Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ลีลาศ จังหวะบีกิน

ลีลาศ จังหวะบีกิน

Published by kratinjl, 2019-10-25 03:18:29

Description: สื่อการสอน...วิชาพลศึกษาเรื่อง....กีฬาลีลาศ (จังหวะบีกิน)

Search

Read the Text Version

สื่อการเรียนการสอน...วชิ าพลศกึ ษา เรื่อง....กฬี าลีลาศ (จังหวะบกี นิ ) นายศักดา สมัครสมาน กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา

การฝึ กเดนิ ลีลาศ การจับค่ลู ีลาศ ทศิ ทางในการลีลาศ การฝึ กเดนิ ลีลาศ 1. การฝึ กเดนิ ในการลีลาศแตกต่างจากการเดนิ ธรรมดากลา่ วคือขณะเดนิ ไม่วา่ จะไปหน้าหรือถอยหลงั ปลายเท้าต้องชีต้ รงไปข้างหน้าเท้าทงั้ สองลากผ่านกนั จนเกือบแตะกนั นํา้ หนกั ตวั ต้องทิง้ ไปท่เี ท้าท่ีก้าวไป ใหมเ่ สมอผ้ทู ่ีจะฝึกลลี าศจําเป็นต้องฝึกเดินเสยี ก่อนทงั้ นีเ้พราะทา่ การเดินเป็นท่าพืน้ ฐานของการลีลาศท่ี นบั วา่ สําคญั ยิ่ง กอปรทงั้ ทําให้เกิดความสวยงามของทา่ การเดินการเดินในการลลี าศจะอาศยั หลกั ธรรมชาติ กลา่ วคอื ถ้าเราก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้า มือขวาจะแกวง่ ไปข้างหน้าสว่ นมือซ้ายจะแกวง่ ไปข้างหลงั หรือถ้าเรา ก้าวเท้าขวาไปหน้ามือซ้ายจะแกวง่ ไปข้างหน้ามือขวาจะแกวง่ ไปข้างหลงั ซงึ่ ทกุ ยา่ งก้าวจะต้องถ่ายนํา้ หนกั ตวั ไปยงั เท้าที่ก้าวใหม่เสมอ 2. ในการฝึ กเดนิ ลีลาศนัน้ การก้าวเท้าจะมี 2 แบบคอื 2.1. แบบบอลรูม จะก้าวเท้าโดยการลากปลายเท้าไปกบั พืน้ ไม่ยกเท้าพ้นพืน้ ดงั นนั้ ถ้าเราก้าวเท้าแบบบอล รูมได้ถกู ต้องจะทําให้เกิดความสวยงามถกู ต้องตามแบบแผนและจะไม่มโี อกาสเหยียบเท้าซง่ึ กนั และกนั เลย (ยกเว้นจงั หวะแทงโก้) 2.2. แบบลาตนิ อเมริกันจะก้าวโดยการยกเท้าพ้นพืน้ ได้ ถ้าเป็นทิศทางตรงๆเท้าทงั้ สองต้องขนานกนั เปิด ส้นเท้าหลงั เลก็ น้อย

3. การเดนิ จะต้องมี C.B.M. ( Contrary Body Movement ) หมายถึงการใช้ ไหล่ เทา้ และสะโพกใหส้ มั พนั ธ์กนั ในการกา้ วเดิน กล่าวคือ 3.1. กา้ วเทา้ ซา้ ยไปขา้ งหนา้ พร้อมกบั บิดไหลข่ วาไปขา้ งหนา้ 3.2. กา้ วเทา้ ขวาไปขา้ งหนา้ พร้อมกบั บิดไหล่ซา้ ยไปขา้ งหนา้ 3.3. ถอยเทา้ ซา้ ยไปขา้ งหลงั พร้อมกบั บิดไหล่ขวาไปขา้ งหลงั 3.4. ถอยเทา้ ขวาไปขา้ งหลงั พร้อมกบั บิดไหลซ่ า้ ยไปขา้ งหลงั 4คสก.านอใรงเนลดขีีลกย้ึนวาารศรจะฝจะดึกงั เบัหกลอบ็ีวลกะมาศือคหโวรดา่ํ ือมยกกือาาทรรบัลเทกีลา้นัาสศะยใกเนอศจวองั หกหรกวือาะงใเอกดอบ็ๆกแกขบต็ นาบมานCหพ.Bา้ืนก.Mเซป.่็ึกงนนลกิย่าาวมรคฝนือึ กาํ ไเยตปกน้ ใมเหพือก้ทียบัง้งั ประเภทบอลรูม

การจบั คู่ลลี าศ ( Position of Dances ) การจบั คู่ลีลาศน้นั เป็นส่ิงสาํ คญั ที่ผเู้ รียนลีลาศจะตอ้ งทราบและคาํ นึงถึงใหม้ ากเป็นพิเศษ เพราะถา้ จบั คู่ลีลาศไม่ถูกตอ้ งตามแบบ นอกจากจะทาํ ใหเ้ กิดความไม่สง่างามแลว้ ยงั ทาํ ใหก้ ารกา้ วเทา้ ของคู่ลีลาศไม่สอดคลอ้ งกนั ดว้ ย โดยปกติแลว้ การจบั คู่ลีลาศแทบทุกจงั หวะจะจบั แบบบอลรูมปิ ด (Closed Ballroom) ก่อน ซ่ึงถือเป็นท่าเร่ิมตน้ เช่น จวั หวะวอลซ์ บีกิน ช่า ช่า ช่า ควก๊ิ สเตป รุมบา้ กวั ราช่า เป็นตน้ มีเพียงบาง จงั หวะเท่าน้นั ท่ีอาจจะจบั คู่แตกต่างออกไปบา้ งในท่าเริ่มตน้ เช่น ร๊อคแอนโรล แซมบา้ ทวสิ ต์ เป็นตน้ แต่เมื่อคู่ลีลาศออกลวดลาย ( Figure ) ต่างๆ แลว้ สามารถท่ีจะจบั คู่ลีลาศแบบอื่นๆได้ การจับคู่ลลี าศมวี ธิ ีการจับแบบต่างๆได้ดงั นี้ 1. จับแบบบอลรูมปิ ด ( Closed Ballroom ) 1.1. คู่ยนื หนั หนา้ เขา้ หากนั ตวั และเทา้ ตรงกนั 1.2. ชายเอามือขวาโอบหลงั หญิง ระดบั เอว 1.3. มือซา้ ยชายจบั กบั มือขวาหญิง ยกข้ึนระดบั ไหล่ 1.4. มือซา้ ยหญิงเกาะที่ไหล่ขวาชาย 1.5. มือขาวของชายเป็นมือท่ีใชล้ ีด (Lead)

2. จบั แบบบอลรูมเปด ( Open Ballroom ) 2.1. คูยนื หันหนาไปทางเดยี วกนั หญงิ อยูทางขวาของชาย 2.2. มอื ขวาของชายโอบเอวดา นหลังของหญิง 2.3. มือดานนอกของคจู บั กันดานหนา โดยชายจบั มอื หญิง 2.4. มือซายหญงิ เกาะพกั บรเิ วณไหลข วาชาย จากทาบอลรูมปด ชายสามารถดงึ คู ใหม าอยทู างขวาของชายสทู า บอลรูมเปด

3. จบั แบบสะพานโคงหรือประจันหนา ( Facing Position ) 3.1. คหู ันหนา เขา หากนั หา งกันประมาณ 1 ชวงลาํ ตัว 3.2. ชายหงายมือท้ังสองดานหนา หญิงควาํ่ มอื วางขา งบน 3.3. ชายจบั มอื หญงิ ยกขึ้นเหมอื เอวเล็กนอย นยิ มใชก บั จวั หวะบีกิน ตะลุงเทมโป รอคแอนโรล เปนตน

4. จบั แบบจบั มอื ดานใน (Couple Position) 4.1. ชายและหญงิ หนั หนาไปทาง เดยี วกนั หญงิ อยทู างขวาของชาย 4.2. มอื ดา นในของคจู ับกัน ยกข้ึนสูง ระดับไหล 4.3. มือดา นนอกปลอยหอยลงปกติ 4.4. อาจเรียกทา นี้วา “ทาสเกต” นิยมใชกบั ลีลาศจงั หวะแซมบา ลวดลาย ของบีกนิ ชา ชา ชา วอลซ รมุ บา เปน ตน

ทศิ ทางในการลลี าศ (Direction of Social Dances) เป็นท่ียอมรับกนั ทวั่ ไปแลว้ วา่ ทิศทางทวนเขม็ นาฬิกา ( Counter Clockwise) เป็นทิศทางของ การลีลาศ ดงั น้นั ผเู้ ตน้ ราํ จะตอ้ งเตน้ ไปตามทิศทางทวนเขม็ นาฬิกาซ่ึงถือเป็นสากล ท้งั น้ีเพือ่ ความปลอดภยั ความสวยงาม ป้องกนั มิใหเ้ ตน้ ไปชนกบั คู่เตน้ ราํ อื่น ทิศทางของการเตน้ ราํ โดยการเตน้ ทวนเขม็ นาฬิกาน้ี เรียกวา่ “แนวเตน้ ราํ ” ( Line of Dance = L.O.D. )ถา้ เรายนื อยทู่ ี่จุด A แลว้ หนั หนา้ ไปตามหมายเลขต่างๆ ซ่ึงเป็นการหนั หนา้ ไปสู่ทิศทางต่างๆนน่ั เอง ทิศทางต่างๆมี 8 ทิศ ดงั น้ี 1. หนั หนา้ ตามแนวเตน้ ราํ 2. หนั หนา้ ยอ้ นแนวเตน้ ราํ 3. หนั หนา้ สูก้ ลางฟลอร์ 4. หนั หนา้ สูฝาผนงั หอ้ ง 5. หนั หนา้ เฉียงกลางฟลอร์ตามแนวเตน้ ราํ 6. หนั หนา้ เฉียงฝาตามแนวเตน้ ราํ 7. หนั หนา้ เฉียงกลางฟลอร์ยอ้ นแนวเตน้ ราํ 8. หนั หนา้ เฉียงฝายอ้ นแนวเตน้ ราํ

ผทู ่จี ะฝกการเตนราํ หรือฝก การลลี าศ จะตอ งจดจําทิศทางของการลีลาศนใี้ หไ ด เพราะจะเปนจดุ ทีก่ ําหนดในการเรม่ิ ตน หรอื ไปในทิศทางใด หรอื จบทาในทศิ ทางใด จะไดเตนไปในทิศทางที่ถูกตอ ง








Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook