ภาษาบาลีและสันสกฤต ในภาษาไทย จั ด ทำ โ ด ย น.ส.อริสา กองเซ็น น.ส.จุฑามาศ พงษ์ธัญญะวิริยา น.ส.สุไรญา เจะดุหมัน น.ส.โสรยา สาลีทอง ชั้ นมั ธยมศึ กษาปี ที่ 6/1
ภาษาบาลีและสันสกฤต ในภาษาไทย สาเหตุที่ภาษาต่างประเทศเข้ามาปะปนในภาษาไทย เนื่องจากประเทศไทยมี ชายแดนติดกับประเทศต่างๆทำให้เกิดการไปมาหาสู่เกิดการแลกเปลี่ยนภาษา จึงทำให้นำเอาถ้อยคำภาษาเดิมมาใช้ปนกัน และด้วยการที่ประเทศไทยนั้นมีเสรีภาพ ในการนับถือศาสนาเลยได้รับถ้อยคำภาษาที่ใช้ในคำสอน ส่วนทางการค้าขายนั้น ประเทศของเราได้มีการติดต่อค้าขายทำให้ได้รับภาษาเข้ามาปะปนจำนวนมากอยู่ ตลอดเวลา ล้วนเป็นเหตุให้มีภาษาสันสกฤตและภาษาชวาเข้ามาปะปนในภาษาไทย ยังมีความสัมพันธ์ทางด้านวัฒนธรรมและประเพณีอีก ภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต จัดอยู่ในภาษาอินเดีย-ยุโรป ซึ่งเป็นตระกูลภาษา ที่มีวิภัตติปัจจัย พวกอารยันได้เข้ามาในอินเดีย เมื่อประมาณ 1,500 ปี ก่อนคริสตศักราช ภาษาสันสกฤต เป็นภาษาที่มีวิวัฒนาการมาจากภาษาในคัมภีร์พระเวทของชาว อารยัน ถือเป็นภาษาที่ศักดิ์สิทธิ์ของคนชั้นสูง ภาษาบาลี เป็นภาษาปรากฤตภาษาหนึ่งที่มีวิวัฒนาการมาจากภาษาพระเวท ภาษาบาลี คือ ภาษาที่ชาวมคธใช้พูดกันในแคว้นมคธ เรียกว่า “ภาษามาคธี” พระพุทธเจ้าทรงใช้ภาษานี้ประกาศพระศาสนาของพระองค์
ภาษาบาลีและสันสกฤตมีหน่วยเสียง 2 ประเภท 1.หน่วยเสียงสระ 2.หน่วยเสียงพยัญชนะ ภาษาบาลีมี 8 หน่วยเสียง คือ อะ อา หน่วยเสียงพยัญชนะภาษาบาลีมี 33 อิ อี อุ อู เอ โอ หน่วยเสียง ภาษาสันสกฤตมี 35 ภาษาสันสกฤต ตรงกับภาษาบาลี 8 หน่วยเสียง เพิ่มหน่วยเสียง ศ ษ ซึ่ง หน่วยเสียง และต่างอีก 6 หน่วยเสียง หน่วยเสียงพยัญชนะทั้งสิงภาษานี้ เป็น 14 หน่วยเสียง คือ อะ อา อิ อี อุ อู แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ พยัญชนะ เอ โอ ไอ เอา ฤ ฤา ฦ ฦๅ วรรค และพยัญชนะเศษวรรค วิธีสังเกตคำบาลี สังเกตจากพยัญชนะตัวสะกดและตัวตาม ตัวสะกด คือ พยัญชนะที่ประกอบอยู่ข้างท้ายสระประสมกับสระและพยัญชนะต้น เช่น ทุกข์ = ตัวสะกด คือ ก ตัวตาม คือ ตัวที่ตามหลังตัวสะกด เช่น สัตย สัจจ ทุกข เป็นต้น คำในภาษาบาลี จะต้องมีตัวสะกดและตัวตามเสมอ โดยดูจากพยัญชนะบาลี มี 33 ตัว แบ่งออกเป็นวรรคดังนี้
มีหลักสังเกตดังนี้ 1. พยัญชนะตัวที่ 1 , 3 , 5 เป็นตัวสะกดได้เท่านั้น (ต้องอยู่ในวรรคเดียวกัน) 2. ถ้าพยัญชนะตัวที่ 1 สะกด ตัวที่ 1 หรือตัวที่ 2 เป็นตัวตามได้ 3. ถ้าพยัญชนะตัวที่ 3 สะกด ตัวที่ 3 หรือ 4 เป็นตัวตามได้ในวรรคเดียวกัน 4. ถ้าพยัญชนะตัวที่ 5 สะกด ทุกตัวในวรรคเดียวกันตามได้ 5. พยัญชนะบาลี ตัวสะกดตัวตามจะอยู่ในวรรคเดียวกันเท่านั้นจะข้ามไปวรรคอื่นไม่ได้ 6.สังเกตจากพยัญชนะ “ฬ” จะมีใช้ในภาษาบาลีในไทยเท่านั้น 7. สังเกตจากตัวตามในภาษาบาลี จะมาเป็นตัวสะกดในภาษาไทยโดยเฉพาะวรรค ฎ และวรรค อื่น ๆ บางตัว จะตัดตัวสะกดออกเหลือแต่ตัวตามเมื่อนำมาใช้ในภาษาไทย เช่น วิธีสังเกตคำสันสกฤต 1. พยัญชนะสันกฤต มี 35 ตัว คือ พยัญชนะบาลี 33 ตัว + 2 ตัว คือ ศ, ษ ฉะนั้นจึงสังเกตจากตัว ศ, ษ มักจะเป็นภาษาสันสกฤต 2.ไม่มีหลักการสะกดแน่นอน ภาษาสันสกฤต ตัวสะกดตัวตามจะอยู่ข้ามวรรคกันได้ ไม่กำหนดตายตัว เช่น อัปสร เกษตร ปรัชญา อักษร เป็นต้น 3.สังเกตจากสระ สระในภาษาบาลี มี 8 ตัว คือ อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ ส่วนสันสกฤต คือ สระภาษาบาลี 8 ตัว + เพิ่มอีก 6 ตัว คือ สระ ฤ ฤา ภ ภา ไอ เอา 4.สังเกตจากพยัญชนะควบกล้ำ ภาษาสันสกฤตมักจะมีคำควบกล้ำข้างท้าย 5.สังเกตจากคำที่มีคำว่า “เคราะห์” มักจะเป็นภาษาสันสกฤต 6.สังเกตจากคำที่มี “ฑ” อยู่ เช่น จุฑา กรีฑา ครุฑ มณเทียร จัณฑาล เป็นต้น 7 .สังเกตจากคำที่มี “รร” อยู่ เช่น สรรค์ ธรรม์ วรรณ บรรพต ภรรยา บรรณารักษ์ มรรยาท กรรม ทรรศนะ สรรพ เป็นต้น
ข้อแตกต่างของภาษาบาลีและสันสกฤต ภาษาบาลี สันสกฤต เป็นภาษาตระกูลเดียวกัน และมีแหล่งกำเนิดที่ ประเทศอินเดียเหมือนกัน จึงมีลักษณะใกล้เคียงกันมาก แต่มีข้อแตกต่าง ที่เปรียบเทียบได้ดังนี้
ตัวอย่างคำ 1.กฐิน 6.นิทาน คำบาลี: กฐิน คำบาลี: นิทาน คำสันสกฤต: กฐิน คำสันสกฤต: นิทาน ความหมาย: ผ้าที่ถวายพระที่จำ ความหมาย: ที่มา (ของเรื่อง) พรรษาแล้ว 7.บาป 2.กมล คำบาลี: ปาป คำบาลี: กมล คำสันสกฤต: ปาป คำสันสกฤต: กมล ความหมาย: ความชั่ว, ความมัว ความหมาย: ดอกบัว; ใจ หมอง 3.กร, กรณ์ 8.วิชา คำบาลี: กร กรณ คำบาลี: วิชฺชา คำสันสกฤต: กรณ คำสันสกฤต: วิทฺยา ความหมาย: ทำ ความหมาย: ความรู้ 4.กรรม 9.ศรัทธา คำบาลี: กมฺม คำบาลี: สัทธา คำสันสกฤต: กรฺมนฺ คำสันสกฤต: ศรัทธา ความหมาย: การกระทำ ความหมาย: ความเชื่อ ความ 5.ชาติ เลื่อมใส คำบาลี: ชาติ 10.ศาลา คำสันสกฤต: ชาติ คำบาลี: สาลา ความหมาย: การเกิด คำสันสกฤต: ศาลา ความหมาย: โรง, เรือน, ศาลา. (ไทย) อาคารทรงไทย ปล่อยโถง ไม่ กั้นฝา ใช้เป็นที่พักหรืออื่นๆ.
ตัวอย่างคำ 11.อมตะ 16.มนุษย์ คำบาลี: อมต คำบาลี: มนุสฺส คำสันสกฤต: อมฤต คำสันสกฤต: มนุษฺย ความหมาย: ผู้ไม่ตาย ความหมาย: คน 12.อวกาศ 17.มรณะ คำบาลี: โอกาส อวกาส คำบาลี: มรณ คำสันสกฤต: อวกาศ คำสันสกฤต: มรณ ความหมาย: บริเวณที่อยู่นอก, ความหมาย: การตาย, ความตาย บรรยากาศของโลก 18.กรีฑา 13.อาสา คำบาลี: กีฬา คำบาลี: อาสา คำสันสกฤต: กรีฑา คำสันสกฤต: อาศา ความหมาย: เล่น. (ไทย) การ ความหมาย: ความหวัง, ความ แข่งขันประเภทลู่และประเภทลาน ปรารถนา. (ไทย) ทำโดยเต็มใจ, 19.กรุณา สมัครใจ, เสนอตัวทำให้. คำบาลี: กรุณา 14.เอราวัณ คำสันสกฤต: กรุณา คำบาลี: เอราวณ ความหมาย: ความเห็นใจคิดช่วย คำสันสกฤต: ไอราวณ ให้พ้นทุกข์ ความหมาย: ช้างพาหนะของ 20.ฐาน พระอินทร์ คำบาลี: ฐาน 15.โอกาส คำสันสกฤต: สฺถาน คำบาลี: โอกาส ความหมาย: ที่ตั้ง, ที่รองรับ คำสันสกฤต: อวกาศ ความหมาย: โอกาส, ที่แจ้ง, ที่ว่าง
อ้างอิง สาเหตุและที่มา การสังเกตคำ ข้อแตกต่าง ตัวอย่างคำ (ภาษาบาลี-สันสกต)
รายชื่อผู้จัดทำ น.ส.อริสากองเซ็น น.ส.จุฑามาศ พงษ์ธัญญะวิริยา เลขที่2 3 เลขที่37 น.ส.สุไรญา เจะดุหมัน น.ส.โสรยา สาลีทอง เลขที่41 เลขที่43
Search
Read the Text Version
- 1 - 9
Pages: