนท้ังสองยาวได้ ๑๒ โยชน์แล ผิแลเมือ่ ครุฑน้นั กางปีกไปล่วงกลางหาวเตม็ ท่ไี ปได้ ๗๐ โยชน์ ผเิ มอ่ื ครุฑนัน้ อา้ ปกี ออกใหเ้ ต็มทีไ่ ส้ได้ ๘๐ โยชน์ ตนครุฑน้ันมันใหญ่ดงั น้ันเรี่ยวแรงนักหนาแล ผิแลเม่ือจะเฉี่ยวเอานาคในกลางมหาสมุทร น้ำสมุทรน้ันแตกออกท้ังรอบ นน้ั ทุกแห่งได้แล ๑๐๐ โยชน์ มันจึงเอาเลบ็ รัดเอาหางนาคน้นั พาบินไปกลางหาวเอาหวั นาคหยอ่ นลงมาเบ้ืองต่ำจงึ พาไป ยังท่ีอยู่แลก็กิน เม่ือครุฑราชเอานาคกินดังนั้น เอาแต่นาคอันเท่าตนและน้อยกว่าตนดังนั้นบมิได้เอากินไส้ แลใหญ่กว่า ตนนั้นกเ็ อากนิ บมไิ ดแ้ ลฯ ครฑุ ราชอันเปน็ ชลาพชุ โยนิและอัณฑชโนยใิ ดไส้ อันจะเอานาคอนั สงั เสทชโยนิ แลอปุ ปาติกโย นินั้นดีกว่าตน ดังนั้นบมิได้ ฝูงครุฑก็ดีเทียรย่อมเป็นในโยนิ ๔ อันแลฯ เม่ือไฟไหม้กัลปแล้วแลตั้งแผ่นดินใหม่ บมิได้ตั้ง ทุกแห่งบมิเป็นโดยธรรมดาแต่กอ่ นมีท่ีเปลา่ ยังมีลางแห่งเปล่าโดยกว้างโดยสูงได้แล ๓๐๐ โยชน์ก็ยังมี ลางแงโดยกว้าง ๓๓
โดยสูงแลได้ ๔๐๐ โยชน์ก็มี ลางคาบลางแงโดยกว้างโดยสงู ได้ ๗๐๐ โยชนก์ ม็ ี แลท่ีนั้นกลายเปน็ แผ่นดนิ เสมอกนั ทกุ แห่ง เลื่อมขาาวงามดังแผ่นเงินยวงมีหญ้าแพรกเขียวมันเหมือนตามกันโดยสูง ๔ นิ้วมือ เขียวงาม ๓ นิ้วมือ ดังแผ่นแก้ว ไพฑูรย์ฉันน้ันแลฯ ดูรุ่งเรืองท่ัวแผ่นดินมีเหมือนดังน้ันทุกแห่ง และมีสระหลายอันเทียรย่อมดาษไปด้วยดอกบัว ๕ ส่ิง แลดูงามนกั หนา มีฝูงต้นไม้ทัง้ หลายเป็นต้นเป็นลำงามแลมไิ ดเ้ ป็นด้วงเปน็ แลง แลเป็นลูกเป็นดอกดูตระการงามนกั หนา แลมีเชือกเขาเถาวัลย์ลางสิ่งเป็นดอกแดงลางสงิ่ เป็นดอกขาว ลิงสิ่งเป็นดอกเหลือง ดูรุ่งเรืองงามแต่ท่ีนั้นทุกแห่งดงั ท่าน แสร้งแต่งไว้ แลแห่งนั้นเรียกช่ือว่านาคพิภพแลเป็นที่อยู่แก่ฝูงนาคทั้งหลายแล แลมีปราสาทแก้วแลมีปราสาทเงินแลมี ปราสาททองงามนักหนา แลมที ี่อันเปล่าอยู่น้ันลางแห่งหาสิ่งอันจะอยู่บมิได้ หากเปน็ ทก่ี ลวงอยู่เปล่าอยไู่ ส้ในใตเ้ ขาพระ มพานต์กว้างได้ ๕๐๐ โยชน์ เป็นเมืองแห่งนาคราชจำพวก ๑ อยู่แงน้ัน แลมีแก้ว ๗ ประการเป็นแผ่ นดินงามดัง ไตรตรึงษ์อันเป็นที่อยู่ของพระอินทร์เจ้านั้น แลมีสระใหญ่ ๆ นั้นหลายอันอยู่ทุกแห่ง แลเป็นท่ีอยู่แห่งฝูงนาคแต่ไปเล่น ทุกตาไป แลน้ำน้ันใสงามบมิชระไชรยดุจแผ่นแก้วอันใหญ๋และท่านชัดหลายคราแลมีท่าอันราบนักหนา ที่นาคแรงอาบ แรงเลน่ น้ันมีฝฝุงปลาใหญ่ไหลไปขบปลาเล็กแฝงจอกดอกบัว ๕ สิ่งบานอยู่ดูตระการทุกแห่ง ดอกบัวหลวงดวงใหญ่เท่า กงเกวยี น ผเิ มอื่ นำ้ สะเทอื นไหวไปมาดงู ามนกั หนาดังแสรง้ แตง่ ไว้นัน้ แลฯ นาคจำพวกหนึง่ ในสมทุ รถา้ แลเมื่อใดฝูงนาคตัว เมียแลมีครรภ์แก่ แลเขาคำนึงในใจเขาว่าฉันนี้ผิแลว่าออกลูกในกลางสมุทรน้ี ๆ ตีฟองนักหนา แลอีกท้ังนกน้ำก็ตีฟอง ด้วยลมปีกครุฑโสดฝงู ตวั มีครรภ์อนั แก่นั้นเขากด็ ำน้ำลงไปออกจากแม่น้ำใหญ่ ๕ อัน อนั ชือ่ ว่ คงคา ยมนา อจิรวดี สรภู มหิ มหานทีอันใหญ่ไปสู่มหาสมุทรใหญ่ น้ันจึงดำน้ำน้ันข้ึนไปเถิงป่าใหญ่อันชื่อพระหิมพานต์น้ัน มีถ้ำคูหา คำหมู่ครุฑ ไปบมเิ ถิงจงึ คลอดลกู ไว้ในทีแ่ หง่ นน้ั แลว้ แลอยู่เลย้ี งดูลูกในที่นนั้ ตอ่ เม่อื ลกู ตนนน้ั กล้าแล้วจึงพาไปยังน้ำลกึ เพยี งหนา้ แข้ง แลสอนใหว้ ่ายน้ำแรงวา่ ยวังแรงพาไปเถิงที่น้ำลึกแลน้อยถ้วน ๒ ครี้งว่าเห็นลูกตนนั้นใหญแ่ ลรวู้ ่ายดแี ล้วจึงพาลูกนัน้ ว่าย แม่น้ำใหญ่ตามไปตามมา ผิว่าลูกน้ันตามพลันแล้วนาคน้ันจึงนฤมิตให้ฝนนั้นตกหนัก และให้น้ำน้ันนองเต็มป่าพระหิม พานตค์ ่าน้ำสมุทรแลว้ จึงนฤมิตปราสาททองคำอันประดบั นิ์ด้วยแก้วสตั ตพิธรตั ตะอันรุ่งเรอื งงามนักหนาแล ในปราสาท นั้นมีเครอื่ งประดับน์ิแลเครอ่ื งบรโิ ภคทั้งเครอ่ื งกินเครือ่ งอยู่นน้ั เทียรย่อมเป็นทิพย์ทุกประการดงั วิมานเทพยดาในสวรรค์ น้ันแลฯ นาคน้ันจึงเอาลูกตนข้ึนอยู่บนปราสาทน้ันแล้ว แล้วจึงเอาปราสาทน้ันลอยล่องน้ำลงมาเถิงมหาสมุทรท่ีลึกได้ ๑,๐๐๐ วา จงึ พาเอาปราสาทแลลกู ตนนัน้ ดำน้ำลงไป อย่สู มทุ รนน้ั แลฯ นาคนัน้ ยงั มีสองสิ่ง ๆ หนง่ึ ช่อื ถลชะ สงิ่ หนึง่ ชื่อ ชลชะ ฯ นาคอันช่ือถลชะน้ันนฤมิตตนได้แต่บนบกไส้ แลในน้ำน้ันนฤมิตบมิได้ฯ นาคอันช่ือชลชะน้ันนฤมิตตนได้แต่ใน น้ำ แลบนบกไส้ตนนฤมิตรบมิได้ ที่เขาเกิดที่เขาตายก็ดีท่ีเขานอนก็ดีที่เขาสมาคมด้วยกันน้ันก็ดี ท่ีเขาลอกคราบเขาก็ดี แลในสถานท้ังนี้แลเขาอยแู่ หง่ ใดแห่งหน่งึ ก็ดี เขาบมิอาจนฤมิตตนเขาใหเ้ ป็นอันอ่ืนไส้หาบมิได้ ผแิ ลเขาไปสถานแงอื่นไส้ เขาจึงนฤมิตตนเขาใเป็นอันอื่นไปแล แม้นว่าเขาจะนฤมิตตนเขาให้งามดังเทพยดาก็ได้แล ผินาคตัวเมียจะนฤมิตตนให้ งามดังนางเทพยธิดาอปั สรกไ็ ด้แลฯ ผเิ มือ่ นาคนั้นจะไปล่าหากินแลเป็นส่งิ ใด อันหาเยื่อกินได้ง่ายนั้นไส้ เขากย็ ่อมนฤมิต ตนเขาเป็นสงิ่ น้ันแล แล้วเขาจึงเที่ยวขึ้นมาล่าหากนิ ในแผ่นดนิ นี้ ลางคาบเขาเป็นงูไซ ลางคาบเขาเป็นงูกระสา ลางคาบ ๓๔
เขาเป็นงเู ห่า ลางคาบเขาเปน็ งูเขยี ว ลางคาบเขาเป็นงูอ่ืน ลางคาบเขาเป็นสัตว์อ่ืน แลเขาล่าหากินแลเหตุว่าเขานั้นชาติ ติรัจฉานแลฯ ตัวอยา่ งเนอื้ ความตอนท่ี ๓ ผูห้ ญิงอันมีครรภ์ด้วยชลามพชโยนิ เม่ือแรกก่อเป็นน้ันน้อยนักหนาเรียกชื่อวา่ กัลละหัวปีมีเท่าน้ี เอาผมคนใน แผ่นดินเราอยู่นี้มาผ่าออกเป็น ๘ คาบ เอาแต่คาบเดียวมาเปรียบเท่าผมคนในแผ่นดินอันช่ือว่าอุตตรกุรุน้ัน แลเอาเส้น ผมของชาวอุตตรกรุ นุ นั้ แตเ่ สน้ หนึ่งชบุ นำ้ มนั งาอนั ใสงามนัน้ เอามาสลัดได้ ๗ คาบแล้วจงึ ถืออยู่ น้ำมนั นน้ั ย้อยลงมาปลาย ผมนั้นท่านว่ายังใหญ่กวา่ กัลละนั้นเลยฯ ทรายอันช่ือชาติอุนนาโลมอันอยู่ในตีนเขาพระหิมพานต์ แลเส้นขนน้ันยังน้อย กว่าเส้นผมชาวอุตตรกุรุทวีปนั้นเล่า ให้เอาชนทรายอันชื่อชาติอนุ นาโลมเส้นหน่งึ ชบุ น้ำมันงาอันใสงามเอาออกมาสะลัด เสียได้ ๗ คาบ แล้วจึงถืออยู่ น้ำมันนั้นย้อยลงมาในปลายขนทรายน้ัน จึงเท่ากลั ลละนัน้ ไส้ กัลลละนั้นไสงามนักหนาดัง นำ้ มันงาอนั พง่ึ ตกั ใหม่ งามดงั เปรยี งประโคอนั แรกออกใหม่ ตัวอยา่ งเน้อื ความตอนที่ ๔ ฝูงที่อันมาเกิดเป็นพระปัจเจกโพธิเจ้าก็ดี แลเป็นพระอรหันตาชีณาสพเจ้าก็ดี แลมาเป็นพระองค์อรรคสาวก เจ้าก็ดี เม่ือธแรกมาเอาปฏิสนธินั้นก็ดี เม่ือธอยู่ในท้องแม่น้ันก็ดีแล สองส่ิงน้ี เมื่ออยู่ในท้องแม่นั้นบห่อนจะรู้หลงแลยัง คำนงึ รอู้ ยูท่ ุกวนั เม่อื จะออกจากท้องแมว่ ันนัน้ ไส้เ จึงลมกรรมชวาตก็พัดให้หวั ผนู้ ้อนนั้นลงมาสู่ท่จี ะออกแล คับแคบแอ่น นยั นักหนาเจ็บเนื้อเจ็บตนลำบากนักหนา เจ็บเน้ือเจ็บตนลำบากนักดังกล่าวมาแต่กอ่ น แลพลิกหวั ลงบมิได้รสู้ ึกสกั อันบ เริ่มดังท่านผู้จะออกมาเป็นพระปัจเจกโพธิเจ้าก็โ ผูจ้ ะมาเกดิ เป็นลกู พระพทุ ธเจ้าก็ดี คำนึงรู้สึคกตนแลบมหิ ลงแตส่ องส่ิง น้ี คือเมื่อจะเอาปฏิสนธแิ ลอยู่ในท้องแม่นั้นได้แลฯ เมื่อจะออกจากท้องแม่นั้นย่อมหลงดจุ คนทั้งหลายนี้แลฯ ส่วนว่าคน ทั้งหลายน้ีไส้ย่อมหล่งท้ัง ๓ เมื่อควรอ่ิมสงสารแลฯ พระโพธิสัตว์เจ้าเม่ือชาติลงมาตรัสแก่สัพพัญญุตญาณ เมื่อแรกเอา ปฏิสนธิก็ดี เมื่ออยู่ในคตรรภ์ก็ดี แลเสด็จจากครรภ์ก็ดี พระมารดาก็ดี บห่อนจะรู้หลงสักทีย่อมคำนึงรู้ทุกประการแลฯ เมื่อพระโพธิสัตว์อยู่ในครรภ์พระมารดาน้ันบมิเหมือนดุจคนท้งั หลายเบื้องหลัง พระโพธิสัตว์ผูกหลังท้องแม่แลนงั่ พแนง เชิงอยู่ดังนักปราชญ์ผู้งามนั้นน่ังเทศนาในธรรมาสนนั้น ตัวแห่งพระโพธิสัตว์เจ้าน้ันเรืองงามดังทอง เห็นออกมารอง ๆ ดังจะออกมาภายนอกท้อง มารดาโพธิสัตว์ก็ดีแลผู้อื่นก็ดี ก็เห็นรุ่งเรอื งงามดังท่านเอาไหมอนั แดงน้ันมารอ้ ยแก้วขาวน้ัน แบฯ เม่ือพระโพธิสัตว์เสด็จออกจากท้องแม่ ลมอันเป็นบุญนั้นบมิได้พัดใหห้ ัวลงมาเบ้ืองต่ำแลให้ตีนขึ้นเบ้ืองบนดังสัตว์ ทงั้ หลายนนั้ หาบมไิ ดฯ้ เมือ่ พระโพธิสัตวจ์ ะออกจากครรภม์ ารดานั้ นธเหยยี ดตนี แลเมอ่ื ธออกแลว้ ธลกุ ยนื ขนึ้ แลว้ ธจงึ ออก จากท้องแม่ธแลฯ แต่เมื่อธยังเป็นฯ แต่มนุษย์ทั้งหลายอันมาเกิดในท้องแม่มนั้น และจะมีประดุจเป็นโพธิสัตว์เมื่ปัจฉิม ชาติจักได้ตรสั เป็นพระน้ีบห่อนมีเลย แต่ก่อน ๆ โพ้นไส้ย่อมเป็นโดยปรกติคจนทั้งหลายนี้แลฯ เม่ือพระโพธสิ ัตว์เนสด็ จลงมาเอาปฏสิ นธิเม่ือธสมภพกด็ ี แผ่นดนิ ไหวได้แลหมนื่ จักรวาลท้ังน้ำอนั ชแู ผ่นดินก็ไหว ทั้งน้ำสมุทรก็ฟูมฟอง เขาพระ ๓๕
สุเมรุราชก็ทรงอยู่บมิได้ ก็หว่ันไหวด้วยบุญสมภารพระโพธิสัตว์เจ้าผู้มาตรัสเป็นพระพุทธเจ้านั้นแลฯ อันว่าปรกติคน ทั้งหลายในโลกย์นี้กโ็ องค์พระโพธิสัตว์เจ้าก็ดี ติรจั ฉานทัง้ หลายก็ดี ครน้ั ว่าออกมาจากท้องแม่แลไส้ อันว่าเลือดซ่ึงมีอยู่ ในอกแมน่ ้ันเหตุว่าแม่ตจนมีใจรกั นัก จึงเลอื ดท่ีในอกของแม่น้ัน ก็กลายเป็นน้ำมันไหลออกมาของแม่ให้ลูกนั้นได้ดูดกิน อนั น้ีเปน็ วสิ ยั แห่งโลกยท์ ัง้ หลายแลฯ ตัวอยา่ งเน้ือความตอนท่ี ๕ คนท้ังหลายอันช่ือว่ามนุษย์น้ีมี ๔ จำพวก จำพวกหน่ึงเกิดแลอยู่ในชมพูทวีปนี้แลฯ คนจำพวกหนึ่งเกิดแลอยู่ ในแผน่ ดินบุรพวิเทหเบ้ืองตระวนั ออกเรา คนจำพวกหน่ึงเกดิ แลอยู่ในแผ่นดินอุตรกุรุทวีปอยู่ฝ่ายเหนือเราน้ี คนจำพวก หน่ึงเกิดแลอย่ใู นแผ่นดินอมรโคยานทวีปเบือ้ งตระวนั ตกเราน้ี ฯ คนอันอยใู่ นแผ่นดนิ ชมพูทวีปอนั เราอย่นู ้ี หน้าเขาดงั ดุม เกวียน ฝูงคนอันอยู่ในบรุ พวิเทหะหน้าเขาดังเดือนเพ็งแลกลมดังหนา้ แว่นฯ ฝูงคนอนั อยู่ในอตุ รกุรุนั้นแลหน้าเขาเป็น ๔ มุมดุจดังทา่ นแกล้งถากใหเ้ ปน็ ๔ เหลยี่ มกวา้ งแลรนี ้ันเท่ากนั แลฯ ฝูงคนอันอยใู่ นแผ่นดนิ อมรโคยานทวปี น้ัน หนา้ เขาดัง เดอื นแรม ๘ ค่ำนน้ั แลฯ อายุคนทั้งหลายอนั อยู่ในชมพูทวปี น้บี ห่อนจะรู้ขึ้นรู้ลง เพราะเหตุว่าดังน้ีลางคาบคนท้งั หลายมี ศลี มีธรรม ลางคาบคนทั้งหลายหาศีลหาธรรมบมิได้ฯ ผิแลวา่ เม่ือคนทั้งหลายนั้นมีศลี อยู่ไส้ ย่อมกระทำบุญแลธรรมแล ยำเยงผ้เู ฒา่ ผูแ้ กพ่ ่อแม่ แลสมณพราหมณาจารย์ดงั น้ันแลอายคุ นทง้ั หลายนน้ั กเ็ ร่งจำเรญิ ข้นึ ไป ๆ เนอื ง ๆ แลฯ ผแิ ลว่า คนทงั้ หลายมิได้จำศีลแลมิไดท้ ำบุญ แลมิได้ยำเกรงผเู้ ฒ่าผู้แกพ่ อ่ แมแ่ ลสมณพราหมณาจารยค์ รูบาธยายแล้วดังนั้นไส้ อนั ว่าอายุคนท้ังหลายนน้ั กเ็ ร่งถอยลงมา ๆ เนือง ๆ แลฯ แลอายุคนในแผ่นดินชมพูทวีปเราน้ีว่าหากำหนดมไิ ด้เพราะเหตุ ดังนั้นแลฯ อนั ว่าฝูงคนอันอยูใ่ นบุรพวิเทหะนั้นแลอายเุ ขายืนได้ ๑๐๐ ปี เขาจึงตายฯ อนั วา่ ฝูงคนทั้งหลายอันอยใู่ นอมร โคยานทวีปน้ันอายเุ ขายืนได้ ๔๐๐ ปจี ึงตายแลฯ อันว่าฝงู คนอนั อยใู่ นอตุ รกรุ ุทวีปนั้น อายุเขายืนได้ ๑๐๐๐ ปจี ึงตายแล ฯ แลอายคุ นทง้ั ๓ ทวีปน้นั บหอ่ นจะร้ขู ้ึนรู้ลงเลยสักสาบ เพราะวา่ เขานัน้ อยใู่ นปญั จศีลทุกเมื่อบมิได้ขาด เขาบห่อนจะรู้ ฆ่าสัตว์ตัวเป็นให้จำตายเขาบห่อนจะรู้ลักเอาทรัพย์สินท่านมากก็ดีน้อยก็ดีอันเจ้าของมิได้ให้ เขาบห่อนจะรู้ฉกลักเอา อนง่ึ เขาบห่อนจะร้ทู ำชู้ด้วยเมียท่านผู้อืน่ สว่ นว่าผู้หญงิ เลา่ เขาก็บห่อนจะรู้ทำชู้ด้วยผัวทา่ นแล ผู้อืน่ แลเขาบห่อนจะรู้ทำ ช้จู ากผัวของตน อน่ึงเขาบห่อนจะรู้เจราจามุสาวาทแลเขาบห่อนจะรู้เสพย์สุรายาเมา แลเขารู้ยำรู้เกรงผู้เม่าผู้แก่พ่อแล แม่ของเขา ๆ รู้รักพี่รู้รักน้องของเขา ๆ ก็ใจอ่อนใจอดเขารู้เอ็นดูกรุณาแก่กัน เข่บห่อนจะรู้ริษยากัน เขาบห่อนจะรู้ เสียดรู้ส่อร้ดู า่ รู้ทอรู้พ้อรู้ตดั กันแล เขาบห่อนจะรเู้ ฉลาะเบาะแวง้ ถงุ้ เถียงกัน เขาบห่อนจะรู้ชิงช่วงหวงแหนแดนแลท่บี า้ น รู้ร้าวของกันแล เขาบห่อนจะรู้ทำขม่ เหงเอาเงินเอาทองของแก้วลูกแลเมยี แลข้าวไร่โคนาหัวป่า ค่าทีห่ ้อยละหานธารน้ำ เชิงเรือนเรือกสวนเผือกมันหัวหลักหัวต่อหัวล้อหัวเกวียน เขามิรู้เบียดเบียนเรือชานาวาโคมหิงษาช้างม้าข้าไทย สรรพ ทรัพย์สิ่งสินอันใดก็ดี เขาบห่อนรู้ว่าของตนท่านดูเสมอกันสิ้นทุกแห่งแล เขาน้ันบห่อนทำไร่ไถนาค้าขายหลายส่ิงเลยฯ เบ้อื งตระวันนตกเขา พระสเุ มรุใหญ่ อันชอื่ ว่า อมรโคยาน ทวีปนน้ั โดยกว้างได้ ๙๐๐๐ โยชน์ แลมีแผ่นดินล้อมรอบเป็น บรวิ าร ฝงู คนอันอยู่ทีใ่ นแผ่นดินนน้ั หน้าเขาดังเดอื นแรม ๘ ค่ำ แลมีแมน่ ้ำใหญ่แลแมน่ ้ำเล็บแลเมืองใหญแ่ ลเมืองน้อย มี ๓๖
นครใหญ่กว้าง ๆ น้ำน้ันเบอื้ งตระวนั ออกเขาพระสุเมรนุ ัน้ มแี ผน่ ดินใหญ่อนั หนง่ึ ชือ่ ว่าบุพพวเิ ทหทวปี ๆ นัน้ โดยกวา้ งได้ ๗๐๐๐ โยชน์ ด้วยปรมิ ณฑลรอบไสไ้ ด้ ๒๑,๐๐๐ โยชน์ แลมีแผ่นดินเล็กได้ ๔๐๐ แผน่ ดินล้อมรอยเป็นบริวาร ฝูงคนอยู่ ท่ีนั้นหนา้ เขากลมดังเดือนเพง็ แลมแี มน่ ำ้ ใหญ่แมน่ ้ำเลก็ มีเขามเี มืองใหญ่เมืองนอ้ ย ฝงู คนอันอย่ทู ่นี นั้ มากมายหลายนกั แล มีท้าวพระญาแลมีนายบ้านนายเมอื งฯ แผ่นดนิ เบื้องตีนนอนพระสิเนรุน้นั ชือ่ วา่ อตุ ตรกรุ ุทวีปโดยกว้างได้ ๘,๐๐๐ โยชน์ แผ่นดินเลก็ ได้ ๕๐๐ แผน่ ดินนั้นล้อมรอบเป็นบริวาร ฝูงคนอยู่ในที่นั้นหนา้ เขาเป็น ๔ มุมแลมีภเู ขาทองล้อมรอบ ฝูงคน ท้ังหลายอยู่ที่น้ันมากหลายนัก เทียรย่อมดีกว่าคนทุกแห่งเพื่อว่าเพราะบุญเขาแลเขารักษาศีล แลแผ่นดินเขาน้ันราบ เคียงเรียงเสมอกันดูงามนักหนา แลว่าหาที่ราบที่ลุบขุบที่เทงมิได้ แลมีต้นไม้ทุกส่ิงทุกพรรณแลมีกิ่งตาสาขางามดีมี ค่าคลบม่ังคั่งดังแกล้งทำไว้ ไมฝ้ ูงนั้นเป็นเย่าเป็นเรือนเลือนกันเข้ามอง งามดังปราสาทเป็นที่อยู่ทนี่ อน ฝูงคนในแผ่นดิน ชาวอุตรกุรุทวีป แลไม้นั้นหาด้วงหาแลงมิได้แลไม่มีท่ีคดท่ีโกง หาพุกหาโพรงหากลวงมิได้ ซ่ือตรงกลมงามนักหนาแลมี ดอกเทียรย่อมมีดอก แลลกู อยูท่ ุกเมอ่ื บมไิ ด้ขาดเลยฯ อนึ่งทีใ่ ดแลมีบงึ มีหนองมีตระพังทงั้ น้ัน เทียรย่อมมีดอกบวั แดงบัว ขาวบวั เขียวบัวหลวง แลกระมทุ อุบลจลกรณแี ลนลิ บุ ลบัวเผื่อนบัวขม ครั้งลมพดั ตอ้ งมกี ล่ินอันหอมขจรอยู่มิร้วู ายสกั คาบ ฯ คนฝูงนั้นบมิต่ำ บมิสูง บมิพี บมิผอม ดูงามสมควรนัก คนฝูงนั้นเร่ียวแรงอยู่ชั่วตนแต่หนุ่มเถิงเฒ่าบมิรู้ถอยกำลังเลย แลคนชาวอุตรกุรุน้ันหาความกลัวบมิได้ด้วยจะทำไร่ไถนาค้าขายวายล่องทำมาหากินดังน้ันเลยสักคาบอน่ึงชาวอุตรกุรุ น้ันเขาบห่อนจะรู้ร้อนรู้หนาวเลย แลมิมีใญ่ข่าวแลร้ินร่านหานยุง แลงูเง้ียงเปียวของทั้งหลายเลแลสารพสัตว์อันมีพิษ บห่อนจะรู้ทำร้ายแก่เขาเลยท้ังลมแลฝนก็บห่อนจะทำร้ายแก่เขา ทั้งแดดก็บห่อนจะรู้ร้อนตัวเขาเลย เขาอยู่แห่งน้ันมี เดือนวันคืนบห่อน จะรู้หลากสักคาบหน่ึงเลย แลชาวอุดรกุรุนั้นบห่อนจะรู้ร้อนเนื้อเดือดใจ ด้วยถ้อยความสิ่งอันใด บห่อนจะมีสักคาบ แลชาวอุตรกุรุน้ันมีช้าวสารส่ิงหนึ่ง ขชีเตนสาลีบมิพัดทำนาแลข้าวสาลีนั้นหากเป็น้ต้นเป็นรวงเอง เป็นข้าวสารแต่รวงนั้นมาเองแล ข้าวน้ันข้าวแล หอมปราศจากแกลบแลรำบมิพักตำ แลฝัดแลหากเป็นข้าวสารอยู่แล เขาชวนกันกินทกุ เม่อื แล ในแผน่ ดินอุตรกุรนุ ัน้ ยังมศี ลิ าสิ่งหนึ่งชื่อโชตปิ ราสาท คนทัง้ หลายฝูงน้ันเอาข้าวสารนั้นมาใส่ใน หม้อทองอันเรืองงามดังแสงไฟ จึงยกไปตั้งลฝงเหนือศิลาอันชือ่ ว่าโชติปราสาท บัดใจหน่ึงก็ลกุ ขึ้นแต่ก้อนศิลา อันช่ือว่า โชติปราสาทนั้น ครั้นว่าข้าวน้ันสุกแล้วไฟน้ันก็ดับไปเองแลฯ เขาแลดูไฟน้ัน ครั้นเขาเห็นไฟน้ันดบั แล้วเขาก็รู้ว่าข้าวน้ัน สุกแล้ว เขาจึงเอาถาดแลตระไลทองน้ันใสงามนั้นมา คดเอาข้าวใส่ในถาดแลตระไลทองน้ันแลฯ อันว่าเคร่ืองอันจะกิน กับข้าวน้ันฉแม่นว่าเขาพอใจจักใคร่กินส่ิงใด ๆ เขามิพกั หาส่ิงนั้น หากบังเกดิ ข้ึนมาอยู่แทบใกล้เขาน้ันเองแลฯ คนผู้กิน ขา้ วนั้นแลจะรู้เป็ฯหิดแลเร้ือนเกล้ือนแลกากหูแลเปา เป็นต่อมเป็นเตาเป็นง่อยเป็ฯเพลียตาฟูหูหนวกเป็นกระจอกงอก เงอื ยเปือยเน้ือเม่ือยตน ท้องข้ึนท้องพองเจ็บท้องต้องไส้ปวดหวั มัวตา ไข้เจบ็ เหน็บเหนอ่ื ยวิการดังน้ีไสบห่อนจะบังเกิดมี แกช่ าวอตุ รกรุ นุ ั้นแต่สักคาบหนงึ่ เลยฯ ผวิ า่ เขากินข้าวอยแู่ ลมคี นไปมาหาเมอ่ื เขากินข้าวอยนู่ นั้ เขาก็เอาข้าวน้นั ใหแ้ ก่ผ้ไู ป เถงิ เขานัน้ กนิ ดว้ ยใจอันยนิ ดีบหอ่ นจะรูค้ ิดสักเมื่อเลนยฯ แลในแผน่ ดนิ อุตรกุรุทวีปน้ัน มตี ้นกลั ปพฤกษต์ ้นหน่งึ โดยสูงได้ ๑๐๐ โยชน์ โดยกว้างได้ ๑๐๐ โยชน์ โดยรอบบริเวณมณฑลได้ ๓๐๐ โยชน์ และต้นกลั ปพฤกษ์นัน้ ผ้ใู ดจะปราถนาหาทนุ ทรัพย์สรรพเหตุอันใด ๆ ก็ดี ย่อมได้สำเร็จในตน้ ไม้น้ันทุแประการแลฯ ถา้ แลคนผใู้ ดปราถนาจะใครไ่ ด้เงินแลทององแก้ว ๓๗
แลเครื่องประดับน์ิท้ังหลาย เป็นต้นว่าเส้ือสร้อยสนิมพิมพาภรณ์ก็ดี แลผ้าผ่อนท่อนแพรพรรณสิ่งใด ๆ ก็ดี แลข้าวน้ำ โภชนาหารของกนิ สิ่งใดกด็ ี ก็ยอ่ มบงั เกดิ ปรากฎขึ้นแต่คา่ คบต้นกัลปพฤกษ์นน้ั ก็ให้สำเรจ็ ความปรารถนาแกช่ นทั้งหลาย น้ันแลฯ แลมีฝงู ผูห้ ญิงอันอย่ใู นแผ่นดินนน้ั งามทุกคนรูปทรงเขาน้ันบมิต่ำบมสิ ูงบมพิ ีบมผิ อมบมิขาวบมิดำ สีสมบูรณ์งาม ดงั ทองอันสุกเหลอื งเรอื งเปน็ ที่พงึ ใจฝูงชายทกุ คนแลฯ น้ิวตนี น้ิวมือเขาน้นั กลมงามนะแน่ง เล็บตีนเล็บมือเขาน้ันแดงงาม ดังน้ำคร่ังอันท่านแต่งแล้วแลแต้มไว้ แลสองแก้มเขานั้นไสงามเป็นนวลดังแกล้งเอาแป้งผัด หน้าเขาน้ันหมดเกลี้ยง ปราศจากมลทนิ หาผ้าหาไผบมไิ ด้ แลเห็นดวงหนา้ เขาใสดจุ ดวงพระจันทรอ์ ันเพ็งบรู ณ์นั้น เขาน้ันมีตาอันดำดงั ตาแห่งลูก ทรายพึ่งออกได้ ๓ วันที่บูรณข์ าวกข็ าวงามดังสงั ขอ์ ันทา่ นพง่ึ ฝนใหมแ่ ลมฝี ีปากนั้นแดงดังลูกฝกั ข้าวอนั สกุ น้นั แลมลี ำแข้ง ลำขาน้นั งามดังลำกลว้ ยทองฝาแฝดนนั้ แล แลมที ้องเขานั้นงามราบเพียงลำตวั เขานั้นออ้ นแอน้ เกลย้ี งกลมงาม แลเส้นขน นั้นละเอียดอ่อนนัก ๘ เส้นผมเขาจึงเทา่ ผมเรานี้เส้นหน่ึง แลผมเขาน้ันดำงามดังปีกแมลงภเู่ มือ่ ประลงมาเถิงริมบ่าเบื้อง ตำ่ แลมปี ลายผมเขาน้นั งอนเบื้องบนทุกเส้น แลเม่อื เขาน่ังอยูก่ ด็ ี ยืนอยู่ก็ดี เดินไปก็ดี ดังจักแย้มหวั ทุกเมื่อ แลขนค้ิวเขา นั้นดำแลงามดังแกล้งก่อ เม่ือเขาเจรจาแลน้ำเสียงเขานั้นแจ่มใส่ปราศจากเสมหเขฬทั้งปวงแล ในตัวเขาน้ันเทียรย่อม ประดบั นิ์ด้วยเครื่องถนมิ อาภรณ์บวรยคุ นั ฐี แลมีรปู โฉมโนมพรรณอันงามดงั สาวอันได้ ๑๖ เขา้ แลรปู เขานั้นบหอ่ นร้เู ฒ่า รู้แก่แลหนุ่มอยู่ดังนั้นชั่วตนทุก ๆ แลฯ อันว่าฝูงผู้ชายอันอยู่ในแผ่นดินอุตรกุรุนั้นโสด รูปโฉมโนมพรรณเขานั้นงามดัง บา่ วหนุ่มน้อยได้ ๒๐ ปี มริ แู้ ก่บมริ เู้ ฒ่าหนมุ่ อยดู่ งั นน้ั ชวั่ ตนทกุ ๆ เลย ตัวอย่างเน้อื ความตอนท่ี ๖ สมเด็จพระเจ้าบัณฑูรเทศนาดังนี้ว่า พระพุทธเจ้าก็ดีแลพระปัจเจกโพธิเจ้าก็ดี แลพระอรรคสาวกเจ้าก็ดี แล พระอรหันตาขีณาสพเจ้าก็ดี แลโพธิสัตว์อันจะได้ตรัสเป็นพระพุทธเจ้าก็ดีแล พระญาจักรพรรดิราชก็ดี อันว่าผู้มีบุญ ทั้งหลายดังกลา่ วมานไ้ี ส้ ท่านบห่อนร้ไู ปเกดิ ในแผ่นดนิ ๓ อนั นัน้ เลย ทา่ นย่อมมาเกิดในแผ่นดินชมพทู วีปอนั เราอยนู่ แี้ ลฯ คนอันเกิดในแผ่นดนิ ชมพูทวีปนีเ้ ขาบป่อนไปเกดิ ในแผน่ ดนิ ๓ อันน้นั เลยฯ ฝงู คนอันอยใู่ นแผน่ ดินใหญใ่ หญ่ ๓ อันนั้นกด็ ี และคนอันอยู่ในแผ่นดินเล็กเลก็ ท้ัง ๒ พนั น้นั กด็ ีผแิ ลว่าเมื่อใดมีพระญาจกั รพรรดิราชไส้ คนทั้งหลายฝูงนนั ้นย่อมมาเฝ้า มาแหนท่านนั้นดังคนท้ังหลายอันอยใู่ นแผน่ ดินเราน้แี ลฯ เทียรย่อมไหว้นบคำรพยำเยงพระญาจักรพรรดริ าชเจ้านั้นแลฯ ท่านผู้เป็นพระญาจักรพรรดิราชน้ันท่านมีศักด์ิมียศดังนี้แลจะกล่าวแลลน้อยฯ แต่พอให้รู้ไส้คนผ้ใดที่ได้กระทำบุญแต่ ก่อนคือวา่ ได้ปฏิบัติบูชาแก่พระศรีรัตนตรัยแลรู้จักคุณพระพุทธเจ้าพระธรรมเจ้าพระสงฆ์เจ้าแลให้ทานรักษาศีลเมตตา ภาวตา ครั้นตายก็เอาตนไปเกดิ ในสวรรค์ ลางคาบเล่าไดไ้ ปเกิดเป็นท้าวเป็นพระญาผใู้ หญ่ แลมศี กั ด์มิ ยี ศบรวิ ารเปน็ อเนก อนันต์ไส้ ได้ปราบทั่วท้ังจักรวาลแลฯ แม้ท่านว่ากล่าวถ้อยคำส่ิงใดก็ดีแล บังคับบัญชาสิงใดก็ดีเทียรย่อมชอบด้วยทรง ธรรมทุกประการแลฯ ท่านน้ันเป็นพระญาทรงพระนามช่ือว่าพระญาจักรพรรดิราชแลฯ พระญามีบญุ ดังนั้นใจฉมักใคร่ ฟังธรรมเทศนานัก ย่อมฟังธรรมเทศนาแตส่ ำนักน์สิ มษพราหมณาจารย์ แลนกั ปราชผู้รู้ธรรมฯ แลพระญานั้นธทรงปัญจ ศีลทุกวารบมิได้ขาดในวันอุโบสถศีลไส้ย่อมทรงอัฏฐศีลทุกวันอุโบสถมิขาดฯ ในวันเพ็งบูรณไส้ คร้นั เมื่อเช้าธย่อมให้แต่ ๓๘
ธนทรัพย์สรรพเหตุอันอเนกน้ันแล้ว ธให้ขนเอามากองไว้ที่หน้าพระลานไชย แลธแจกให้เป็นทานแก่คนอันเที่ยวมาขอ ครั้นว่าธแจกทานสิ้นแล้วธจึงชำระสระพระเกษแลสรงน้ำด้วยกัลออมทองคำอันอบไปด้วยเครื่องหอม ได้ละพันกัลออม แล้ว ธจึงทรงผา้ ขาวอันเน้ือละเอียดน้ันแล้ว ธจึงเสวยโภชนาหารอันมีรสอันดีดุจมีในสวรรค์น้ันฯ แลว้ ธจึงเอาผ้าขาวอัน เนอ้ื ละเอียดอันชือ่ ว่าผ้าสกุ ลุ พัตร์มาห่มแลพาดเหนือจะงอยบา่ แล้วจงึ สมาทานเอาศีล ๘ อัน แล้วธจงึ เสดจ็ ลงไปนง่ั กลาง แผ่นดินทองอันประดับนิ์ด้วยแก้วแลรุ่งเรืองงามดังแสงพระอาทิตย์แล กอประด้วยฟูกเมาะเบาะแพรแลหมอนทอ ง สำหรับย่อมประดับนิด์ ้วยแก้วส้ัตตพิธรตั นะแท่นทองน้ันอยู่ในปราสาทแกว้ อันรุ่งเรืองงามนักหนา แลพระญานั้นธรำพึง เถิงทานอันธใหน้ ้ันแลรำพึงเถิงศีลอันธรักษาอยู่นั้น แลธรำพึงเถิงธรรมอันทรงไว้นั้นธก็เมตตาภาวนาแล ดว้ ยอำนาจบุญ สมภารนนั้ ธจึงไดป้ ราบทว่ั ทง้ั จกั รวาลดงั นั้นแล ฯ ตัวอย่างเนื้อความตอนที่ ๗ ด้วยเดชบุญท่านผู้ไดเ้ ป็นพระญามหาจักรพรรดริ าชนั้น แลวา่ ยังมีนางแก้วผู้หนงึ่ ไส้ ลางคาบมีผหู้ ญงิ ผู้มีบุญอัน ได้กระทำมาแต่ก่อน แลนางนั้นมาเกิดในแผ่นดินเราอยู่น้ี ย่อมมาเกิดในเมืองอันชื่อมัททราฐเกิดในตระกูลกษัตริย์ดัง ทั้งหลายจงึ ได้กลา่ วมาเป็นเมียของพระญามหาจกั รพรรดิราชน้ันแลฯ ผิแลว่าหาผู้หญิงอันมีบญุ บมิไดใ้ นแผน่ ดนิ เราอยู่นี้ ไส้ อันเพื่อบุญของพระญามหาจักรพรรดิราชนั้นไปชักนำมา นางแก้วอันมีอยู่ในแผ่นดินอันช่ือว่อุตรน้ันมากับท้ังเคร่ือง สำหรบั สัพพาภรณ์ อนั แล้วด้วยแก้วสัตตพิธรัตน แลรุ่งเรืองงามนักหนาแลมาโดยอากาศดุจดงั นางฟ้าแลลงมาไหวม้ านบ พระญามหาจักรพรรดิราชเจ้านั้นแลฯ อันว่านางแก้วนั้นโสดบมิต่ำบมิสูงพองามพอดี สมควรถูกเนื้อจำเริยใจฝูงคน ทั้งหลาย แลมีฉวีวรรณเกลาเกลยงหมดใสงามหนักหนา มาตรว่าละอองธุลผี งน้อยหนึ่งจะติดแปดกายน้ันก็บมเี ลยดจุ ดัง ดอกบัวแลถูกน้ำนั้นแลฯ ในกายแห่งนางแก้วน้ันมีลักษณะอันอุดมถ้วนทุกแห่ง งามเพิงใจคนทั้งหลายทุกคนในเมือง มนุษย์เรานี้แลฯ แต่เท่าว่ามิเท่านางฟา้ เมืองไตรตรึงษาสวรรค์นั้น เพราะเหตุหารศั มีบมไิ ดแ้ ลฯ อันว่านางฟ้าท้ังหลายใน สำนักน์ิพระอินทร์มีรัศมีออกจากตัวเขาไกลนกั เม่ือน้ันบุญนางแก้วนั้นมีรศั มีไหลออกจากตัวนางแก้วน้ันได้แล ๑๐ ศอก ท้งั หลายรอบตวั นางน้ั นแม้นวา่ มดื เท่าใดกด็ ีบมพิ กั หาเทยี นแลชวาลาเลย แลนางแก้วมีพระพักตร์เกลาเกลี้ยงหมดใสงาม นักหนา แลเน้ือแลหนังน้ันอ่อนดังสำลีอันพานสพัดได้ละร้อยคาบแลชุบเปรียงประโคจามรีอันใสงามนักหนาฯ เม่ือตัว พระญามหาจักรพรรดิราชน้ันเย็นแลหนาวไส้ตัวนางแก้วนั้นอุ่น เมื่อใดมหาจักรพรรดิราชน้ันร้อนไส้ตัวนางแก้วน้ันเย็น ตัวนางแก้วนั้นหอมดังแก่นจันทน์กฤษณษอันบดแล้วแลปรุงลงด้วยคันธรสอันหอมทั้ง ๔ ประการแลห้องฟุ้งอยู่นักหนา ทุกเม่ือแลฯ เมื่อแลนางแก้วเจรจาก็ดี หัวร่อก็ดี กลน่ิ ปากนางแก้ว น้ันหอมฟุ้งออกดังกลนิ่ ดอกบัวอันชื่อว่า นิลุบบล แล จงกลนี เมื่อบานอยู่นั้น อันว่ากล่ินปากแห่งนางแก้วน้ีหอมอยู่ดังนั้นทุกเม่ือแลฯ เมื่อใดแลพระญามาหามาสู่นางแก้ว ๆ นน้ั มิได้นั่งอยู่ในท่ีอยู่ตนน้ันย่อมลุกไปต้อนรับพระญาแล้ว ๆ เอาหมอนทองมาน่ังเฝ้าอยู่พัดพระญาน้ัน ๆ แล้ว ๆ นาง จึงนวดฟั้นค้ันบาทาแลกรของพระญานั้นแล้วจึงน่ังอยู่เบื้องต่ำ นางแก้วน้ันบห่อน จะข้ึนนอน เหนือแท่นแก้ว ก่อน พระญามหาจักรพรรดิราชน้ันเลยสักคาบ นางแก้วนั้นบห่อนลงจากแท่นแก้วนั้นภายหลังพระญาเลยสักคาบฯ แม้นว่า ๓๙
นางแก้วนน้ั จะกระทำการงานอนั ใดๆ กด็ ยี อ่ มไหวท้ ูลแตพ่ ระญานน้ั ให้ธรกู้ อ่ น เมือ่ ใดพระญาสง่ั ให้นางทำจึงทำ นางนนั้ บ หอ่ นละเมิดท่านผู้ป็นผวั เลยสักคาบ กระทำอันใดๆ กด็ ีย่อมชอบใจผัวทุกประการ วา่ กล่าวอันใดๆ ก็ดยี ่อมพึงพอใจผัว ทุกประการแล เท่าแต่พระญาจักรพรรดิราชผู้เดียว แลหากได้เป็นผัวนางไส้ส่วนอันว่าชายผู้อ่ืนไส้จะได้เป็นผัวนางแก้ว น้ันหาบมิได้ฯ อันว่านางแก้วนั้นจักได้เอาใจออกหากพระญานั้นน้อยหน่ึงก็บมีแก่นางเลยฯ อิตถีรัตนวัณณนานิฏฐิตาฯ กลา่ วเถิงนางแกว้ แลว้ เท่าน้ี โดยสังเขปแลฯ ตวั อยา่ งเนอ้ื ความตอนท่ี ๘ ทีน้ีจะพรรณนาเถิงฝูงเทพยดาอันเกิดในฉกามาพจรภูมิโลกย์แลฯ อันว่าเทพยดามี ๓ จำพวกโสด อน่ึงช่ือว่า สมมตุ ิเทวดาแลฯ อน่งึ ชอื่ ว่าอปุ ปัตเิ ทวดาแลฯ อนึง่ ชื่อว่าวิสทุ ธิเทวดาฯ ฝงู ท้าวแลพระญาในแผน่ ดนิ เราน้ีผแิ ลว่าร้หู ลกั แล รบู้ ุญรู้ธรรม แลกระทำโดยพิธราชธรรมทั้ง ๑๐ ประการดังนั้น ท่ารเรียกชื่อว่าสมมุตเทพยดาแลฯ แต่ปักข์ชั้นฟ้าเบื้อง บนชื่อว่าฉกามาพจรเท่าเถิงพรหมโลกเบ้ืองบนนั้นช่ือุปปัติเทพยดาแลฯ พระพุทธปัเตยกโพธิเจ้าพระอรหันตาขีณาสพ สาวกเจา้ แตเ่ สร็จ เขา้ สนู่ ิพพานดังน้นั ไสเ้ รยี กชอื่ วา่ (วิสุทธ)ิ เทยดาแลฯ ฝูงเทพยดาอนั เกิดในปกั ข์ข้นั ฟา้ ก็ดี และฝูงเทพย ดาอันเกดิ ในอากาศก็ดแี ลอาศยั ในแผน่ ดินน้ีข้นึ ไปแลย่อมเอาปฏสิ นธิอปุ ปาติกโยนอิ ันเดียวไส้ เอาปฏิสนธิดว้ ยปฏิสนธิ ๙ จำพวก ดงั กลา่ วก่อนน้ันแลฯ เทพยดาจำพวก ๑ พงึ รแู้ ง่ภเู ขาอันอยูใ่ นแผ่นดินน้กี ็อยู่เป็นพมิ านเทพยดาจำพวก อยู่กลาง พอเชิงเหนือต้นไม้ข้ึนเป็นพมิ านอยมู่ ีปราสาทอยู่เหนอื ต้นไม้ใหญ่พุง่ ไมน้ ั้นเป็นพิมานฯ ผิมีต้นฟัดตาไม้นัน้ ขาใตว้ ิมานน้ัน พังแลฯ ผิไม้น้ันหากหักเองก็ดี ปราสาทเทพยดานัน้ พังฉลายแลฯ ผิว่าคา่ คบไม้นน้ั ยงั คา้ งใต้ปราสาทพิมานยังค้างแลฯ ผิ ค่าไม้หักส้ินทุกพายไส้ ปราสาทเทพยดาน้ันหักส้ินแลฯ ฝูงเทพยดาอันอยู่ในพฤกษาพิมานนั้นถ้าต้นไม้หักพิมานก็หักส้ิน แลฯ ถ้ายังแต่ตอไม้ก็ดีปราสาทแก้วนั้นบมิพังสักอันยังตั้งดังเก่าไส้ ผิต้นไม้นั้นฉค่นลงทั้งรากส้ินไส้ ปราสาทนั้นจึงหาย แลบมิเหน็ สกั แหง่ แล ปราสาทแก้วน้นั ฝงู น้นั คนทัง้ หลายแลดูบมไิ ดเ้ หน็ สกั คาบ ฝงู ฝีแลเทพยดาหากเห็นไสท้ ีว่ ิมานดงั นน้ั ก็ ดี พระจตุโลกบาลหากใช้ฝูงเทพยดานั้นมาแจกให้แก่เขาไส้ แลใจเขานัน้ จะใคร่เอาท่ีใดหากจะเลือกเอาเองนั้น บมิไดแ้ ต่ แผ่นดินเราอยู่น้ีขึ้นไปเบื้องบนได้ ๓๓๖,๐๐๐,๐๐๐ ผจิ ะนับด้วยโยชน์ได้ ๔๖,๐๐๐ โยชนไ์ สว้ ่าจงึ เถงิ ชนั้ ฟา้ อนั ชื่อว่าจาตุ มหาราชกิ าภูมิ อนั ตง้ั อยู่เหนอื จอมเขายุคนุ ธรฝา่ ยตระวันตกตระวันออกก็ดี ฝา่ ยหนทักษิณเขาพระสิเนรรุ าชมเี มืองใหญ่ เทพยดาอยู่ ๔ เมือง โดยกว้างโดยยาวเมอื งน้ันใหญ่ได้ ๔,๐๐๐,๐๐๐ วา รอบน้ันไส้เทียรย่อมกำแพงทองประดีบนิ์ด้วย แก้ว ๗ ประการ แลกำแพงอัรอบนั้นโดยสูงได้ ๘,๐๐๐ วา บานประตูน้ันเทียรย่อมแก้วแลมีปราสาทอยู่เหนือประตนู ้ัน ทกุ อนั ในเมอื งน้ันเทยี รย่อมปราสาทแก้วฝูงเทพยดาอยู่ในแผ่นดินน้นั เปน็ แผน่ ดินทองพรายงามราบนกั หนาดงั หน้ากลอง แลอ่อนนดังฟูกผ้า แลแก้วน้ันเมื่อเหยียบลงอ่อนสน้อยแล้วก็เต็มขึ้นมาเล่าบมิเห็นรอยตีนีเลยฯ นอกน้ันมีน้ำใสกว่าแก้ว แลมีดอกบัวบาน ๕ ส่ิงในสระน้ำน้ันหอมดังแสร้งอบ แลมีสรรพดอกไม้อันงามแลมีต้นไม้อันประเสริฐงามมีลูกอัน ประเสริฐแลมีโอชารสอันยง่ิ แลไมฝ้ งู นั้นเป็นดอกเป็นลกู ทกุ เม่ือแลบห่อนจะรวู้ ายเลยฯ เทพยดาผู้เป็นพระญาแก่เทพยดา ทง้ั หลายฝ่ายตระวันออกเขาสเิ นรุราชนั้นชอื่ ว่าท้าวธตรัฐราชเป็นพระญาแกเ่ ทพยดาท้ังหลายรวดทวั่ กำแพงจกั รวาลฝา่ ย ๔๐
ตระวนั ออกแลฯ เทพยดาผู้เป็นพระญาแก่เทพยดาแลฝงู ครุฑราช แลฝงู นาคราชเถิงกำแพงจกั รวาลเบอ้ื งตระวนั ตกแลฯ เทพยดาผู้เป็นพระญาฝา่ ยทักษิณช่ือท้าววิรฬุ หกราช เป็นพระญาแก่ฝูงยักษ์อนั ช่ือกุมภัณฑ์ แลเทพยดาทั้งหลายรวดไป เถิงกำแพงจักรวาลฝ่ายทักษิณ แลเทพยดาผู้เปน็ พระญาฝ่ายอดุ รช่ือท้าวไพศพมหาราชเป็นพระญาแก่หมู่ยักษ์ท้ังหลาย แลเทพยดาฝ่ายอุดรทิศเขาพระสิเนรรุ าชรวดไปเถิงกำแพงจักรวาลฝา่ ยดุดรทศิ น้ันแลฯ อายุเทพยดาทงั้ หลายในจาตมุ หา ราชิกานั้นได้ ๕๐๐ ปีทิพย์ ผิว่าจะนับปีในมนุษย์เราน้ีได้ ๙ ล้านปีในมนุษย์เราแลฯ แลฝูงเทพยดาอันอยู่เหนือกลาง อากาศน้ั นลางจำพวกมีปราสาทแก้วโดยกวา้ งได้ ๘๐,๐๐๐ วากม็ ี ลางจำพวกมีปราสาทแก้วโดยกว้างได้ ๑๖,๐๐๐ วาก็ มี ลางจำพวกมีปราสาทแกว้ โดยกวา้ งได้ ๘๐,๐๐๐ วา ลางจำพวกมปี ราสาทแก้วโดยกว้างได้ ๘๘,๐๐๐ วาก็มี แลอยู่ทั้ง ๔ ด้านเขาพระสิเนรุราชเพียงเมืองใหญ่ เทพยดาทั้ง ๔ อัน ๆ อยู่เหนือจอมเขายุคุนธรน้ันแลฯ แม้นว่าใกล้กำแพง จักรวาลก็ดี แต่ดังนั้นเรียกชื่อว่าจาตุมหาราชิกาแลฯ พระอาทิตย์ก็ดี พระจันทร์ก็ดี แลฤกษ์ทั้ง ๒๗ ก็ดี ดาวดารากร ทัง้ หลายกด็ ี เทียรยอ่ มเวยี นไปรอบเขาพระสิเนรุราชนั้นทกุ เมอื่ ฯ ตัวอยา่ งเน้อื ความตอนที่ ๙ แต่ช้ันฟ้าอันช่ือว่าจาตุมหาราชิกาข้ึนไปไกลได้ ๓๓๖,๐๐๐,๐๐๐ วา จึงจะเถิงช้ันฟ้าอันชื่อว่าดาวดึงษานั้น ๆ ต้ังอยู่เหนือจอมเขาพระสิเนรุราชบรรพต อันปรากฎเป็นเมืองพระอินทรผ์ ู้เป็นพระญาแก่เทพยดาท้ังหลาย ในยอดเขา พระสิเนรรุ าชนน้ั เปน็ เมอื งของพระอนิ ทร์ โดยกว้างคณนาไวไ้ ด้ ๘,๐๐๐,๐๐๐ วา มีปรางคปราสาทแกว้ เฉพาะซ่ึงจอมเขา พระสเิ นรรุ าชบรรพต แลมที ่ีเล่นท่ีหัวสนุกน์ินักหนาโสด แต่ประตูเมืองหลวงฝา่ ยตระวันออกเมอื งแห่งสมเด็จอมรนิ ทราธิ ราชไปเถิงประตูเมืองฝ่ายตระวันตกโดยไกลได้ ๘,๐๐๐,๐๐๐ วา มกี ำแพงแก้วล้อมรอบมีประตรู อบน้ันได้ ๑๐๐๐ หนึ่ง แลมียอดปราสาทอันมงุ เหนอื ประตูนั้นทุกประตู เทียรย่อมทองแลประดับนิ์ด้วยแก้ว ๗ ประการ แต่ตีนประตูขึ้นไปเถิง ยอดปราสาทน้ันสูงได้ ๒๕๐,๐๐๐ วา แลเมื่อเผยประตูน้ันได้ยินเสียงสรรพไพเราะนักแลเทพยดาทั้งหลายอยู่ในนคร ดาวดึงษ์นัน้ ย่อมได้ยนิ เสยี งช้างแกว้ แลราชรถแกว้ อันดังไพเราะถูกเนอื้ พึงใจนกั หนาทใ่ี นท่ามกลางนครไตรตรึงษ์น้ัน มีไพ ชยนตปราสาทโดยสูงได้ ๒๕,๖๐๐,๐๐๐ วา ปราสาทน้ันงามนักงามหนาเทียรย่อมแก้วสัตตพิธรัตนท้ังหลายโดยสูงได้ ๒,๔๐๐,๐๐๐ วา เทียรย่อมสัตตพิธรัตนรุ่งเรืองงามพ้นประมาณถวายแก่พระอินทร์ผู้เป็นเจ้าไพชยนตปราสาทนั้นแลฯ แลเมืองนครไตรตรึงษ์เบ้ืองบุรพทิศมีอุทยานทิพย์อันหน่ึง ช่ือว่านันทวนุทยานโดยรอบอุทยานน้ันได้ ๘๐๐,๐๐๐ วา มี กำแพงแแก้วล้อมรอบ มีปราสาทแก้วมุงเหนือประตูทุกอันแล สวนขวนั ั้นสนุกนิ์พ้นประมาณ แลมีสมบัติแลสรรพต้นไม้ สรพันลูกไม้สรพันดอกไม้ อันประเสรฐิ แลอดุ มแลที่เลน่ แสนสนุกนิส์ ุขสำราญแก่เทพยดาทั้งหลาย อันอย่ใู นไตรตรึงษ์นั้น แลฯ แทบอุทยานฝ่ายจะเข้าสู่เมอื งนั้น มสี ระใหญ่ๆ อันๆ หน่ึงชื่อว่านนันทาโบกขรณี อนึ่งช่อื จุลนันทางโบกขรณีแลว่า สระนั้นมีน้ำน้ันใสงามดังแผ่นแก้วอินทนิลดูรุ่งเรืองงามดังฟ้าแมลบแทบฝ่ังน้ำน้ันแลมีศาลาแก้วแทบสระนั้นสองแผ่นๆ หน่ึงชื่อว่านันทาปริถิปาสาณ แผ่น ๑ ช่ือว่าจุลนันทาปริถิปาสาณ แลศิลาทั้งสองแผ่นนั้นมีรัศมีอันเรืองนัก เม่ือจับดูไส้ ศิลานั้นอ่อนดังว่าถือหนังเหนฯ นอกเมืองไตรตรึงษ์ฝ่ายทักษิณ แลมีสวนอุทยานใหญ่อัน ๑ ชื่อผรุสกวัน แลไม้อันมีใน ๔๑
สวนนั้นอ่อนน้อมค้อมงามนักหนาดังแสร้งดัดไว้ แลมีกำแพงแก้วล้อมรอบแลมีปราสาททำเหนือประตูเทียรย่อมแก้วดู งามนักหนารอบอุทยานน้นั ได้ ๕,๖๐๐๐,๐๐๐ วา แทบอทุ ยานเข้ามาฝ่ายหนเมืองแลมีสระใหญ่ ๒ อัน ๆ หนงึ่ ชื่อภทั รา โบกขรณะ อน่ึงชื่อสุภัทราโบกขรณีแลฝั่งสระนั้นแลอันใส แลมีก้อนแก้วๆ ก้อนหน่ึงช่ือภัทราปริถิปาสาณ อน่ึงชื่อ สุภัทราปริถิปาสาณ ผิได้ต้องถือและอ่อนเกลี้ยงนักหนาดังถือหนังสานนั้นไส้ฯ นอกนครไตรตรึงษ์ฝ่ายปัจฉิมทิศ แลมี อุทยานใหญ่อนั หน่ึงสนุกนิ์นกั หนา แลพึงใจแกฝ่ ูงเทพยดาท้ังหลาย แลอุทยานน้ันงามนกั หนาเรยี กช่ือว่าจติ รลดาวัล ฝูง ไม้แลฝูงเชือกเขาอันเป็นในสวสนนั้นดูงามดังแสร้งประดับนิ์แลกำแพงแก้วล้อมรอบแลมีปราสาทแวมุง ประตูทุกประตู แลดเู รอื งงามทุกแหง่ ทกุ พายรอบอทุ ยานนน้ั ได้ ๔๐๐,๐๐๐ วา ตวั อยา่ งเนอื้ ความตอนท่ี ๑๐ ยงั มชี า้ งตัว ๑ ชอ่ื วา่ ไอยราพรต แลวา่ ชา้ งตวั น้ันมใิ ชส่ ัตวด์ ิรจั ฉาน อันวา่ ในเมอื งฟา้ โพ้นบมสี ตั ว์ดิรจั ฉานตัวนอ้ ย ก็ดีตัวใหญ่กด็ ีหาบมิได้ เทียรย่อมเทพยดาส้ินไส้ฯ แลว่ายังมีเทพยดาองค์หนง่ึ ๑ ชอื่ ไอยราวรรณเทพบุตร ผิแลเมื่อพระ อินทร์เจ้าแลมีที่เสร็จไปเล่นแห่งใด ๆ ก็ดี แลธจะใคร่ขี่างไปเล่นจึง ไอยราวรรณเทพบุตรก็นิมิตตัวเป็นช้างเผือกตัว ๑ ใหญ่นกั โดยสูงได้ ๑,๒๐๐,๐๐๐ วา แลมีหัวได้ ๓๓ หัว ๆ น้อย ๆ อยสู่ องหัวอยู่สองขา้ ง นอกหัวท้ังหลายนั้นแลว่าหัว ใหญ่ได้ ๒,๐๐๐ วา แลหัวถัดนั้นเข้าไปทงั้ สองข้างแลหัวแล ๓,๐๐๐ วา ถัดนน้ั เขา้ ไปแลหัวแล ๔,๐๐๐ วา ถัดนั้นเขา้ ไป แลหวั แล ๕,๐๐๐ วา ถดั น้ันเขา้ ไปกวา้ งแลหวั แล ๖,๐๐๐ วา เร่งเขา้ ไปเถิงในก็เร่งใหญ่ถัดกันเขา้ ไปดังกล่าวนแ้ี ล สว่ นหวั ใหญ่อันที่อยู่ท่ามกลางท้ังหลายช่ือสทสั เป็นพระทน่ี ั่งแห่งพระอินทร์ โดยกว้างได้ ๒,๔๐๐,๐๐๐ วาแลฯ เหนอื หวั ช้างน้ัน แลมีแท่นแก้วหนึ่งกว้างได้ ๙๖,๐๐๐ วา แลมีปราสาทกลางแท่นแก้วท้ังน้ันมีทั้งสองฝูงโดยสูงได้ ๘,๐๐๐ วา ท้ังฝูงนั้น เทียรย่อมแก้ว ๗ ส่ิง แลมีพรวนทองคำห้อยย้อยลงทุกแห่งแกว่งไปมา แลมเี สยี งนนั้ ไพเราะนักหนาดงั เสียงพาทย์พิณใน เมืองฟ้า ในปราสาทน้ันเทียรย่อมดัดเพดานผ้าทิพย์ แลมีแท่นนอนอยู่ในที่นั้นกว้างได้ ๘,๐๐๐ วา แลมีราชอาสน์หนา หมอนใบใหญ่หมอนน้อยหมอนอิง องค์พระอินทร์นั้นสูงได้ ๖,๐๐๐ วา แลประดับนิ์ด้วยแกว้ถนิมอาภรณ์ท้ังหลายแล ธนั่งเหนือแท่นแก้วน้ันหัวช้างได้ ๓๓ หัวไส้ พระอินทร์ให้เทพยดาทั้งหลายขี่ ๓๒ หัวนั้นมีบุญเพียงปรดุจพระอินทร์ไส้ฯ อนั ว่าหวั ช้างทงั้ ๓๓ หัวแลหัว ๆ มีขา ๗ อันแลงาละอนั ยาวได้ ๔๐๐,๐๐๐ วา แลงาน้นั มสี ระได้ ๗ สระ ๆ แลสระนน้ั มี บัวได้ ๗ กอ ๆ บัวแลกอนน้ั มีดอก ๗ ดอก ๆ แลอันนัน้ มีกลีบ ๗ กลีบ ๆ แลอนั ๆ นั้นมีนางฟา้ ยืนรำระบำบรรพตแล ๗ คน นางแลคน ๆ นนั้ มสี าวใชไ้ ด้ ๗ คนโสด ช้าง ๓๓ หัวน้ันได้ ๒๓๑ งา สระนนั้ ได้ ๑,๖๑๗ สระแลกอบวั ในสระน้นั ได้ ๑๑,๓๑๙ กอ แลดอกบัวนั้นได้ ๗๙,๒๓๓ ดอกแลมีดอกบัวนั้นไส้ได้ ๕๕๔,๖๓๑ กลีบ แลนางฟ้าอันรำระบำนั้นได้ ๓,๘๘๒,๔๑๗ นาง แลสาวใชน้ างระบำนัน้ ได้ ๒๗,๑๗๖,๙๑๙ คน แลมีอยู่ในงาชา้ งไอยราวรรณ์น้ัน ๔๒
ตวั อยา่ งเนื้อความตอนท่ี ๑๑ อันวา่ พระจตโุ ลกบาลเดินดดู ดี ูรา้ ยแห่งโลกยท์ ้ังหลายน้ีทุกวัน ยอมใช้ให้เทพยดาองคอ์ ืน่ มาต่างตัวในวนั ศลี น้อย คือวันอฏั ฐมีนน้ั ไสย้ อมใชล้ ูกมาตา่ งตน ผแลวันศลี ใหญ่คือวันบรุ ณมีแลอมาพสั สานัน้ ไส้ ทา้ วจตุโลกบาลทั้ง ๔ ย่อมมาเอง เดนิ ดูเองฯ เม่ือเทพยดามาตา่ งตนกด็ ี ลกู ธมาเองกด็ ี แลตัวธมาเองกด็ ี เทียรยอ่ มถอื แผน่ ทองเน้ือสุกแลถอื ดินสอน้นั อันทำ ดว้ ยชาติหิงคุน้ันมาดว้ ย แลเดินไปดูทุกแห่งท่ัวถิ่นฐานบ้านเมืองใหญ่น้อยท้ังหลาย ในมนุษยโลกย์น้ีทุกแห่งแล ถ้าแลว่า ผู้ใดทำบญุ ทำธรรมไส้ ธจงึ เขียนนามผนู้ น้ั ลงในแผน่ ทองเนื้อสุกน้ันวา่ ดังนี้ ท่านผนู้ ้ีชื่อนอ้ี ยู่บา้ นนเ้ี รือนนีไ้ ด้ทำบญุ ธรรมฉัน นี้ ๆ มีอาทิคือไหว้นบคำรพสมาบูชาแลประติบัติแก่พระศรีรัตนไตรย แลเลี้ยงดูพ่อแลแม่ยำเยงผู้เฒ่าผู้แก่รักพี่รักน้อง แลรักทา่ นผู้อ่นื แลชีตน้ อาจารย์แลครบู าธยาย แลให้ผ้ากฐินแลกอ่ พระเจดียก์ ระทำคหู าปลกู กฎุ วี ิหารแลปลกู พระศรีมหา โพธิแลสดับนิ์ฟังพระธรรมเทศนาแลจำศีลเมตตาภาวนาสวดมนต์ไหว้พระ แลอำนวยทานยำเกรงสมณพราหมณ์ผู้มีศีล แลบูชาธรรมทั้งปวงน้ี ถ้าแลว่ผู้ใดกระทำแต่ละสิ่ง ๆ ดังนั้นก็ดี เทพยดาก็เขียนนามลงในแผ่นทองดังกล่าวมาน้ันแลฯ แล้วจึงเอาแผ่นทองนั้นไปให้แก่ปัญจสิขรเทวบุตรฯ น้ันจึงเอาไปให้แก่พระมาตลี ๆ น้ันจึงเอาไปทลู ถวายแด่พระอินทร์ เจ้าแลฯ จึงเทพยดาทั้งหลายก็อ่านดูในแผ่นทอง ถ้าว่าเห็นบาญชีในแผ่นทองน้ันมากไส้ จึงเทพยดาทั้งหลายก็ศ้อง สาธกุ ารยินดนี กั หนา ดว้ ยคำว่าดังนีม้ นุษยท์ ้ังหลายจะไดข้ นึ้ มาเกิดเปน็ เพอ่ื นเราน้ีมากนักหนา แลวา่ จตรุ าบาโพน้ จะเปลา่ อยู่แล ฯ ผิว่าเทพยดาท้ังหลายเห็นบาญชีในแผ่นทองนั้นน้อยไส้ จึงเทพยดาทั้งหลายก็ยินร้ายแล้วชวนกันว่าดังน้ี โอ อนิจจาคนทั้งหลายในมนุษยโลกย์โพ้นกระทำบุญน้อยนักหนา ชะรอยว่าเขาชวนกันกระทำบาปมากนักแล เขาจะได้ไป เกดิ ในจตุรบายโพน้ มากนกั แล กลวั วา่ จำเนียรไปภายหนา้ เหยยี ว่าเมอื งฟ้าน้ีจะเปลา่ เสยี แลฯ แลพระอนิ ทรจ์ งึ ถอื เอาแผ่น สวุ รรณบฏั อันมอี ักษรจารกึ นามสัปปุรุษท้ังหลายอันกระทำบุญนั้น พระอินทรเ์ จ้าจึงอ่านหนงั สือในแผ่นทองนั้นให้เทพย ดาท้ังหลายฟังฯ เมื่อว่าพระอินทร์ค่อยอ่านไส้ได้ยินออกไปไกลได ๘๐,๐๐๐ วาแล ถ้าว่าพระอินทร์ธร้องอ่านด้วยเสียง แข็งไส้ ได้ยินเสียงน้ันไสเ้ พราะเป็นกังวานทั่วทั้งเมืองไตรตรึงษ์ อันกว้างโดยคณนาว่าไว้ได้ ๘๐,๐๐๐,๐๐๐ วานั้นทั่วทุก แหง่ สน้ิ แลฯ แต่มปี ราสาทแกว้ แลปราสาททองท้ังหลาย อนั เป็นวมิ านเทพยดาทง้ั หลายอยู่ในอากาศแลสูงเพียงจอมพระ สุเมรุ เล่ือนไปเถิงปลายกำแพงจักรวาลดังนั้นก็ดีแล ท่านก็เรียกว่าไตรตรึงษ์แลฯ อายุเขายืนได้ ๑,๐๐๐ ปีทิพย์ได้ ๓๖,๐๐๐,๐๐๐ ปีในมนุษย์แลฯ อันว่ายศศักดิ์ก็ดีสมบัติแห่งพระอินทร์ แลฝูงเทพยดาท้ังหลายมีดังกล่าวมาน้ีแลฯ เพราะว่าไดก้ ระทำกุศลบุญธรรมมาแต่กอ่ นแลฯ ผู้ใดแลจะปรารถนาไปเกิดในเมอื งสวรรคไ์ ส้ อย่าได้ประมาทลมื ตนควร เร่งขวนขวายกระทำกุศลบุญธรรมให้ทานรักษาศีลเมตตาภาวนาอุปฐากรักษาศีล บิดามารดาผู้เฒ่าผู้แก่ครูอุปัชฌาย์ อาจารยแ์ ลสมณพราหมณ์ผ้มู ศี ีลไส้ ก็จะได้ไปเกิดในสวรรคแ์ ลฯ กลา่ วเถงิ ไตรตรึงษ์เมอื งสวรรคแ์ ลว้ แตเ่ ทา่ น้ีแลฯ ตัวอยา่ งเน้อื ความตอนที่ ๑๒ แตฝ่ ูงอันมีจติ แลมีชีวิตอันเกิดในภูมทิ ั้ง ๓๑ ช้ันทั้งน้ีมเิ ที่ยง ย่อมฉิบหายด้วยมัตยรุ าหากกระทำใหห้ ายไส้ฯ อัน ว่าสิ่งทั้งหลายอันท่มี ีแต่รปู แลวา่ หาจิตมิได้อนั มีในภมู ิ ๑๒ ชน้ั แห่งน้ี เทา่ เว้นไว้แต่อสัญญีสัตว์ขึ้นไปเบ้อื งบนแลฯ อนั วา่ ท่ี ๔๓
ต่ำแต่อสัญญีสัตวล์ งมาหาเรานม้ี ีอาทิ คือพระสุเมรุราช ย่อมรฦู้ฉิบหายด้วยไฟด้วยน้ำด้วยลม หากกระทำให้ฉิบหายเสีย ได้แลฯ เมือ่ ว่าไฟจะมาไหม้กัลปน้ีแลมีดังฤๅบ้างส้นิ ฯ อันวา่ ไหม้แลล้างให้ฉิบหายเสียนั้นมี ๓ จำพวกแล จำพวก ๑ เพ่ือ ไฟ จำพวก ๑ เพื่อนำ้ จำพวก ๑ เพ่ือลม แลไฟหากมาล้างมากกว้าน้ำแลลม ไฟมล้าง ๗ คาบเล่าน้ำจงึ มล้างคาบ ๑ เล่า นำ้ มล้าง ๗ คาบ ลมจึงมลา้ งคาบ ๑ โดยอันดับดังน้ัน แต่ไฟมล้าง ๑๖ คาบ แตน่ ้ำมล้าง ๘ คาบท้ังนน้ั เป็น ๖๔ คาบ ลม จงึ มล้างคาบ ๑ เม่อื ว่าไฟมล้างมากกว่าน้ำ ๆ มล้างมากกว่าลมเพ่อื ดงั น้ันฯ สัตตส์ ัตตคั ์คินาวารา อฏั ฐเมอัฏ์ฐมาทกา จตสุ ฏั ฐ์ ียทาปุณณ์ า เอโกวาโยวาโรสยิ า อัค์ควิ าภสั ส์ ราเหฏฐ์ า อาเปนสภุ กณิ ห์ โต เวหปั ผลาโตวาเตน เอวโํ ลโกวินาสส์ ตฯิ เมอื่ วา่ ไฟมลา้ งกามภมู ิท้ัง ๑๑ ช้ันแลลา้ งรูปภมู ิ เมอื่ พรหมอนั เป็นปถมฌาน ๓ ช้ัน คอื ว่าช้นั พรหมปาริสัชชาแล พรหมปโรหิตาแลมหาพรหมาจึงผสมภูมิอันไฟไหม้ได้ ๑๔ ชั้นไฟจึงไหม้ฯ เมื่อว่าน้ำมล้างน้ันเล่ามล้างกามภูมิ ๑๑ ชั้น มลา้ งภูมพิ รหมอันเป็นปฐมฌาน ๓ ช้นั แล มล้างรปู ภูมิพรหมอันเป็นทตุ ิยฌาน ๓ ชน้ั คือ ปริตตภาแลอัปมาณาภาแลอา ภัสสราผสมภูมิอันน้ำท่วมได้ ๑๗ ช้ันจึงอย่าฯ เมื่อว่าลมแลมล้างกามภูมิทั้ง ๑๑ ช้ันมล้างรูปภูมิเมืองพรหมอันเป็น ปฐมฌาน ๓ รูปภูมิเมืองพรหมอันเป็นทุติยฌาน ๓ ชั้น มล้างรูปภูมิเมืองพรหมน้ันคือตติยฌาน ๓ ชั้น คือปริตตสภา แลอัปปมาณสุภา แลสุภกิณหกาลมจึงอย่าพักแลฯ แต่นั้นบมิอาจพักเถิงจตุตถฌานภูมิได้ ผสมแต่ลมมล้างได้ ๒๐ ชั้น เมื่อมล้างมี ๓ ประการเพ่ือดังนี้แลฯ เมื่อว่าไฟแลไหม้กัลปฝูงคนทั้งหลายผู้กระทำบาปด้วยกาย ผู้กระทำบาปด้วยปาก ผู้กระทำบาปด้วยใจแลมิรู้บุญแลธรรมเลยสักอัน แลมิรู้จักบิดาแลมารดา แลมิรู้จักสมณพราหมณ์แลมิรู้จักท่านผู้ทรง ธรรม แลมิรู้จักวา่ พ่ีน้นี อ้ งแลญาตมิตรสหายแลเห็นกัน ดังกวางแลทราย ดงั เปด็ แลไก่ ดงั หมูแลหมา ดังช้างแลมา้ ยอ่ มไล่ ฆ่าไลฟ่ นั กนั นั้นด้วยบาปกรรมอนั เขาไดท้ ำบาปดงั นีแ้ ล เกดิ อุบตั บิ มดิ ีทว่ั ทงั้ จกั รวาลน้ที กุ แหง่ แลฯ คนทง้ั หลายผ้กู ระทำไร่ ไถนากินทุกแห่ง คร้ันว่าหว่านขา้ ว ๆ น้ันงอกขึ้นพอวัวกัดได้แล้วฝนฟ้ากม็ ิได้ตกสักแห่งเลย แลมีแต่เสียงฟ้าร้อง ส่วนว่า ฝนมไิ ด้ตกเลยสกั เล็ด ท้ังข้าวก็ดี ผกั กด็ ี นำ้ ก็ดี ตายแหง้ ดังท่านเอาไฟลน ฝงู คนทัง้ หลายยินรา้ ยทกุ แห่งแลฯ ท่านผมู้ พี ระ ปัญญานั้น คร้ันว่าท่านเห็นนิมิตดังนี้เป็นดาลใจ ในสัทธาเร่งกระทำบุญธรรมแล้วยำเยงพ่อแลแม่ผู้เฒ่าผู้แก่สมณ พราหมณ์ คร้ันว่าตายได้ไปเกิดในเทวโลกย์ ตายจากเทวโลกย์ก็ได้ไปเกิดในพรหมโลกย์ท่ีไฟไหม้มิเถิงน้ันแลฯ คนผู้ หาปัญาบมิได้แลมิได้กระทำบุญทำธรรม คร้ันว่าตายก็ได้ไปเกิดในนรกอันมีในจกั รวาลอนื่ อันไฟไหมม้ ิเถิงน้นั แลฯ อนั ว่า แค่แลผ่าปลาจระเข้ทั้งหลายนั้นต่างแห้งตายหายเหือดไป ดังท่านแสร้งตากไว้แลเห็นกลาดไปทั่วแผ่นดินทุกแห่งแล ตระบัด แลเห็นพำระอาทิตย์ขึ้นมาสองดวงดังหน้าผีเสื้อแลผีพรายดังจะคาบคั้นเอาฝูงคนทั้งหลายอันไป่มิทันตายน้ัน คร้ันตระวนั ดวงหนง่ึ ตกแล้วตระวันดวงหนึ่งข้นึ มาแลผ่อนกนั อยู่บนอากาศรอ้ นนักหนาแลฯ ดูเรอื งอยูท่ กุ แห่งหากลางคืน ๔๔
มิได้เลย เม่ือดังน้ันคนท้ังหลายอันยังมิตายนั้นก็กอดคอกันร้องไห้ แลเช็ดน้ำตาเสียจึงคำนึงเถิงบุญธรรมเมตตาภาวนา คร้ันตายไปเกิดในเทวโลกย์แล ฯ พระอาทิตย์สองดวงร้อนดังน้ันท้ังแม่น้ำเล็กแลแม่น้ำใหญ๋ อิกห้วยหนองคลองบึงบาง บ่อแลสระบกพรอมแห้งส้ินแล อยู่มาบหึงตระบัฃดเป็นตระวันขึ้นมาดวงหนึ่งอิกเล่าเป็น ๓ ดวง แลตระวันหน่ึงตกไป ตระวันหนึ่งเที่ยงตระวันหน่ึงขึ้นมาเร่งร้อนย่ิงกว่าเก่านักหนา แลว่าแม่น้ำใหญ่ ๕ แถวแห้งส้ินแลอยู่บมิหึงตระบัด เกิด เป็นตระวนั ๔ ดวงขึ้นมา จึงแม่นำ้ ใหญ่ทั้ง ๗ อัน ๆ หน่งึ ชอื่ ฉัททนั ตสระ อนึง่ ชื่อมัณฑากินสี ระ อน่ึงชือ่ สหี ปาตสระ อน่ึง ช่อื กนปณั สระ (อภิธานว่า กณั ณมณุ ์ฑ) อนง่ึ ช่อื ส้ัตนกาละสระ (อภิธานว่า รถกากร) อน่ึงช่ือกนุ าละสระ แลวา่ สระ ๗ อัน นแ้ี หง้ วสนิ้ ในเมือ่ มีตระวัน ๔ ดวงน้ันแลฯ ทัง้ ฝงุ มงั กรภมิ ทองจระเขต้ ายส้นิ แลฯ อันดบั นั้นบมหิ งึ ตระบัดบังเกิดตระวัน ๕ ดวง น้ำสมุทรแห้งสิ้นยังอยู่แต่ข้อมือเดีวจึงเห็นเงนิ เห็นทองแก้วสัตตพิฝะรัตนแลฯ อยู่บหึงตระบัดบังเกิดเป็นตระวัน ๖ ดวง แลรอ้ นเรา่ เผา่ ทง้ั จักรวาลแลเห้นเปน็ ตระวันลกุ อยู่เตม็ ทัว่ จักรวาลดังทา่ นเผาหมอ้ แลร้อนเรา่ ระงมอยู่ในเตาหมอ้ นั้น ฯ อยู่บมิหึงตระบัดเกิดเป็นตระวันขึ้น ๗ ดวงแลร้อนสัตว์ใหญ่ ๗ ตัวอันอยู่สีทันดรสมุทรทั้ง ๗ น้ัน อันอยู่ในหว่างเขา สัตตปริภัณฑ์อันล้อมเขาพระสุเมรุราชนั้นไว้ แลสัตว์อยู่ในฉัททันตสระสมุทรนั้น แลสัตว์ท้ังหลายอันมีในสีทันดรสมุทร อันอยู่ในสมุทรนั้นยอ่ มมาไหวบ้ านบคำรพปลาตัวใหญอ๋ ันเปน็ ้พระญาปลานัน้ แลฯ แลว่าปลาท้งั ๗ ตัว (อภิธานว่า ตมิ ิ, ติ มิงคล, ติมิรปิงคล, อานนท, ติมินท์, อัชฌาโรห, มหาติมิ) น้ันอยู่ในสีทันดรสมุทร ๗ ช้ันน้ัน ปลาช้ันนอกช่ืออติมิรมหา มัจฉา แลปลาอันดับน้ันเป็นพระญาปลาช่ืออุมันธมหามัจฉา ตัวดังน้ันชื่อนิมมิฉรมหามัจฉา ตัวหน่ึงช่ือชนาโรห แล พระญาปลา ๗ ตัวนี้โดยใหญ่เท่ากันทั้ง ๗ ตัวย่อมรีได้แล ๔,๐๐๐,๐๐๐ วา เมื่อตระวันขึ้น ๒ ดวงร้อนนักหนา พระญา ปลา ๗ ตัวเช่ือมแลไหลเป็นน้ำมันไหม้เขาอัสกรรณ แลแผ่นดินชมพูทวีปท่ีเราอยู่นี้ก่อนทุกแห่งแลฯ ไหม้ทั้งเขาพระหิม พานต์ ๗ อนั แลมยี อดได้ ๘๔,๐๐๐ นั้น แลว้ เลอ่ื นไหม้ท้งั แผน่ ดินเลก็ ๒,๐๐๐ ไหมไ้ ปชั้นอันชัน้ นนั้ เนือง ๆ ไหม้ทั้งบุพพวิ เทหแลอตุ ตรกุรุแลอมรโคยานทวีปทง้ั เมืองครฑุ ราชไหมท้ งั้ ๔ แผน่ ดนิ ใหญ่ดังวา่ ไหม้ป่าแลไหม้นรกทง้ั หลายตระหลอดไป เถิงมหาอวิจีนรกแล้ว ไหม้อบายภูมิทั้ง ๔ ไหม้เขาพินาศไปเนือง ๆ แลไหม้พิมานเทวดาอันมีในยอดเขานั้ น ไหม้เขา เนมนิ ธร แลไหม้วมิ านเทวดาทงั้ หลายดงั กอ่ นนั้น แลถัดน้ันไหมเ้ ขาสุทสั สน แลไหมเ้ ขากรวิก แลว้ ไหม้เขาอสิ ินธร แลไหม้ เขายุคุนธรแลว้ ไหม้เมืองพระจตุโลกบาล แล้วไหม้วมิ านแก้วฝูงเทพยดา อันอยู่เหนือจอมเขานน้ั ส้ิน เปลวไฟหุ้มเขาพระ สเุ มรุราช ใต้ลงไปไหม้อสรุ ภพแลว้ ไหม้เมอื งพระอินทร์ ไหมเ้ ขาพระสุเมรุ พงั ๗๐๐ โยชน์ ๘๐๐ โยชน์ ไหมแ้ ลคาบ ๙๐๐ โยชน์ ๑,๐๐๐ โยชน์ ไหม้ตน้ ปารกิ ชาต ไหม้สวนอุทยาน ไหมส้ ระโบกขรณี ไหม้ยามาสวรรค์ ไหม้วิมานเทวดาอนั มใี นชั้น ฟ้านั้นแล ถัดนั้นจึงไหม้ดุสิตสวรรค์ ถัดน้ันจึงไหม้นิมมานรดี ถัดน้ันไหม้ปรนิมมิตวสวัสดีสวรรค์เมืองพระญามารแล้ว ไหมร้ ตั นปราสาทฝงู เทวดาส้ินไหม้แผน่ ดินตำ่ (ความเป็นแผ่นพ้ืนต่ำหรอื แผ่นดนิ ต่ำไม่แน่) ของเทพยดาสิ้นเปลวไฟจงึ พลุ่ง ขนึ้ ไปเมืองพรหมช่ือพรหมปาริสัชชนาภูมิ ถัดน้ันไหม้พรหมปโรหิตาภูมิ ถัดนั้นจึงไหม้มหาพรหมภูมิ พรหม ๓ ช้ันใต้อา ภัสสรภูมิ ไหม้พรหมอันเป็นทุติยฌานน้ันไหม้จึงดับแต่ชั้นนั้นแลชั้นน้ันจึงรอดแลภายต่ำเถิงอวิจีนรกหาเท่าบมิได้สัก หยาด ดังท่านตามประทีปแลบ่เท่าในลาประทีปน้ัน แต่ไหม้ดงั นั้นไดน้ านได้อสงไขย ๑ แต่นน้ั ชื่ออสวัตตได้อสงไขยกัลป แลฯ เมื่อไฟไหม้ดังนั้นฝูงเทพยดาแลพรหมทั้งหลายเทียรย่อมหนีข้ึนไปสู่ช้ันบนที่ไฟไหม้ไปบ่มิเถิง แลเทียรย่อม ๔๕
เบียดเสียดกันอยู่ด่จดังแป้งยัดคนานนั้นแลฯ อยู่หึงนานนักตระบัดฝนจึงตก เมื่ออาทิแรกตกเมล็ดหนึ่งเท่าดินธุลี อยูห่ ึง นานแลว้ จงึ ตกเมล็ดหนึง่ เท่าพรรณผกั กาด อยูห่ งึ นานเลา่ จึงตกเทา่ เมล็ดถั่ว อยนู่ ้อยหนึง่ จึงตกเท่าลกู มะขามป้อมแลว้ เท่า ลกู มะขวิด แลเท่าตัวควายแล้วเทา่ ตวั ช้างแล้วเทา่ เรือน แลเมล็ดฝนใหญ่ไดอ้ ศุ ุภ ๑ แต่อุศุภ ๑ โดยใหญไ่ ด้ ๓๕ วา อยบู่ ัด แบงใหญ๋ได้ ๒,๐๐๐ วา อยู่หงึ นานแลว้ ตกเล็ด ๑ ใหญ่ได้โยชน์หน่ึง อยู่ได้ ๒ โยชน์ ๓ โยชน์ ๔ โยชน์ ๕ โยชน์ ๖ โยชน์ ๗ โยชน์ ๘ โยชน์ ๙ โยชน์ ๑๐ โยชน์ อยู่หงึ นานได้ ๑๐๐ โยชน์ ๑,๐๐๐ โยชน์ ๑๐,๐๐๐ โยชน์ ๑๐๐,๐๐๐ โยชน์ อยูห่ งึ นานเท่าจักรวาลว่างลงดังท่านหล่งั น้ำตกจากกลออมแลตุ่มโพล่อันเดียว แลตระบัดน้ำจึงท่วมเมืองดินนี้ บัดแบงจงึ ท่วม จาตุมหาราชิกาทิพย์เมืองจตุโลกบาล แล้วจึงท่วมไตรตรึงษ์อันเป็นเมืองพระอินทร์ แล้วจึงท่วมยามา แล้วจึงท่วมดุสิดา แล้จึงท่วมนิมมารดี แล้วจึงท่วมปรนิมมิตวสวัสดีสวรรค์ แลน้ำเร่งท่วมเถิงเมืองพรหม ๓ ชั้นอันชื่อพรหมปริสัชชา พรหมปโรหติ า มหาพรหมา ฝนบมไิ ดต้ กนำ้ จึงเท่ียงอยู่ แตน่ น้ั จึงบมฝี นแลฯ โจษว่ามนี ้ำอนั เต็มแต่ต่ำนข้ี ้นึ ไปเถิงบนพรหม โลกย์ดังน้ันเป็นใด แลล้นจักรวาลเพ่ือประดารดังใด จึงอาจารย์ผู้เฉลยน้ันว่าฉันน้ี ว่ายังมีลมอนึ่งช่ืออุปเกฏปุวาตแลลม นั้นพดั เวียนรอบเปน็ สรกน้ำนำ้ แลมใิ ห้นำ้ น้ันล้นบากออกได้เป็นธรรมดาน้ำขน้ึ ดังธรรมกรก แลบมิซา่ นตกออกนอกได้ เห ยยี มวน่ ้ำน้นั จึงบมลิ ้นเพือ่ ดงั นนั้ แลฯ จะกลา่ วเถิงพรหมตนชื่อว่ามหาพรหมามีราชลงมาดนู ้ำน้นั ถา้ แลเห็นดอกบัวดอก ๑ พรหมน้ันจึงทำนาว่าในกัลปน้ีมีพระพทุ ธเจ้าอุบัติพระองค์ ๑ แลฯ ถ้าแลเห็นดอกบัว ๒ ดอกจึงทำนายวา่ มีพระพทุ ธเจ้า ๒ พระองค์แลฯ ถ้ามีเถิง ๓ ดอกทำนายว่าพระเจ้าอุบัติเถิง ๓ พระองค์แลฯ ถ้ามีเถิง ๔ ดอกทำนายวา่ พระเจ้าอุบัติเถิง ๔ พระองคแ์ ลฯ ถา้ มีเถิง ๕ ดอกทำนายว่าพระเจ้าอุบัติเถิง ๕ พระองคแ์ ลฯ ถา้ แลว่าหาดอกบวั บมิได้ทำนายว่าในกลั ป นี้จะหาพระพุทธเจ้ามิได้แลฯ ถ้าแลมีดอกบัวดอก ๑ กัลปนั้นชื่อสารกัลปแลฯ กัลปใดแลมีดอกบัว ๒ ดอกกัลปน้ัน ช่ือมรั ฑกัลปแลฯ กัลปใดแลมดี อกบัว ๓ ดอกกัลปนั้นช่ือวรกัลปแลฯ กัลปใดแลมดี อกบัว ๔ ดอกกัลปน้นั ชื่อสารมัณฑ กัลปฯ กัลปใดแลมีดอกบัว ๕ ดอกกัลปนั้นชื่อภัททกัลปฯ แลกัลปใดแลหาดอกมิได้กัลปนั้นชื่อว่าสุญกัลปแลฯ ใน ดอกบัวน้ันมีอัฏฐบริกขารมหาพรหมย่อมเอาอัฏฐบรกิ ขารขนึ้ ไปไว้ในพรหมโลกย์เม่ือใดต่อพระโพธิสัตว์เจ้าออกบวชแล ตรสั เป็นพระพทุ ธเจ้าไส้ มหาพรหมจึงเอาลงมาถวายในวันออกบวชนั้นแลฯ ตจิ วี รัญ์จปตั ์โตจ วาสีสูจจี พนั ธ์ธนํ ปรสิ าวนมฏั ์เฐเต ยุตต์ โยคัส์สภกิ ข์ ุโนฯ กลั ปอนั มพี ระพุทธเจ้าพระองค์ ๑ อันชอ่ื สารกัลปนน้ั มีครา ๑ เมื่อพระพุทธเจา้ ทรงพระนามชอ่ื พระพุทธโกณฑัญญนั้นแล ฯ ในบัณฑกัลปนั้นครา ๑ มีพระพุทธองค์เจ้าองค์ ๑ ช่อื ตสิ สัมมาสมั พุทธเจ้าแลฯ พระพุทธปสุ สเจ้าตรสั ในวรกลั ปนั้น ๓ พระองคน์ ั้นครา ๑ คอื อพระพทุ ธอโนมทสั สีพระธรรมทัสสีพระปิยทัสสฯี ในสารมณั ฑกลั ปพระเจ้าตรสั ๔ พระองคม์ ีครา ๑ คือพระตัณหังกร พระเมธังกร พระสรณังกร พระทีปังกรฯ ในภัททกัลปพระเจ้าตรัส ๕ องค์ในกัลปเราท่านอยู่บัดน้ี พระพุทธกักกุสนธ พระพุทธโกนาคมน์ พระพุทธกัสสป พระพุทธโคดม พระพุทธศรีอาริเมตไตรยฯ แลฝนตกลงแลน้ำ ทว่ มเถิงพรหมโลกยไ์ ด้อสงไขย ๑ ชื่อสังวัฏฏฐายอี สงไขยกัลปแลฯ บัดแบงลม ๔ อันจงึ พัดห้วงใหเ้ ปน็ ภูมิดงั เก่าขน้ึ น้ันน ๔๖
ลมอนั หนงึ่ ชอื่ ปรจิตตวาต ลมอันหนง่ึ ชื่อภัทรวาต ลมอนั หนึง่ จกั ราวาต ลมอันหน่งึ พัดไปมาเป็นระลอก กลายเป็นแผ่นดัง ปุ่มเปือกสุดเป็นแผ่นกลายเป็นกลลดังน้ำข้าว สุดเป็นกัลลกลายเป็นอัมพุชดังข้าวเปียก สุดอัมพุชกลนายเป็นเปสิขเป็น ก้อนสุดเป็นเบอื กกลายเป็นภมู ิดงั เก่าก็ดแู พร่งพรายงาม นักเป็นดังที่อยู่เม่ือก่อนเกดิ เป็นรัตนท่ัวทกุ แห่งดงั เก่า ช้ันน้ันช่ือ มหาพรหมภมู ิ ฝงู พรหมลงมาอยู่ในช้ันนั้นดังเก่าน้ำเรง่ แห้งลมลงทั้ง ๔ อันเร่งพัดดงั กล่าวก่อนแลฯ ลมพดั น้ำเป็นระลอก กลายเป็นเผณุ สุดเผณุกลายเป็นกลลดังน้ำข้าว สุดเป็นกลกลายเป็นอัมพุชดังข้าวเปลือก สุดอัมพุชกลายเป็ฯเปสิเป็น กัลลอันสุดเปน็ เปสิกลายเป็นแผ่นภูมดิ ังเก่า ดูพร้อยงามนกั หนาเปน็ ต้นทอ่ี ย่กู อ่ นเกดิ เปน็ รัตนปราสาททกุ แห่งดงั ก่อนน้ัน พรหมปโรหิตาภมู ิ ฝูงพรหมมาอยู่ในชั้นน้ันดังเก่านำ้ เร่งแหง้ ลงเนือง ๆ ลม ๔ อันพัดเป็นเผณุ สุดเผณุเป็นกลล สุดกลล เป็นอัมพุชกลายเป็นสีเป็นขุ้นสุดเป็นข้นเป็ฯแผน่ ภูมิเท่าดังเก่าแล ดูพรหมงามนักหนาเป็นที่อยู่ดังเม่ือก่อนเป็นรัตนปรา สาทท่ัวทุกแห่ง ชั้นน้ันชื่อพรหมปาริสัชชาภูมิ ฝูงพรหมลงมาอยู่ชั้นน้ันดังเก่า น้ำเร่งลงแห้งเนือง ๆ ลม ๔ อันพัดเป็น เผณุเป็ฯกลลกลายเปน็ สิ สดุ กลายเป็นขน้ สุดเป็นแผ่นภูมิดงั เกา่ ดูพรายงามงามนกั หนาเปน็ รัตนปราสาททุกแหง่ ดังเก่า ชั้นนั้นชื่อปรนิมมิตวสวัสดีสวรรค็์ ฝูงเทพยดาลงมาอยู่ดังเก่า แต่ช้นน้ีลงมาเรียกว่ากามภูมิแลว่าน้ำก็เร่งแห้งลงเนือง ๆ ลม ๔ อันเร่งพัดกว่าก่อนข้นเป็นแผ่นดินทอง เกดิ เปน็ ปราสาทแก้วท่ัวทุกแห่งดังน้ีอยู่เหมือนกอนช้ันนี้ฃื่อนิมมานรดี ฝูง เทพยดาลงมาเต็มวิมานอยู่ดังเก่าน้ำเร่งแห้งลงเนือง ๆ แลลม ๓ อันเร่งพัดมาดังกล่าวก่อนนั้นข้นเป็นแผ่นดินทองด พรายงามดังเก่าเกิดเป็นปราสาทแก้วแลวมิ าน ฝูงเทพยดาท้งั หลายดังช้ันนี้ฃื่อดุสดิ า ฝงู เทพยดาลงมาแต่บนมาอยดู่ ังเกา น้ำเร่งแหง้ ลงเนอื ง ๆ ลม ๓ อันพดั ดงั กล่าวกอ่ นน้นั นำ้ ขน้ เปน็ แผ่นดนิ ทองดพู รายงามดังเก่าเกดิ เปน็ วมิ านแก้ว เทพยดา ดังเก่าชน้ั นัน้ ชอ่ื ยามา ฝูงเทพยดาลงมาแตบ่ นมาอยดู่ ังก่อนนัน้ ฯ น้ำเรง่ แห้งลงเนือง ๆ ลม ๔ อันเร่งพัดเป็ฯเผณุสุดเผณุ เป็นกลล สุดกลลเป็นอัมพุช สุดอัมพุชเป็นสีเป็นข้น สุดเป็นแผ่นภูมิทองดังเก่า ดูพรายงามนักเป็นดังท่ีอยู่แต่ก่อน เกิด เป็นปราสาท ท่วั ทกุ แหง่ ชั้นน้นั ชื่อดาวดงึ ษาภมู ิ ฝูงเทพยดาลงมาอยู่ดงั เก่าฯ น้ำเร่งแห้งลงเนือง ๆ ลม ๔ อันเร่งพัดเป็น เผณุ สุดกลลเป็นอัมพุช สุดอัมพุชเป็นข้นกลายเป็นแผ่นภูมิดังเก่าดพรายงามนักเป็นดังที่อยู่ เมื่อก่อนเกิดเป็ รตน ปราสาทท่ัวทกุ แห่ง เกิดเป็นเขาพระสเุ มรรุ าชโดยใหญโ๋ ดยสูงเท่าเก่าเกิดเป็นสัตตปรภิ ณั ฑ์ แลสที นั ดรสมทุ รล้อมรอบเกิด เปน็ จตรุ มหาทวีปแลปรติ ตทวปี น้อย ๒,๐๐๐ ล้อมรอบดงั เก่า เกิดเปน็ ปา่ พระหมิ พานตแ์ ล เกดิ สัตตมหาสระ เกดิ เป็นปญั จมหานที เกิดเป็นจักรวาลรอบท้งั หลายทั้งทีเ่ ปน็ อันใดไส้ก็เกิดเป็นดุจเดยี วนน้ั ข้ึนสิน้ แลฯ เกดิ เป็นดาวดึงษาภูมิเมอื งพระ อนิ ทร์ เกิดเป็นจาตมุ หาราชิกาภูมิเมืองพระจตุโลกบาล เกดิ เป็นมนุษย์ เกิดเปน็ นรก เกดิ เป็นเปรตวิสยั เกิดเป็นดิรัจฉาน ภมู ิ เกิดเปน็ อสุรกายภูมิท่ไี ด้เมื่อก่อนก็เกดิ มีดังก่อนน้ันแลฯ ใหญ่สูงเม่ือก่อนไส้ก็เกิดใหญ่สงู เท่านนั้ แลฯ บมิไดห้ ลากแต่ ก่อนนน้ั สักแหง่ เลยฯ เมือ่ ลมพัดก็เปน็ ปุ่มเปือกนำ้ ซัดไปมามีท่ีต่ำมีที่สูงมีท่รี าบมที ่เี พียงทีใ่ ดตำ่ นน้ั กลายเป็นแม่น้ำ ทใ่ี ดสูง กลายเปน็ ภูเขา ท่ีใดราบเพียงกลายเป็นท่ีไร่ทีน่ าเป็นป่าในแผ่นดินชมพูทวีปอันเราอยู่นีเ้ กดิ เป็นพระมหาโพธิก่อน ฝย่ ว่า ไฟไหมก้ ็ไหมส้ ุดท้ังหลาย สถานที่น้นั เปน็ สถานท่ีพระพทุ ธเจ้าตรสั รทู้ ุกพระองคแ์ ล ว่าทนี่ น้ั เฉพาะกลายเป็นชมพทู วีปแลฯ พื้นแหง่ น้ันสงู แลกวา้ งท้ังหลายเมื่อดอกบัว เม่อื เราจะกนั ก็เกิดท่นี ้ันขนึ้ พรหมโลกยแ์ ลฯ เมอ่ื นำ้ แหง้ แลฝนดใี นแผน่ ดินนี้ มี พรหมคนทรสั ส (สารสังคหะว่า สรุ ภิคันธ) โอชารสอรอ่ ยนักหนาดังอันจไมท้ กปายาไส (สารสังคหะวา่ นิรทุ กปายาส) เมอื่ ๔๗
นั้นฝงู พรหมอนั อยู่ในอาภสั สรพรหมสิ้นบุญจตุ จิ ากอาภสั สรลงมาเกดิ เป็นมนษุ ย์เกิดตัวอปุ ปาติกฯ คนฝงู นนั้ บมิเป็นผู้หญิง เปน็ ฝ้ชู ายเป็นดังฝูงพรหมทั้งหลายแล มีรัศมีรุง่ เรอื งงามแลมีรทิ ธาพิธอี าจไปโดยอากาศบห่อนรู้กนิ อาหารสิง่ ใดแล แต่ปีติ สขุ นั้นเป็นอาหารต่างข้าวแลนำ้ แลฯ เม่ือนนั้ อายุเขาไดอ้ สงไขยหน่งึ แลฯ อยู่จำเนียรกาลดับนัแ้ ลจดั ให้เปน็ ผู้หญิงผู้ชายดัง เม่ือก่อนน้ันฯ ฝูงพรหมทั้งหลายเห็น ดังน้ันต่างคนก็ต่างชิมรสปถพีน้ันทุกคนต่างข้าวแลน้ำทุกวันเหตุดังน้ันดำริ ๓ วัน เป็นอกศุ ลเกิดแก่เขาดังน้ัน อันวา่ รศั มีในตัวเขาก็หายไปส้ินแล แต่น้นั มืดท้ังเมืองดินนี้ทุกแห่งแลมไิ ดเ้ ห็นกันสกั แห่งเลยฯ เขาเห็นว่ามืดดังนั้นก็กล่าวทุกคนเขาจึงรำพึงดังน้ี แลว่าเราจะกระทำอันใด แลว่าเราจะเห็นหนดังนี้ เมื่อดังนั้นด้วย อำนาจเพื่อบุญฝูงสัตว์อันเกิดน้ัน จึงเป็นเดือนเป็นตระวนั เป็นคืนดงั เก่าอีก อำนาจอธิษฐานน้ันจึงเกิดเป็นตะวันดวงหน่ึง ใหญ่สงู ได้ ๕๐ โยชน์ โดยมณฑลได้ ๑๕๐ โยชน์ให้คนท้ังหลายเห็นหน เม่อื นั้นฝงู คนทั้งหลายเห็นกันเรืองดังนั้นแลยินดี ถูกเนื้อพึงใจหนักหนาฯ จึงว่าดังนี้เทพบุตรตนนี้อาจบรรเทาอันมืดนั้นกล่าวได้ฯ ควรเรียกช่ือว่าพระสุริยแลฯ เม่ือน้ัน อาทิตยใ์ ห้รุ่งเรืองส้นิ กลางวนั ดังน้ันฯ จงึ ประทกั ษิณพระสเุ มรรุ าชไป คร้ันวา่ ลบั เขาพระสุเมรรุ าชฝ่ายหนึ่งกลบั มืดเขา้ เล่า แล ฝูงคนท้ังหลายยิ่งกลัวขึ้นเล่าโสดฯ จึงว่าดังน้ี เทพบุตรอันเกิดให้รุ่งเรืองดีนักหนาแล้วแต่ว่ายังมีเมื่อมืดดังนี้ฯ จึง เทพบตุ รอาจให้ร่งุ เรอื งเมื่อกลางคนื น้ีดงั เทพบุตรลับไปดว้ ยน้ัน อำนาจใหฝ้ ูงคนทัง้ หลายใฝ่ใคร่อธิษฐานดังน้ีฯ จงึ เกิดเป็น เดือนอนึ่งวใหญ่แลงามนักแต่ว่าน้อยกว่าตระวันโยชน์ ๑ เป็นดังใจฝูงคนทั้งหลายอธิษฐานนั้นแลฯ ท้ังเดือนแลตระวัน ย่อมมาแต่พรหมโลกย์ เพื่อจักให้เหน็ แก่ฝงู คนท้ังหลายในโลกย์น้ีแลฯ เม่ือเขาเห็นเดือนดังน้นั เขายินดีนกั หนาย่ิงกวา่ เก่า เขาจึงว่าดังนี้ เทพบุตรตนน้ีอาจให้เราเห็นหนดังใจเราปรารถนาดังนี้ดุจรู้ใจเรา แลเกิดเป็นควรเราเรียกชื่อว่าจักร เทพบุตรแลฯ เม่ือเกดิ มีพระอาทิตย์พระจันทร์แล้ว จึงเกิดเป็นสัปตพสี นักษัตรแลดาวดารากรท้ังหลายภายหลงั แต่น้ัน จึงมวี ันแลคืนปแี ลเดือนทัง้ หลายฤดูอาสท้ังหลายแต่น้นั มาแลฯ แตจ่ ักให้แผ่นดินแลเรืองเป็นฟ้า เป็นดนิ รอด เป็นปี เป็น เดือน เป็นตระวันดังนั้น โดยอสงไขยหน่ึงเรียกช่ืออนันต์ได้อสงไขยกัลปแลฯ เมื่อวันแรกมีพระอาทิตย์พระจันทร์แลฝูง สตั วแ์ ลดาวดารากรท้ังหลาย จักแรกให้รูจ้ ักปเี ดอื นวันคืนน้ัน พอในเดือน ๔ เพ็งบูรณ์มีวันอาทิตย์เสร็จในราษีเสวยฤกษื อุตตรภัทร์ พระจนั ทรแ์ รกเสด็จในกญั ราษเี สวยฤกษอ์ ุตตรผคุณ พอเม่ือดงั น้นั เห็นหนท้งั ๒ ทวปี (อกี ๒ ฉบับว่า ๔ ทวีป) คาบเดียวส้ิน พระอาทิตย์ให้เห็นหนท้ัง ๒ ทวีป พระจันทร์พอให้เห็นหน ๒ ทวีปเท่ากันนั้น คร้ันพระอาทิตย์เกิดข้ึนใน แผ่นดินเรานี้ไส้เห็นท้ังแผ่นดินบุรพิเทห ๒ แผ่นดินเห็นเพื่อพระอาทิตย์แลฯ ครั้นว่าเดือนตกในแผ่นดินเรานี้ เห็นรีศมี พระจนั ทร์ในอตุ ตรกรุ ุแล อมรโคยานที วปี นีค้ าบเดียว ๒ ทวีปเพ่ือหนเพื่อรัศมีพระจันทร์แลฯ แต่นน้ั มาเปน็ ต่อเท่าฝูงคน ทั้งหลายอยู่ในแผ่นดินแลฯ เถิงว่าใหม่กัลปเล่าโสดเรียกช่ือว่าวินตถายี (ความตรง วิวัฏ์ฏัฏ์ฐายี) อสังเขยยกัลปแลฯ ทั้ง ๔ อสงไขยน้ชี ่ือมหากัลปแลฯ ในปี ๑ มีฤดู ๓ อัน ๆ หนึง่ ชือ่ คิมหันตฤดู อนึ่งช่ือวัสสนั ตฤดู อนง่ึ ช่ือเหมัตฤดแู ลฤดู ๓ อัน ว่าคิมหันต ฤดูเป็นก่อนมี ๔ เดือน แตเ่ ดอื น ๔ แลเดือน ๔ แรมคำ่ ๑ เถงิ เดอื น ๘ เพ็งบูรณ์เป็น ๔ เดือนแลเปน็ คิมหนั ต ฤดูแล แต่เดือน ๘ แรมค่ำ ๑ ไปเถิงเดือน ๑๒ เพ็งบูรณ์เป็น ๔ เดือนช่ือวัสสันตฤดูแลฯ นับแต่เดือน ๑๒ แรมค่ำ ๑ ไป เถิงเดือน ๔ เพ็งบูรณ์เป็น ๔ เดือนช่ือเหมันตฤดูแลฯ อนึ่งเล่าแลฤดูนนั้ มีสองกาลท้ัง ๓ ฤดูนั้เป็น ๖ กาลแล แต่เกือน ๔ แรมค่ำ ๑ ไปเถิงเดือน ๖ เพ็งชื่อวัสสันตฤดู เม่ือนั้นน้ำหากกระทำโทษแก่คนทง้ั หลายฯ แตเ่ ดือน ๖ แรมค่ำ ๑ เถงิ เดอื น ๔๘
๘ เพ็งช่ือคิมหันตฤดูกาล เม่ือนั้นมีกำลังลมแลกำลังไฟในคนทั้งหลายแต่เดือน ๘ แรมค่ำ ๑ ไปเถิงเดือน ๑๐ เพ็งช่ือวัส สันตฤดูกาล เมื่อน้ันลมแลไฟทำโทษแก่คนท้ังหลายฯ แต่เม่ือเดือน ๑๐ แรมค่ำ ๑ ไปเถิงเดือน ๑๒ เพง็ ชื่อสรทกาล เมื่อ นน้ั หนาวลมแลน้ำให้โทษแลฯ แต่เดือน ๑๒ แรมค่ำ ๑ เถิงเดือนยี่เพ็งช่ือเหมนั ตฤดู เม่ือดังนั้นไฟแลน้ำหากทำโทษแลฯ ในกาล ๖ อันน้อี ันที่พระษนกาลน้ันหากเป็นก่อน แลเป็นกอ่ นทั้งหลายฝงู คนอนั เกิดในแผ่นดินน้ีกนิ โอชารสปถพีด้วยฤดู ฝงู นแ้ี ลฯ เหตวุ ่าฝูงชนทง้ั หลายประมาทลืมตนการอนั จะเป็นกศุ ลบุญธรรม อันว่าโอชารสปถพีอันคนท้ังหลายกนิ นัน้ ก็จม ลงไปใต้ดินจึงพูนข้ึนในกิลปดิน (สารสังคหะว่า ภูมิปัป์ปฏโก) ดังดวงเห็ดอันตฺน้ันก็จมลงหายในแผ่นดินแลฯ จึงพูนเกิด เข้าอนึ่งชื่อภัทธาลดา (สารสังคหะว่า ปทาลตา) ประดุจดังผักบุ้ง แลมีโอชารสอันดีนักหนา ชนทั้งหลายจึงกินเชือกเขา น้ันต่างข้าวทุกวารแลฯ อยจู่ ำเนียรกาลคนท้งั หลายประมาทในบุญธรรมนนั้ นักหนา จงึ เชอื กเขาภัทธาลดานนั้ ดานหายไป จึงพูนเกิดเป็นข้าวอันชื่อชาติสาลีอันหาแกลบแลรำบมิได้แลมิพักตำหากขาวเองแล้ว กลายเป็นต้นเป็นหน่อเป็นตอเกิด เป็นข้วสารอยู่เอง แลมิพักตำมิพักตากมิพักฝัดสักอัน ครั้นว่าเอาข้าวสารน้ันใส่หม้อแล้วดังตั้งขึ้นเหนือก้อนเส้าอันชื่อ โชติกปาสาณฉันน้ัน อันว่าเพลิงในก้อนเส้าหากลุกขึ้นเอง ถ้าแลมีใจจะใคร่กินกบั ไส้หากเกิดมีกับข้าวทกุ ส่ิงแลฯ คร้ันว่า คนท้ังหลายกนิ ขั้าวดงั นั้นจึงเกดิ มีลามกอาจม จงึ รู้ร้ายตีนร้ายมือเป็นลามกอาจมเป็นปรกติมนุษย์แลฯ เป็นแตน่ ั้นต่อเท่า บดั น้ีแลฯ แตเ่ ม่อื เขากินโอชารสปถพีน้ันกด็ ี แลเขากินกลีบดินก็ดี อันดังดวงตมนั้นก็ดี เมื่อกินเชือกเขาภัทธาลดานนั้ ก็ดี อันจะเป็นลามกอาจมหาบมไิ ดด้ ังฝูงเทพยดาทั้งหลายอันเสวยข้าวทิพย์ชื่อสุทธาโภชน์น้ัน แมน้ ว่ากินเท่าใด ๆ ก็ดี บมิรู้ เปน็ ลามกอาจมเลย ครัน้ ว่ากนิ อาหารนั้นไปถ้วนเอฯ็ อนั ได้ ๗ พนั แลว้ ไปตอ้ งเตโชธาตุ อาหารฝงู นน้ั กล็ ะลายแหลกหายไป ในตัวสนิ้ เม่ือใดได้กนิ ข้าวไส้ แลอาหารนนั้ แวนมาก จึงกลายเกิดเป็นลามกอาจมเพ่ือดงั นั้นฯ เม่ือกาลได้กินขา้ วนั้นอนั ว่า กำหนดั แกร่ าคคดีโลกย์คดธี รรมแก่ฝูงหญิงชาย แลคนทง้ั หลายก็มีแตน่ ั้นแลฯ ผู้ใดแลโลภแก่ดำฤษณาน้ันมากนกั ฝงู น้ันก็ กลายเป็นผู้หญิงไปแลฯ ผู้ใดโลภแต่ดำฤษณาแต่พอบังควรไส้กเ็ ป็นบุรุษภาวอยู่แลฯ อนั ว่าเกิดเป็นบุรุษภาวแลอิตถีภาว ไส้ เป็นแตน่ นั้ มาต่อเท่าบดั น้ีแลฯ ครน้ั วา่ เกิดมฝี งู หญิงฝงู ชายแล้วดงั นน้ั ครัน้ เขาเห็นกันกม็ ีใจปฏพิ ทั ธแ์ ก่กัน แลว้ จงึ เกิดมี เมถุนด้วยกันโดยธรรมดาโลกย์ก็มีมาแต่กัลปก่อนโพ้นแลฯ แต่น้ันเขาจึงรู้หาท่ีเรอื นแลทีอยู่เพื่อจักบังควรความอายอัน เป็นอกศุ ลสภุ าวน้ันแลฯ คร้นั วา่ เขาเป็นคู่คำรบผัวเมยี กนั แล้วแลเขาทำเหย้าเรอื นอย่ดู งั นัน้ เขาจึงไปเอาข้าวอันชือ่ วา่ ชาติ สาลมี าไว้ให้มากเพ่ือสนใจไว้ว่าจะกินหลายวนั แลฯ กาลนนั้ อันว่าชาติข้าวสาลนี ้ันก็กลายเป็นเปลือกเป็นแกลบเป็นรำไป ดังข้าวเปลอื กเราบัดนี้แลฯ อันว่าสถานท่ีขา้ วเคยงอกแลแตกเป็นขา้ วสารนนั้ กม็ ิไดง้ อกขึ้นเปน็ ดังเกา่ เลยฯ จึงคนทงั้ หลาย เห็นหลากมหัศจรรย์ดังนั้น แล้วเขาจึงชุมนุมปรึกษาเจรจาฉันน้ี แลว่าเมื่อก่อนเรากระทำความอันชอบธรรม เรา ปรารถนาอนั ใดก็ได้ดังเราปรารถนาแต่ก่อนไส้ เรามิได้กินอาหารก็ดีเราก็อ่ิมอยู่แล เราจะไปแห่งใดก็ไปโดยอากาศ อน่ึง เราไส้มที ่ีนอนที่อยู่ก็เป็นสุขสำราญ ตัวเราก็มีรัศมีอันรงุ่ เรืองท่ัวทั้งจักรวาล ทั้งโอชารสแผ่นดินก็ข้ึนมาปนเพ่ือประโยชน์ แก่เรา ๆ ก็ชวนกันโลภอาหารเรากนิ กนั โอชารสแผน่ ดิน อันว่ารัศมีในตัวเราทรี่ ุ่งเรอื งน้ันก็หายไปส้ิน ก็บันดาบให้มดื แก่ เรา ๆ จงึ ปรารถนาหาสีอนั รุ่งเรอื งนัน้ เลา่ ฯ จงึ เกดิ พระอาทิตยพ์ ระจนั ทรใ์ ห้รงุ่ เรอื งแกเ่ รา ๆ กระทำซ่งึ สภาวผิดธรรมอนั ว่าโอชารสแผ่นดินนั้นก็หายไป จึงกลายเป็นดอกเห็ดอันตูมน้ีนั้นขึ้นมาในกลีบดินให้เราได้กินต่างข้าวเราไส้ เร่งกระทำ ๔๙
ความอันมิชอบธรรมเล่า อันว่ากลีบดินดังดอกเห็ดตูมน้ันกห็ ายไป จึงกลายเป็นเชือกเขาชือ่ ภัทธาลดามาขึ้นมาให้เราได้ กินต่างอาหารเล่า เราก็เร่งกระทำความมิชอบซ้ำอีกเล่า อันว่าเชือกเขาภัทธาลดาน้ันก็หายไปส้ิน จึงกลายเป็นข้าว สญั ชาติสาลีอันมิได้ปลกู หากเป็นข้าวสารมาเองเป็นอาหารเรา ๆ ได้กินเป็นอาหาร แลว่าข้าวสัญชาตสิ าลีน้ีท่ีใดเราเอา เมอื่ ตะวันเยน็ น้ันครั้นว่ารงุ่ ขน้ึ เชา้ เราเหน็ ขา้ วน้นั เป็นอยู่ในที่น้นั ดังเกา่ เลา่ แลฯ ทใ่ี ดอันเราไปเอาเมอ่ื เชา้ ไส้ ครนั้ วา่ ตะวัน เย็นก็เห็นข้าวนั้นเต็มงามอยู่ในที่นั้นดังเก่าเล่า อันว่าท่ีรอยเราเก่ียวเอานน้ั ก็หามิได้ บัดนี้ไส้เราเร่งกระทำความผิดธรรม ยิ่งกว่าเก่าอีกแลฯ อันว่าข้าวสาลีน้ีก็ดานเป็นขา้ วเปลือกไม่ แลวา่ ท่ีเกี่ยวข้าว ข้าวนั้นก็หายไปเหน็ แต่ซังแลฟางเปล่า แล จะเป็นรวงข้าวคืนมาเหมือนเก่านั้น หาบมิได้แก่เราแล้วแลฯ แต่นี้ไไปเบื้องหน้าเราท่านทั้งหลายควรปั่นที่แบ่งแดนกัน ต่างอันจะปลูกแลฝังกินจึงจะชอบแลฯ เขาจึงปันท่ีไร่ท่ีนาให้แก่กันแลฯ เมื่อนั้นแลบางคนโลภแลใจร้ายไปชิงเอาท่ีผู้อื่น เขาผู้อนื่ ก็ขัดใจไล่ตไี ลด่ า่ กนั ไปมาเปน็ ๒ คร้ัน ๓ คร้งั ไปเลา่ ฯ ท่นี ้ันเขาจงึ ชมุ นมุ ปรกึ ษาเจรจาด้วยกนั วา่ ฉนั นีฯ้ วา่ บัดนี้เรา น้ีเป็นโจกเจกโว้เว้นักเพราะว่าเราหาที่กล่าวบมิได้ แลควรเราท่านท้ังหลายต้ังไว้ท่านผู้หน่ึงให้เป็นใหญ่เป็นเจ้าเป็นจอม เราเถิด เราท้ังหลายผิดชอบสิ่งใดให้ท่านแต่งบังคับถ้อยความอันผิด แลชอบแแก่เราให้แต่งปันท่ีปันแดนให้แก่เราแลฯ แลเราจะให้ที่ไร่ท่ีนาแก่ท่านผู้นนั้นมากกว่าเราท้ังหลาย ครั้นว่าเขาชุมนุมกันแล้วเจรจาด้วยกันฉันน้ี เขาจึงไปไหว้พระ โพธิสัตว์เจ้าขอใหท้ ่านผู้เป็นเจ้าเป็นจอมแก่ผู้ข้า ฯ เขาจึงอภิเษกพระโพธสิ ัตว์เจ้าเป็นพระญาด้วยชือ่ ๓ ช่ือ ๆ หนึง่ มหา สมมติราช อนึ่งช่ือขัตติย อนึ่งช่ือราชาฯ อันเรียกว่า มหาสมมติราชน้ันไส้ เพราะวา่ คนท้ังหลายยอมตั้งให้ท่านเป็นใหญ่ แลฯ อันเรียกชื่อขัตติยนั้นไส้ เพราะว่าคนท้ังหลายแบ่งปันไร่นาข้าวน้ำแก่คนทั้งหลายแลฯ อันเรียกว่าราชาน้ันเพราะ ท่านนั้นถูกเน้ือพึงใจคนท้ังหลายแลฯ จึงเรียกว่าราชาเพื่อดังน้ันแลฯ พระโพธิสัตว์เจ้าหากเป็นผู้ชายท้งหลายแลฯ คน ท้ังหลายย่อมยกยอท่านให้เป็นพระญาไส้ เพราะเขาเห็นทน่ นนั้ มีรูปโฉมอันงามกวา่ คนทั้งหลาย แลรู้กว่าคนท้ังหลายแล ใจงาม ใจดีกว่าคนทั้งหลาย ใจซ่ือ ใจตรง ใจบุย ยิ่งกว่าคนทั้งหลาย เขาเห็นดังน้ันเขาจึงตั้งให้เป็นพระญา เป็นเจ้าเป็น จอมเขา เพ่ือดังน้ันแลฯ พึงสอนเรียกชื่อขัตติยนี้ ก็สืบสันดานมาต่อเท่าบัดนี้แลฯ คนลางจำพวกเห็นอนิจจังสงสารการ นน้ั ยิง่ เปน็ อกุศลยง่ิ สงั เวชแกใ่ จ จงึ ออกไปหาเป็นกุฏิแลศาลาที่สงัด แลว้ จำศลี ภาวนาแลยอ่ มไปปรึกษาหารการบิณฑบาต เล้ยี งตนแล้วตัดความโลภเสียฯ คนหมกู่ ระทำบชู ายัญพ่อพราหมณ์ท้ังหลายมาต่อเทา่ กาลบัดนแี้ ลฯ คนจำพวกหน่ึงท่าน แจกไร่แจกนาที่แดนให้แก่คนทั้งหลายเขาเอาเท่านั้น เขาคอยรักษาความชอบค้าขายด้วยความชอบมา คนจำพวกนั้น เป็นพราหมณเพศสิบสันดานมาต่อเท่าบัดนี้แลฯ คนลางหมู่กระทำส่ิงใดย่อมทำด้วยสามารถ มันฆ่าสิงสัตว์เนื้อแลปลา ทั้งหลายเทียรย่อมเล้ียงตน เป็นพรานแลสูทร์สืบสันดานมาต่อเท่าบัดน้ีแลฯ ฝูงคนท้ังหลายกระทำสิ่งใดด้วยกรรมอัน ยากเย็นจึงได้มาเล้ียงตนไส้แลมิได้กินด้วยง่ายเป็นสุขดุจก่อนเลยฯ คนทั้งหลายอันเกิดแต่อาทิกัลปน้ันอายุเขายืนได้ อสงไขย ๑ แลฯ อยู่นานมาอายุเขากาถอยลงมาเนอื ง ๆ เมื่อนานมาเถิงอายุคนทั้งหลายแต่ ๑๐ ปีตายแลฯ ชนมาพิธีปี เดือนคนทัง้ หลายถอยลงเพื่อใด เพราะว่าฝูงคนทั้งหลายอันมาภายหลังแรงกระทำความโลภโทสโมหมากกว่าเก่าแล จึง อายุเขาทั้งหลายเร่งน้อยลงมาเพ่ือดังนั้นแลฯ ฝูงคนท้ังหลายกระทำบาปนักหนา เม่ือใดฝูงเทพยดาท้ังหลายอันอยู่ใน เมืองฟ้าก็ดีอยู่ในต้นไม้ก็ดีบมีคนเกรงท้ังพระอาทิตย์ก็ดี พระจันทร์กด็ ี นพเคราะห์ก็ดี แลฤกษ์นักษัตรทั้งหลายอันดี บมิ ๕๐
เสร๗็ ในราษีอันดี ดงั เก่าทั้งฤดู ๓ อนั ก็ดี ท้ังกาล ๖ อันกด็ ี กห็ ลากส้ินบมิเป็นปรกตดิ ังเกา่ ท้ังฝนแลลมทั้งแดดก็หลากทั้ง ไมไ้ ล่ในแผ่นดินนัน้ อันเป็นยานั้นกบ็ มิเป็นยาดังเก่าเพอื่ ฤดูกาลนัน้ หลากไปแลฯ ฝงู คนท้ังหลายเร่งถอยอายเุ พ่ือดงั น้ันแล ฯ ถ้าแลเมอื่ ใดฝงู คนทั้งหลายมิได้กระทำบาปแลบันดาลไมตรีไส้ ฝูงเทพยดาทง้ั หลายกร็ ักษาพยาบาลท้ังพระอาทิตย์ แล พระจันทร์ นพเคราะห์แลนักษัตริท้ังหลายเสร็จในราษีแลมีบมิหลากเลยฯ ทั้งลมแลฝนแดดนั้นก็ชอบดว้ ยฤดูปีเดือนวัน คนื ไม้ไลอ่ ันเป็นหยูกยานั้นก็ดี คนื น้ันชนมาพิธีทั้งหลายก็เรง่ ยืนขึ้นไปเบ้ืองหน้าคืนเล่า อันว่าฝูงคนทง้ั หลายในโลกย์นี้บมิ เท่ียงบมแิ ทแ้ ลแปรปรวนไปมา ดงั กลา่ วมานีแ้ ลฯ ลางปางเป็นปีแลว้ เป็นรา้ ย ๆ แลว้ เปน็ บดีห่อนเที่ยงสักคาบแลฯ อันวา่ คนในโลกย์นี้มิเท่ียงเลยฯ คนผู้มีปัญาควรเอาอาการดังนี้ใส่ใจแลรำพึงเถิง อนิจจํ สงสาร แลเร่งกระทำบุญแลธรรมจง หนกั ให้พน้ จากสงสารอันบมเิ ทย่ี งแลฯ ใหพ้ น้ พลนั เถิงสมบตั คิ อื มหานครนพิ พาน อันม่นั อนั บมไิ หวบมริ ู้ฉบิ หายบมิตายบมิ รู้จากที่ ลางทีดียิ่งกว่าสมบัติท้ังหลายอันมีในไตรโลกย์น้ีแลฯ กล่าวเถิงโอกาสมหากัลปสุญญตาอันเป็นทสกกัณฑ์ โดยสงั เขปเทา่ น้แี ลฯ อนั วา่ นิพพานสมบตั นส้ี นกุ นส์ิ ุขเกษมนกั หนาหาทจ่ี ะปานบมิไดเ้ ลยฯ สมบัตอิ ินทร์พรหมทั้งหลายก็ ดี ถ้าจะเอามาเปรียบดว้ ยสมบัตินิพพานนน้ั ประดุจห่งิ หอ้ ยเปรียบดว้ ยพระจนั ทร์ ถ้ามดิ งั นน้ั ดุจน้ำอันติดอยปู่ ลายผมแล มาเปรียบด้วยน้ำมหาสมุทรอันลึกได้ ๘๔,๐๐๐ โยชน์ ผิบมิดังน้ันดุจเอาดนิ ธุลนี ั้นมาเปรีบด้วยเขาพระสเุ มรุ จกั รรัตนวร อันประเสริฐแห่งนิพพานนั้นบมิถ้วนเลญ สมบัติในนิพพานนั้นสุขจะพ้นประมาณแลว่าหาอันจะเปรียบบมิได้ บมิรู้เป็น อาพาธพยาธิ สิ่งใดมิรู้เฒ่าบมิรู้แก่บมิรู้ตายบมิร้ีฉิบหาย บมิรู้พลัดพรากจากกันสักอัน สมบัติย่ิงมนุษย์โลกแลเทวโลกย์ พรหมโลกย์ ฯ ๑.๔ สุภาษติ พระรว่ ง สุภาษิตพระร่วงเป็นวรรณกรรมมุขปาฐะของสุโขทัย ได้รับการเรียบเรียงเป็นร่ายสุภาพ และ จารึกเป็นวรรณกรรมลายลักษณ์ในภายหลัง โดยจารึกลงในแผ่นศิลารูปส่ีเหลี่ยมจตุรัส ติดไว้กับผนังด้านใน ของศาลาหน้าพระมหาเจดีย์หลังเหนือ วัดพระเชตุพน ฯ กรุงเทพ ฯ และจดไว้ในสมุดไทยอีกหลายเล่ม กรมศิลปากรจัดพิมพ์เป็นครั้งแรก เม่ือปี พ.ศ.๒๔๗๒ มีชื่อเรียกอีกอย่างหน่ึงว่า “บัญญัติพระร่วง”(กลุ่ม งานขอ้ มลู สารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานจังหวดั สุโขทยั , ๒๕๕๖) มเี นอื้ ความทัง้ หมด ดังนี้ มลกั เห็นในอนาคต ปางสมเด็จพระรว่ งเจ้า เผา้ แผน่ สโุ ขทยั จึงผายพจนประภาษ เป็นอนุสาสนกถา สอนคณานรชน ทว่ั ธราดลพึงเพยี ร เรียนอำรงุ ผดงุ อาตม์ อยา่ เคล่ือนคลาดคลาถ้อย ๕๑
เมื่อน้อยให้เรยี นวิชา ให้หาสินมาเม่ือใหญ่ อยา่ ใฝ่เอาทรพั ยท์ า่ น อย่าริร่านแก่ความ ประพฤตติ ามบูรพระบอบ เอาแต่ชอบเสยี ผิด อย่ากอปรกิจเปน็ พาล อย่าอวดหาญแกเ่ พื่อน เข้าเถ่ือนอยา่ ลืมพรา้ หน้าศกึ อยา่ นอนใจ สร้างกศุ ลอย่ารูโ้ รย ไปเรือนทา่ นอยา่ น่ังนาน การเรอื นตนเรง่ คดิ คบขนุ นางอยา่ โหด อยา่ นัง่ ชิดผใู้ หญ่ อย่าใฝ่สงู ใหเ้ กนิ ศกั ดิ์ ทร่ี กั อยา่ ดูถูก ปลกู ไมตรีอยา่ รู้รา้ ง ปลีกตนไปโดยด่วน อย่าโดยคำคนพลอด เขน็ เรือทอดกลางถนน ทางแถวเถื่อนไคลคลา เป็นคนอย่าทำใหญ่ ขา้ คนไพร่อย่าไฟฟนุ ท่ชี อบชว่ ยยกยอ โทษตนผดิ รำพงึ อยา่ คะนึงถึงโทษทา่ น หว่านพชื จกั เอาผล เลี้ยงคนจักกินแรง อย่าขดั แข็งผู้ใหญ่ อย่าใฝ่ตนใหเ้ กิน เดินทางอย่าเดินเปลี่ยว น้ำเช่ียวอย่างขวางเรือ ที่ซุม้ เสอื จงประหยัด จงเร่งระมดั ฟืนไฟ คนเป็นไทอย่าคบทาส อยา่ ประมาทท่านผ้ดู ี มสี ินอยา่ อวดม่งั ผเู้ ฒา่ สั่งจงจำความ ที่ขวากหนามอย่าเสียเกือก ทำรวั้ เรอื กไว้กับตน คนรักอย่าวางใจ ทีม่ ีภยั พึงหลกี ไดส้ ่วนอย่ามักมาก อยา่ มีปากว่าคน รักตนกว่ารกั ทรัพย์ อยา่ ไดรั ับของเข็ญ เห็นงามตาอยา่ ปอง ของฝากทา่ นอยา่ รบั ทท่ี ับจงมีไฟ ท่ีไปจงมเี พ่ือน ครูบาสอนอย่าโกรธ โทษตนผิดพงึ รู้ สเู้ สียสินอยา่ เสียศักด์ิ ภกั ดีอยา่ ดว่ นเคยี ด อย่าเบยี ดเสียดแก่มติ ร ท่ีผิดช่วยเตือนตอบ อย่าขอของรักมติ ร ชดิ ชอบมกั จางจาก พบศตั รปู ากปราศรยั ความในอย่าไขเขา อย่ามัวเมาเนืองนิตย์ คดิ ตรองตรกึ ทุกเมื่อ พงึ ผันเผอ่ื ต่อญาติ รู้ท่ีขลาดทหี่ าญ ๕๒
คนพาลอย่าพาลผิด อยา่ ผูกมติ รไมตรี เมือ่ พาทจี ึงตอบ จงนบนอบผู้ใหญ่ อย่ากอปรจิตริษยา ชา้ งไล่แลน่ เล้ยี วหลบ สวุ านขบอยา่ ขบตอบ อยา่ ปลกุ ผีกลางคลอง อยา่ ยลเยีย่ งถว้ ยแตกมติ ิด เจรจาตามคดี ลกู เมยี อยา่ วางใจ อาสาเจา้ จนตวั ตาย อย่าปองเรียนอาถรรพ์ พลนั ฉบิ หายวายมว้ ย ของแพงอยา่ มักกิน โอบออ้ มเอาใจคน จงยลเย่ยี งสมั ฤทธแ์ิ ตกมิเสีย ท่านไท้อยา่ หมายโทษ ยอครตู ่อหน้า ภายในอยา่ นำออก ภายนอกอย่านำเข้า ยอมิตรเมื่อลับหลงั เยียสะเทินจะอดสู อาสานายจงพอแรง ผดิ อยา่ เอาเอาแต่ชอบ เข้าออกอยา่ วางใจ อยา่ ยนิ คำคนโลภ เยียวผู้ชงั จะคอยโทษ ขา้ งตนไว้อาวธุ อยา่ ยลเหตุแตใ่ กล้ คิดทกุ ข์ในสงสาร โต้ตอบอยา่ เสียคำ คนโหดใหเ้ อ็นดู พรรคพวกพึงทำนกุ ยลเยี่ยงไก่นกกระทา ยอขา้ เมือ่ แล้วกิจ ระบอื ระบลิ อยา่ ฟงั คำ ทดแทนคุณทา่ นเมอ่ื ยาก ลูกเมียยงั อย่าสรรเสริญ เฝา้ ท้าวไทอยา่ ทรนง เจ้าเดียดอยา่ เดยี ดตอบ อยา่ ชงั ครูชงั มิตร อยา่ ขุดคนด้วยปาก อย่าเลียนครูเตือนดา่ นอบตนต่อผเู้ ฒ่า ทา่ นสอนอย่าสวนตอบ ระวงั ระไวที่ไปมา ระวังระไวหนา้ หลงั อย่ากรว้ิ โกรธเนอื งนิตย์ ผวิ ผดิ ปลิดไปรา้ ง เครื่องสรรพยุทธอยา่ วางจติ อยา่ ทำการทผี่ ดิ คิดขวนขวายที่ชอบ คนขำอย่าร่วมรัก ปลุกเอาแรงท่วั ตน พาลูกหลานมากิน การทำอย่าด่วนได้ อยา่ ใช้คนบงั บด ฝากของรกั จงพอใจ ภักดจี งอย่าเกยี จ นอบนบใจใสสุทธิ อย่าถากคนด้วยตา อยา่ พาผิดด้วยหู อยา่ รกิ ล่าวคำคด คนทรยศอย่าเชอื่ ความชอบจำใสใ่ จ เมตตาตอบต่อมติ ร ๕๓
คดิ แลว้ จึงเจรจา อย่านนิ ทาผู้อ่นื อยา่ ตื่นคนยกยอ คนจนอย่าดูถกู ปลกู ไมตรีท่ัวชน ตระกูลตนจงคำนับ อย่าจับลน้ิ แก่คน ทา่ นรกั ตนจงรักตอบ ทา่ นนอบตนจงนอบแทน ความแหนใหป้ ระหยดั เผา่ กษัตริย์เพลิงงู อยา่ ดูถูกว่านอ้ ย ห่ิงห้อยอยา่ แขง่ ไฟ อยา่ ปองภยั ต่อท้าว อย่าห้าวมกั พลันแตก อยา่ เข้าแบกงาช้าง อย่าออกกา้ งขนุ นาง ปางมีชอบท่านช่วย ปางป่วยท่านชงิ ชงั ผิจะบงั บงั จงลับ ผจิ ะจับจบั จงมนั่ ผจิ ะคั้นคัน้ จงตาย ผจิ ะหมายหมายจงแท้ ผจิ ะแก้แกจ้ งกระจ่าง อยา่ รักหา่ งกวา่ ชดิ คดิ ขา้ งหนา้ อย่าเบา อย่าถือเอาตืน้ ว่าลึก เมื่อเข้าศกึ ระวังตน เปน็ คนเรียนความรู้ จงยิ่งผ้ผู ้มู ีศักดิ์ อยา่ มักง่ายมิดี อย่าตีงูให้แกก่ า อย่าตีปลาหนา้ ไซ อยา่ ใจเบาจงหนัก อย่าตสี นุ ขั ห้ามเห่า ข้าเกา่ รา้ ยอดเอา อย่ารักเหากว่าผม อย่ารักลมกว่าน้ำ อยา่ รกั ถำ้ กวา่ เรือน อยา่ รักเดือนกว่าตะวนั สบสงิ่ สรรพโอวาท ผูเ้ ปน็ ปราชญพ์ งึ สดบั ตรบั ตรติ รองปฏิบัติ โดยอรรถอันถอ่ งถว้ น แถลงเลศเหตุเลือกลว้ น เลศิ อ้างทางธรรม แลนา ฯ บัณ เจิดจำแนกแจง้ พิศดาร ความเฮย ฑติ ยบุ ลบรรหาร เหตไุ ว้ พระ ปน่ิ นคั ราสถาน อุดรสขุ ไทยนา รว่ ง ราชนามน้ไี ด้ กล่าวถ้อยคำสอน ๒.๒ สรุป วรรณคดีสมัยสุโขทัยท่ีได้นำเนื้อความจากตัวบทท้ัง ๔ เร่ืองข้างต้นนี้ ผู้เรียนพึงพิจารณาให้เห็นถึง เนื้อหาโดยรวมของวรรณคดีแต่ละเร่ือง คำศัพท์ การเรียบเรียงรูปประโยค กลวิธีในการลำดับความ การ ๕๔
ใช้ความเปรียบ ตลอดจนรูปแบบหรือลักษณะคำประพันธ์ที่ใช้ ทั้งน้ี การพิจารณาเน้ือหา ย่อมทำให้เห็น ถึงสาระสำคัญท่ีบุรพกษัตริย์และบรรพชนสมัยโบราณได้จารจารึกไว้ให้เราได้เรียนรู้ถึงสภาพชีวิตความ เป็นอยู่ ศาสนา ประเพณี การเมืองการปกครอง ชนชั้นต่างๆ ในสังคม ตลอดจนค่านิยมและความเช่ือ ที่ ยังคงสืบทอดผ่านกาลเวลามาสู่ชนรุ่นหลัง ทั้งที่ปรากฏให้เห็นในสังคมท่ัวไปและที่ปรากฏในเน้ือหาของ วรรณคดีเร่ืองต่างๆ ในเวลาต่อมา และพึงพิจารณาถึงลักษณะอันโดดเด่นของการใช้ภาษาของสมัย สุโขทัย ท่ีบางลักษณะแตกต่างกับการเขียนในปัจจุบันอย่างสิ้นเชิง ในขณะท่ีลักษณะการใช้ภาษาบาง ประการกย็ ังคงพบเห็นได้ในการเขียนหนังสือยคุ ปจั จบุ ัน การค้นพบวรรณคดีลายลักษณ์ในสมัยสุโขทยั จึง มิได้เป็นเพียงการค้นพบโบราณวัตถุที่สะท้อนความเป็นมาอันยาวนานของสยามเท่านั้น หากแต่ยังเป็น การค้นพบ “ประตสู ู่ขุมทรพั ย”์ ทางภมู ิปัญญาโบราณอันสำคัญ ที่ทำให้คนไทยรู้รากเหง้าและท่ีมาของสิ่ง ที่เราคิด ส่ิงที่เราพูด ส่ิงท่ีเราเช่ือ สิ่งท่ีเรากระทำกันสืบมา และจะสืบทอดต่อไปสู่รุ่นลูกรุ่นหลานใน อนาคตกาลอกี ดว้ ย คำถามทบทวน ๑. จงเลือกถอดความศิลาจารึกพ่อขนุ รามคำแหง หรือ ศลิ าจารึกหลักที่ ๑ ดา้ นท่ี ๒ – ๔ ดา้ นใด ด้านหนง่ึ เปน็ ภาษาในปจั จบุ ัน ๒. จากการศึกษาศลิ าจารึกพ่อขุนรามคำแหงและจารึกวดั ศรีชมุ จงอธิบายว่า จารกึ ทง้ั สองหลกั เปน็ สง่ิ ท่ีชว่ ยยนื ยันลักษณะของชาวสยามท่กี ล่าวกนั ว่า “เปน็ คนเจ้าบทเจา้ กลอน” ได้หรอื ไม่อยา่ งไร พร้อมทง้ั ยกตัวอย่างเน้ือความในจารึกทง้ั สองประกอบการอธบิ าย ๓. หากไม่มกี ารบนั ทกึ ไว้ว่าวรรณคดีเรือ่ งไตรภมู ิพระร่วงแต่งขึ้นในสมยั ใด ทา่ นคิดวา่ เราจะสามารถ สงั เกตเพื่อเปรยี บเทยี บยคุ สมัยของวรรณคดีทงั้ ๓ เรื่องแรก ได้จากส่งิ ใดบ้าง เพ่อื ใช้เป็นสาเหตุ ในการสนั นิษฐานว่าเรอ่ื งใดเก่าหรอื ใหม่กว่ากนั ๔. ตวั อย่างเนอ้ื ความตอนท่ี ๑ – ตอนที่ ๑๒ ของไตรภูมิพระรว่ งที่ตัดตอนมานนั้ แตล่ ะตอน กล่าวถงึ อะไร จงตอบและอธิบายมาทลี ะตอนตามลำดับ ๕. มีคา่ นยิ มหรือความเช่ือใดบ้างในปจั จุบัน ทม่ี ที ่ีมาจากเนื้อหาในไตรภมู ิพระรว่ ง จงยกตวั อยา่ งมา ๓ ประการ พร้อมท้ังระบุด้วยวา่ ตรงกบั เนือ้ ความตอนใด(จาก ๑๒ ตัวอยา่ งเนื้อความท่ีตัดตอน มา) ๕๕
๖. จากวรรณคดสี มัยสโุ ขทยั ทัง้ ๔ เรื่อง แสดงให้เห็นวา่ ผแู้ ต่งวรรณคดีไทยในยคุ แรกเริ่มนี้ คอื กลุ่ม คนชนช้นั ใด จงอธบิ าย ๗. จงสรปุ ภาพรวมของ “รปู แบบการประพนั ธ”์ วรรณคดสี มยั สโุ ขทัยทงั้ ๔ เร่ือง ๘. จงอธิบายในประเดน็ “คำศพั ท์” ในวรรณคดีสมัยสุโขทัยท้ัง ๔ เรอื่ ง วา่ มลี ักษณะเปน็ อย่างไร โดยยกตวั อยา่ งคำศัพท์ประกอบให้ครบทุกเรื่อง ๙. หากมผี กู้ ลา่ วว่า “วรรณคดสี มัยสโุ ขทยั ไดแ้ สดงใหเ้ หน็ วา่ อาณาจกั รนี้มเี จริญรุ่งเรืองทางความ พุทธศาสนาเปน็ อยา่ งย่งิ ” ท่านเห็นด้วยกบั คำกล่าวน้ีหรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด จงยกตัวอย่างใน วรรณคดสี มยั ยุคสมยั นี้ ประกอบการอธบิ ายใหช้ ดั เจน ๑๐.ทา่ นคดิ ว่าวรรณคดสี มัยสุโขทัยท้ัง ๔ เรอื่ งน้ี เร่อื งใดโดดเด่นที่สุด เพราะเหตใุ ด จงอธบิ ายให้ ชัดเจน บรรณานกุ รม กุหลาบ มลั ลิกะมาส, คุณหญิง. (๒๕๒๕). ความร้ทู ่วั ไปทางวรรณคดไี ทย. พิมพค์ รัง้ ท่ี ๖. กรงุ เทพฯ: สำนกั พมิ พม์ หาวทิ ยาลัยรามคำแหง. จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . (๒๕๒๗). ศลิ าจารึกพอ่ ขนุ รามคำแหงมหาราช. จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั จดั ทำเน่ืองในโอกาส ๗๐๐ ปี ลายสือไทย กรุงเทพฯ: โรงพิมพจ์ ุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. ฉำ่ ทองคำวรรณ. (๒๕๔๓). ความรทู้ ่ัวไปทางวรรณคดีไทย(หลกั ศลิ าจารกึ สุโขทัย หลักท่ี ๑).พิมพ์คร้ัง ที่ ๑๔. กรงุ เทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวทิ ยาลัยรามคำแหง. เปล้ือง ณ นคร และปราณี บุญชุ่ม. (๒๕๓๓). ประวัติวรรณคดี ๑. พมิ พ์ครั้งที่ ๘. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญ ทัศน.์ อริสา เลย้ี งร่นื รมย์. (ม.ป.ป.). คุณคา่ และภาษาในศิลาจารกึ หลกั ท่ี ๑. ม.ป.พ. ๕๖
Search
Read the Text Version
- 1 - 49
Pages: