Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ข้อมูลและการเก็บรวบรวมข้อมูล

ข้อมูลและการเก็บรวบรวมข้อมูล

Published by ธณัฐชา การะเกตุ, 2019-06-27 03:02:10

Description: ข้อมูลและการเก็บรวบรวมข้อมูล

Keywords: Data

Search

Read the Text Version

ขอมูล และ การเกบ็ รวบรวม ขอ มูล

น.ส ธณัฐชา การะเกตุ น.ส ธนพร ประเสริฐวงศ์ น.ส กรรภิรมย์ แกว้ คํา ประกาศณียบัตรวชิ าชพี ช้นั สงู ปที 2่ี /3

คาํ นาํ หนังสอื อิเล็กทรอนกิ ส์ (E-Book) เลม่ นี้เป็นสว่ นหน่งึ ของวิชาของโปรแกรมสําเร็จรูปทาง สถิตเิ พอ่ื การวจิ ยั ระดับประกาศนยี บัตรข้ันสูง ปที ี่2 เพอื่ ใหไ้ ดศ้ กึ ษาในเร่ือง ข้อมูลและการ จัดเกบ็ ข้อมูลจะไดท้ ราบความหมายและข้อมูล ประเภทของขอ้ มลู ประชากร กลุม่ ตัวอย่าง การสมุ่ ตัวอยา่ ง และการเก็บรวบรวมขอ้ มลู คณะผจู้ ดั ขอขอบคณุ อาจารย์ วิลาวลั ย์ วชั โรทัย ตลอดจนคนทเี่ ก่ยี วข้องท่ีไดใ้ หค้ ําแนะนาํ และคาํ ปรึกษารวมทําการจัดทํารายงาน ผจู้ ดั ทํารายงานจงึ ขอขอบคณุ ณ โอกาสน้ี

สารบัญ หนา 3 เรือ่ ง 4 ขอมลู และการเกบ็ รวบรวม 7-12 ความหมายและขอมลู 13 ประเภทและขอ มลู 14-16 ประชากร 17-19 กลุมตัวอยาง 20 การสุม กลุมตวั อยา ง การเกบ็ รวบรวมขอ มลู

ขอ้ มูลและการเก็บรวบรวมขอ้ มูล ความหมาย ประชากร การ ของขอ้ มลู สมุ่ ตวั อยา่ ง ประเภท กลุ่มตวั อย่าง การเกบ็ ของขอ้ มลู รวบรวมขอ้ มลู

ขอมูล หมายถงึ ขอ มลู (Data) หมายถงึ ขอ เท็จจริงหรือเร่ืองราวทเี่ กยี่ วของกบั สง่ิ ตาง ๆ เชน คน สตั ว สง่ิ ของสถานท่ี ฯลฯ โดยอยใู นรปู แบบท่ี เหมาะสมตอการส่อื สาร การแปลความหมายและการประมวลผล ซงึ่ ขอมลู อาจจะไดมาจากการสงั เกต การรวบรวม การวดั ขอ มูล เปนไดท งั้ ขอ มูลตัวเลขหรอื สญั ญลักษณใ ด ๆ ที่สาํ คญั จะตองมีความเปน จรงิ และตอ เนือ่ งตวั อยา งของขอ มลู เชน คะแนนสอบ ชือนกั เรยี น เพศ อายุ เปน ตน

ประเภทของ 1 ขอ้ มลู ตวั อกั ษร ขอมลู------------------------------------ 2 ขอ้ มลู ภาพ 3 ขอ้ มลู ตวั เลข 4 ขอ้ มลู เสยี ง 5 ขอ้ มลู อน่ื ๆ

ขอ้ มลู ตัวอกั ษร ข้อมลู ตวั อกั ษร หมายถงึ ขอ้ มลู ที่ ประกอบด้วยตัวอกั ษรท้ังภาษาไทยหรือ ภาษาต่างประเทศ เช่น ช่ือ-นามสกลุ ประวตั โิ รงเรียน เปน็ ต้น และข้อความท่ี เปน็ ตัวเลขซ่ึงไมน่ ําไปใชใ้ นการคาํ นวณ เชน่ ปา้ ยทะเบยี นรถ บ้านเลขท่ี เลขท่ีบัตร ประชาชน เปน็ ตน้

ขอ้ มูลภาพ ขอ้ มลู ภาพ หมายถงึ ขอ้ มลู ที่เปน็ ภาพใน ลกั ษณะตา่ ง ๆ ทีเ่ รามองเหน็ ซ่ึงอาจเปน็ ภาพน่ิง เชน่ ภาพวาด ภาพถา่ ย เปน็ ตน้ หรือภาพ เคลื่อนไหว เชน่ ภาพจากโทรทศั น์ ภาพจาก คอมพวิ เตอร์ เปน็ ตน้

ขอ้ มลู ตัวเลข ข้อมลู ตัวเลข หมายถงึ ข้อมลู ที่ ประกอบดว้ ยตัวเลข 0-9 ที่เราสามารถ นํามาใชค้ าํ นวณได้ หรือนํามาประมวล ผลได้ เชน่ ราคาสนิ ค้า คะแนนสอบวิชา ตา่ ง ๆ จํานวนเงิน เปน็ ต้น

ข้อมลู ตัวเลข ข้อมูลเสยี ง หมายถึง ขอ้ มลู ที่เกดิ จาก การได้ยิน เชน่ เสยี งคนพูด เสยี งสตั วร์ ้อง เสยี งจากปรากฏการณ์ธรรมชาติ หรือ เสยี งจากอปุ กรณ์ตา่ ง ๆ ท่สี ามารถแสดง ผลข้อมูลในรูปแบบเสยี งได้ เช่น แผ่นซีดี โทรทศั น์ วิทยุ เปน็ ต้น

5 ขอ้ มลู อ่ืนๆ ข้อมูลอื่น ๆ หมายถงึ ข้อมูลท่ี นอกเหนือจากข้อมลู ท้ัง 4 ประเภท ที่ กลา่ วมาแล้ว เชน่ ข้อมลู กล่นิ ข้อมูล รสชาติ ขอ้ มลู เกย่ี วกับอุณหภมู ิ เปน็ ตน้

ประชากร (Population) ในการทําวจิ ยั แต่ละเรือ่ งผู้วจิ ยั จะต้องรวู้ า่ จะทําวจิ ยั กับใคร สิ่งใด เปน็ คน สัตว์ หรอื ส่ิงของซ่งึ ส่ิงเหล่าน้ีทางการวจิ ยั เราเรยี กวา่ ประชากร (Population) ดังน้ัน ประชากร หมายถึง ส่ิงหรือหน่วยท้ังหลายที่เรา สนใจซ่งึ สอดคล้องกับปัญหาที่เรากําลังทําวจิ ยั ซ่งึ อาจเป็นคน สัตว์ หรอื ส่ิงของก็ได้ ไม่จาํ เปน็ ต้องเป็นคนเสมอไปแต่การเก็บขอ้ มูลกับ ประชากรทกุ หน่วยอาจทําให้เสียเวลาและค่าใชจ้ า่ ยท่ีสงู มากและบาง คร้ังเป็นเร่อื งที่ต้องตัดสินใจภายในเวลาจาํ กัด การเลือกศึกษาเฉพาะ บางส่วนของประชากรจงึ เปน็ เร่อื งท่ีมคี วามจาํ เป็น

กลุมตัวอยา ง (Sample) หมายถึง สมาชิกบางสว นของสง่ิ ท่ีผวู จิ ยั ตอ งการจะศึกษา โดยทบ่ี างสวนของสมาชิกทงั้ หมดน้ีเปนตัวแทน ของประชากรทง้ั หมดการเลือกตวั อยางเพอื่ ใชใ น การวิจัยมคี วามสําคญั อยางยิง่ ในการเลอื ก ตวั อยางจะตอ งกระทาํ ดวยความรอบคอบโดย คํานงึ ถึงหลกั 2 ประการ

1. ความเปนตวั แทน (Representative 2. ขนาดของกลุม ตวั อยา ง (Sample ) size) หมายถงึ ผทู ่จี ะถูกเลอื กมาเปน จะตองมจี ํานวนมากพอทีจ่ ะ ตัวอยาง จะตองมีคณุ ลักษณะและ ทดสอบความเชอ่ื มน่ั ทางสถติ ิได และ คุณสมบตั ิเหมือนหรอื ใกลเ คียงกับ มากพอท่ีจะอางสรปุ ไปสูประชากรที่ ประชากรทตี่ อ งการศึกษา โดย ตองการศกึ ษาโดย ถากลมุ ตวั อยา งที่ คุณลักษณะและคณุ สมบตั ิตางๆ ไดเปน ตวั แทนของประชากรท่ี ของสมาชิกในตัวอยา งจะแทน ตองการศกึ ษาแลว คาสถิติ (Statistic) คณุ ลักษณะและคุณสมบตั ิตา งๆ จะใกลเคยี งกบั คาพารามเิ ตอร ของสมาชิกในประชากรท้ังหมด (Parameter) มากทสี่ ุด

ในการศึกษาหาความรู้ ความจรงิ ในการวจิ ัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสงั คมศาสตรส์ ว่ นใหญ่แลว้ ไม่ สามารถท่จี ะศึกษาพฤตกิ รรมหรอื เหตกุ ารณจ์ ากทกุ ๆ หน่วยของส่งิ ที่ตอ้ งการจะศกึ ษาได้ครบถว้ น แตม่ ักจะ ใช้วิธศี ึกษาจากกล่มุ ตวั อยา่ ง (Sample) ท่เี ลือกมาจํานวนหน่งึ ซ่งึ มคี ุณลกั ษณะเป็นตวั แทนของประชากรที่ ต้องการศกึ ษา และนําผลท่ไี ดจ้ ากกลมุ่ ตวั อย่างน้ไี ปอ้างองิ ถึงประชากร (Population) นั้นๆ ดังภาพท่ี 3 การเลือกตัวอย่างเพ่ือใชใ้ นการวจิ ัย จึงเป็นเร่ืองจาํ เป็นและสาํ คัญในการทําการวจิ ัย เพราะผลการวิจัยจะ สามารถนําไปสรุปขอ้ อ้างองิ ถงึ ประชากรไดด้ เี พยี งใด ขึ้นอยกู่ ับกลมุ่ ตวั อย่างท่ีนาํ มาศกึ ษา ว่าสามารถเป็น ตวั แทนของประชากรไดด้ เี พียงใด

การสุ่มตวั อยา่ ง

การสุ่มตวั อย่างโดยไม่ใช้ความน่าจะเป็น 1.1 การเลือกกล่มุ ตวั อยา่ งแบบบงั เอิญ ( Nonprobability sampling ) (Accidentalsampling) เป็นการเลือกตัวอย่างโดยไม่คํานงึ ว่า เป็นการเลือกกลุ่มตวั อย่าง ตัวอย่างแต่ละหน่วยมโี อกาสถูกเลือกมาก เพ่ือให้ไดจ้ ํานวนตามตอ้ งการโดยไม่มี น้อยเท่าไร หลกั เกณฑ์ กลุ่มตัวอยา่ งจะเป็นใครก็ได้ท่ี ทําให้ไม่ทราบความนา่ จะเป็นท่ีแตล่ ะหนว่ ย สามารถให้ข้อมูลได้ ในประชากรจะถูกเลอื ก การเลือกกลมุ่ ตวั อยา่ งแบบน้ีไมส่ ามารถนาํ ผลท่ไี ด้อา้ งอิง ไปยงั ประชากรได้ แต่มคี วามสะดวกและ ประหยัดเวลาและค่าใชจ้ ่ายมากกว่า ซ่ึง สามารถทําไดห้ ลายแบบ ดังน้ี

1.2 การเลือกกลมุ่ ตัวอยา่ ง แบบโควต้า ( Quota sampling ) เป็นการเลือกกล่มุ ตัวอยา่ งโดย คํานงึ ถงึ สัดส่วนองค์ประกอบของ ประชากร เชน่ เม่อื ตอ้ งการกลุม่ ตวั อย่าง 100 คน ก็แบ่งเป็นเพศชาย 50 คน หญงิ 1.3 การเลือกกลุ่มตวั อย่างแบบเจาะจง ( Purposive sampling ) เป็นการเลอื กกลุ่ม ตวั อยา่ งโดยพิจารณาจากการตัดสนิ ใจของผ้วู จิ ัย เอง ลกั ษณะของกลุ่มท่เี ลอื กเป็นไปตามวตั ถุ ประสงค์ของการวิจยั การเลือกกลมุ่ ตวั อย่างแบบ เจาะจงต้องอาศัยความรอบรู้ ความชาํ นาญและ ประสบการณ์ในเรื่องน้นั ๆของผทู้ าํ วิจัย การเลือก กลุ่มตวั อย่างแบบนม้ี ีชอ่ื เรยี กอกี อย่างว่า Judgement sampling

การเก็บรวบรวมขอ้ มลู การเกบ็ รวบรวมข้อมลู เป็นข้นั ตอนหนึ่งของกระบวนการ ทาง สถติ ิ ทม่ี คี วามสําคัญ เพือ่ ใหไ้ ดม้ าซึง่ ข้อมลู ทต่ี อบสนองวัตถุ ประสงค์ และสอดคล้องกบั กรอบแนวความคดิ สมมุติฐาน เทคนคิ การวัด และการวิเคราะห์ขอ้ มูล ซง่ึ หมายรวมท้งั การเกบ็ ข้อมูล ( Data Collection) คอื การเกบ็ ข้อมูลข้นึ มาใหม่ และ การรวบรวมขอ้ มูล ( Data Compilation) ซึ่งหมายถึง การนาํ เอาขอ้ มูลตา่ งๆทผ่ี ูอ้ ่นื ไดเ้ ก็บไวแ้ ลว้ หรือรายงานไว้ในเอกสาร ต่างๆ มาทําการศกึ ษาวิเคราะห์ตอ่

บรรณานุกรม 1. Chaiyawat Kho-puttanu. การเก็บรวบรวมขอ มลู . [ออ นไลน] สืบคน จาก https://bit.ly/2BnKFCR (วนั ทสี่ บื คน 13 มิ.ย. 2562) 2. ขอมูล/ประเภทของขอ มูล [ออนไลน] สบื คนจาก https://bit.ly/2MTY6CD (วันท่ีสบื คน 15 มิ.ย 2562) 3. piyatan benjateprassamee.2554-2555. ประชากร และ กลมุ ตวั อยา ง [ออนไลน] สืบคนจาก https://bit.ly/2XYQ2BK (วันทสี่ บื คน 15 มิ.ย 2562)

79 ม.5 ต.บา้ นกลาง อ.เมอื งปทุมธานี จ.ปทุมธานี 12000 วทิ ยาลยั เทคนคิ ปทมุ ธนี แผนก คอมพวิ เตอรธ์ ุรกิจ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook