Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การประเมินการจัดการศึกษา (รศ.ดร.ประวิต เอราวรรณ์)

การประเมินการจัดการศึกษา (รศ.ดร.ประวิต เอราวรรณ์)

Published by dongthong.da, 2020-09-15 23:23:10

Description: การประเมินการจัดการศึกษา (รศ.ดร.ประวิต เอราวรรณ์)

Search

Read the Text Version

การติดตามและประเมินผล การศึกษา รองศาสตราจารย์ ดร.ประวิต เอราวรรณ์

การจัดการศกึ ษา Objectives Learning Assessment

บทบาทการประเมนิ กับการจดั การศึกษา Evaluation Objectives Learner Learner experience appraisal

บทบาทการประเมนิ กับการบรหิ ารจดั การ



การออกแบบโปรแกรมทางการศึกษา (Designing Education Program)

ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งองคก์ ร พนั ธกจิ เปา้ หมาย และโครงการ

มมุ มองเชงิ ระบบของโครงการ ท่มี า : Chen (2005). p.4

การพัฒนาโครงการ โดยใช้ Targeting Outcomes of Programs หรอื TOP Model Bennett, C. & Rockwell, K. (2004)

TOP Model ขัน้ การวิเคราะห์ ขอ้ มลู ทต่ี อ้ งการ สภาพการณ์ทางสังคม เศรษฐกจิ และสิ่งแวดล้อมท่เี ป็นอยูใ่ นปจั จุบนั • เงอ่ื นไขทางสังคม เศรษฐกจิ และสิ่ง การปฏบิ ตั ิหรอื พฤตกิ รรมที่แสดงออกของกลุม่ เปา้ หมาย ภายใต้ แวดลอ้ ม เงื่อนไขของสงั คม เศรษฐกิจ และส่ิงแวดล้อม • การปฏบิ ตั ิ • ความรู้ เจตคติ ทักษะ และความมุ่งม่ัน ระดับความรู้ เจตคติ ทกั ษะ และความมุ่งมั่นของกล่มุ เปา้ หมายที่ • ปฏกิ ริ ยิ าตอบสนอง ตอ้ งการใหเ้ กิดขึน้ ลกั ษณะการตอบสนองตอ่ กจิ กรรมของโครงการ เชน่ การใหค้ วาม ร่วมมือ การมสี ว่ นรว่ ม การรบั บริการ เป็นตน้ • การมีส่วนร่วม ลกั ษณะการมีสว่ นรว่ มในกจิ กรรมโครงการของกลุ่มเป้าหมายท่ี • กิจกรรมต่างๆ ต้องการ วิธีการหรอื กิจกรรมทีจ่ ะพฒั นาหรอื ใหบ้ รกิ ารแก่กลุม่ เปา้ หมาย • ทรพั ยากร ทรัพยากร เช่น เวลา บคุ ลากร ความเช่ยี วชาญ งบประมาณ เคร่ือง มอื อปุ กรณ์ ที่ต้องการ การสนบั สนนุ

แบบจาํ ลองตรรกะ หรอื Logic Model

การประเมินความตอ้ งการจาํ เป็น (Needs Assessment) Needs Assessment = ความแตกตา่ งระหวา่ งสภาพที่เปน็ อยู่ (what is) กบั สภาพทีค่ าดหวังจะให้เกิดขึ้น (what should be)

ขัน้ ตอนการประเมินความตอ้ งการจาํ เป็น ระยะการวางแผน ขั้นที่ 1 กาํ หนดเป้าหมาย ประเดน็ ปญั หา และระบผุ มู้ สี ว่ นไดส้ ่วนเสยี ขัน้ ที่ 2 กําหนดแผนการประเมนิ ความตอ้ งการจาํ เป็น ขน้ั ท่ี 3 กาํ หนดกรอบการประเมนิ ความต้องการจําเป็น ขนั้ ท่ี 4 กําหนดกลมุ่ เป้าหมายและออกแบบวธิ กี ารรวบรวมข้อมลู ระยะการรวบรวมขอ้ มูล ขน้ั ที่ 5 คัดเลอื กกลุ่มผ้ใู หข้ อ้ มลู ข้ันท่ี 6 รวบรวมและบนั ทึกข้อมลู ระยะการวเิ คราะหข์ อ้ มูล การจดั ลําดบั ความสาํ คัญ และการรายงาน ขั้นท่ี 7 วิเคราะห์ขอ้ มลู ขน้ั ท่ี 8 จดั ลาํ ดบั ความสาํ คญั ของความตอ้ งการจาํ เปน็ และกาํ หนด วิธีการแก้ปัญหาท่ี มีศกั ยภาพ ขั้นที่ 9 สังเคราะห์สารสนเทศ และจดั ทาํ รายงาน

กรอบการประเมินความตอ้ งการจาํ เปน็ โดยใช้ TOP Model องคป์ ระกอบ ข้อมูลท่ตี อ้ งการ เงอ่ื นไขทางสงั คม เศรษฐกจิ สิ่ง สังคม เศรษฐกจิ และสง่ิ แวดลอ้ มท่ีเปน็ อย่ใู นปจั จบุ ันมสี ภาพอย่างไรเมอ่ื เปรยี บเทยี บกบั ความ แวดลอ้ ม คาดหวัง การปฏบิ ัติ -อะไรคือการปฏิบัตหิ รอื พฤติกรรมทีป่ รบั เปล่ยี นไปเน่ืองจากเงือ่ นไขของสังคม เศรษฐกิจ และ ส่ิงแวดล้อม? -การปฏบิ ัติทีเ่ ปน็ อยใู่ นปัจจุบันมีสภาพอย่างไรเม่อื เปรียบเทียบกับการปฏิบตั ิท่คี าดหวัง? ความรู้ เจตคติ ทักษะ และความมุ่งมัน่ -ระดบั ความรู้ เจตคติ ทกั ษะ และความมุ่งมั่นท่ีเปน็ อย่ใู นปัจจุบันมสี ภาพเป็นอย่างไรเมอื่ เปรียบ เทียบกบั ความคาดหวงั ? ปฏิกิรยิ าตอบสนอง -การตอบสนองต่อกจิ กรรมโครงการของผูร้ ับผลเป็นอย่างไร? -อะไรคอื กลยทุ ธท์ ี่ตรงกับความต้องการจาํ เป็นของผรู้ บั ผล? การมีส่วนรว่ ม -ใครคือผ้มู ีส่วนรว่ มในโครงการ? -สภาพการมีส่วนรว่ มทีเ่ ปน็ อยู่ในปจั จุบนั เป็นอยา่ งไรเมอ่ื เปรียบเทยี บกบั ความคาดหวัง? กจิ กรรมต่างๆ -วิธกี าร/กิจกรรมอะไรบา้ งท่ีกาํ ลงั ใหบ้ รกิ ารแก่ผ้รู บั ผล? -วธิ กี าร/กจิ กรรมเปน็ อย่างไรเมือ่ เปรียบเทยี บกบั ความต้องการจาํ เปน็ ของผูร้ บั ผล? และเป็น อยา่ งไรเมื่อเปรียบเทียบกบั วิธกี าร/กจิ กรรมทผี่ ้รู บั ผลตอ้ งการ? ทรพั ยากร -อะไรคอื ทรัพยากร (เวลา บุคลากร ความเชยี่ วชาญ เครอื่ งมือ งบประมาณ) ทตี่ ้องการการ สนับสนนุ ? -อะไรคอื ทรัพยากรทไี่ ดร้ ับในสภาพทเี่ ป็นอย?ู่

การวางแผนโครงการ 1. แผนจะเป็นเครอ่ื งชที้ ศิ ทางโครงการ กาํ หนดกลยุทธแ์ ละการผลักดันการดาํ เนนิ การตา่ งๆ 2. แผนทด่ี จี ะช่วยใหก้ ารบรหิ ารโครงการมปี ระสทิ ธิภาพ ทงั้ ในการจดั โครงสรา้ ง การบริหาร การคดั เลือกบคุ ลากรของโครงการ การมอบหมายหนา้ ที่รับผดิ ชอบ การ วางระบบการทํางาน การกาํ หนดขน้ั ตอนการตัดสินใจ การจดั การ และการจัดสรร ทรพั ยากรตามระยะการพัฒนาทเี่ หมาะสม (การแบง่ งวดงานกับงวดเงิน) การจดั การ ต่างๆ 3. แผนท่ีดจี ะนาํ ไปสูก่ ารออกแบบการกาํ กับตดิ ตามและประเมนิ โครงการ (monitoring and evaluation) ทมี่ ีประสทิ ธิภาพควบค่กู ันไปกับการดาํ เนนิ โครงการ ทั้งระหว่างดําเนนิ การและเม่อื ส้ินสุดโครงการ 4. แผนทดี่ จี ะเป็นเครอ่ื งมือสาํ หรับการพจิ ารณาความเปน็ ไปได้ของการจัดกิจกรรม ต่างๆ รวมถึงการกํากบั การดําเนนิ การได้เสร็จสน้ิ ทนั ตามกาํ หนดเวลาของโครงการ 5. ใช้ในการวางระบบการจดั การความเสยี่ ง (risk management)

ขน้ั ตอนการวางแผนและการดาํ เนนิ โครงการ ขัน้ ที่ 1 กาํ หนดความต้องการจําเป็น วางเป้าหมาย และ วัตถปุ ระสงค์ ขน้ั ท่ี 2 พฒั นา Logic Model ของโครงการ ข้นั ที่ 3 จัดรปู แบบ (format) ของกจิ กรรมและระบบดาํ เนินการ ขน้ั ท่ี 4 สรรหาและรวบรวมทรัพยากรที่จะใชใ้ นโครงการ ขน้ั ที่ 5 เตรยี มความพรอ้ มบุคลากรและจัดทาํ คมู่ ือดาํ เนินการ ขน้ั ที่ 6 เผยแพรโ่ ครงการและส่งเสริมการมีสว่ นร่วม ขั้นที่ 7 เรมิ่ ดาํ เนนิ โครงการ และกํากบั ตดิ ตาม

ตวั อย่างการจดั รูปแบบของกจิ กรรมในโครงการ กิจกรรม รูปแบบ การดาํ เนนิ การ 1. การจัดทําแผนพฒั นา -ประชมุ ระดมสมอง -แต่ละโรงเรยี นจัดประชมุ ระดมสมอง กก.สถานศึกษา และประชมุ โรงเรียน -ประชุมปฏบิ ัติการ ปฏิบตั ิการ รว่ มกนั จดั ทาํ แผนพฒั นา 2. ปรบั หลกั สูตรสถานศกึ ษา -ประชุมปฏบิ ัตกิ าร -แตล่ ะโรงเรียนประชุมปฏิบัตกิ ารครูเพือ่ ปรับหลกั สตู รและตาราง ใหม่ -PLC สอนเป็นแบบบูรณาการ -จดั วง PLC ครูทกุ สัปดาห์ 3. พัฒนาการสอนของครู -ฝกึ อบรม -เครอื ข่ายโรงเรียนจดั อบรมครเู ร่อื งการสอนเชงิ รุกและใช้ปัญหา -ศึกษาภาคสนามในโรงเรยี น เป็นฐานรว่ มกนั ตน้ แบบ -นาํ ประเดน็ ทีอ่ บรมเข้าแลกเปลีย่ นในวง PLC 4. พัฒนาระบบประกนั -ประชุมปฏบิ ตั กิ าร -หลงั จากระบบการจัดกิจกรรมเรียนรู้ลงตวั แลว้ แตล่ ะโรงเรยี นจัด คณุ ภาพภายในโรงเรียน -PLC ประชุมปฏบิ ัติการเพือ่ ปรบั ระบบ QA รองรบั -นําประเดน็ QA เข้าแลกเปลยี่ นในวง PLC 5. ถอดบทเรียนและสร้าง -เวทเี ครือขา่ ย -แตล่ ะเครอื ข่ายจัดเวทใี หแ้ ตล่ ะโรงเรยี นนําเสนอบทเรยี นการพัฒนา เครอื ข่าย แลกเปลย่ี นกนั ระหวา่ งกนั ทุกภาคเรยี น 6. แลกเปล่ียนผลการพัฒนา -ประชมุ วชิ าการประจําปี -ทุกเครอื ขา่ ยเข้ารว่ มประชุมวชิ าการประจําปเี พอ่ื นาํ เสนอบทเรยี น การพัฒนาและร่วม แลกเปลย่ี นระหว่างเครือขา่ ย

การประเมนิ โครงการ (program evaluation) การตดั สนิ หรือการวินิจฉัยทบ่ี ง่ ช้ีถึงคุณค่า (worth) ของส่ิงที่ มุ่งประเมินบนข้อมูลหรือข้อเท็จจริงที่รวบรวมมาอย่างเที่ยงตรง (valid) และมคี วามนา่ เชอื่ ถือ (reliable) มกี ารดาํ เนนิ การโดยใช้ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์อยา่ งเปน็ ระบบ การประเมนิ จึงถอื เปน็ เครอื่ งมอื อย่างหนง่ึ ที่ชว่ ยในการตัดสนิ ใจ หรอื การวางแผน หรือการดาํ เนินการใดๆ ภายใต้บริบทของสังคม เศรษฐกิจ การเมอื ง และเทคโนโลยี

พฒั นาการของศาสตร์การประเมิน ยคุ ของการประเมิน แนวคดิ สําคัญ ยุคท่ี 1 ยคุ ปฏิรูป (the age of reform) เปน็ ยุคปฏิรูปการศกึ ษาทัว่ โลก เรม่ิ มีการนาํ เอาแนวคดิ การประเมินเขา้ มาใช้ในการประเมิน (กอ่ น ค.ศ. 1900) โรงเรยี น การประเมินหลกั สตู ร และทดสอบทางสมองของนกั เรียน ยุคท่ี 2 ยคุ ประสทิ ธภิ าพและการทดสอบ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์เข้ามามอี ิทธพิ ลตอ่ ระบบการศกึ ษาอย่างมาก จงึ ถอื เป็นยคุ ทอง (the age of efficiency and testing) ของการวดั ผล และมกี ารสรา้ งแบบทดสอบมาตรฐานสําหรบั การวัดทเี่ ป็นวิทยาศาสตร์ขนึ้ มาใช้ (ค.ศ. 1900 - 1930) สาํ หรบั วดั ผลทางการศึกษาเป็นจํานวนมาก ยคุ ที่ 3 ยคุ ไทเลอร์ (the Tylerian age) ไทเลอร์ ไดท้ ําการศึกษาการเรยี นการสอนในโรงเรยี นซ่งึ พบวา่ การกาํ หนดวตั ถุประสงค์ การ (ค.ศ. 1931 - 1945) เรียนส่งผลต่อพัฒนาการด้านพฤติกรรมของผ้เู รยี น และการกําหนดวัตถปุ ระสงค์การสอน สามารถชว่ ยในการประเมนิ ประสทิ ธิภาพการสอนของครูได้ งานวจิ ยั น้ีที่ได้รบั การยอมรบั และมี อทิ ธิพลอย่างกว้างขวาง ยคุ ที่ 4 ยุคไรเ้ ดียงสา (the age of innocence) แนวคดิ การประเมินของไทเลอรไ์ ดร้ บั การยอมรับและเผยแพรท่ ว่ั ไป จนมีการจดั สารบบของ (ค.ศ. 1946 - 1957) วัตถปุ ระสงคก์ ารศกึ ษาตามแนวคิดของไทเลอรข์ ้นึ ทําใหก้ ารประเมนิ ผลทางการศกึ ษามคี วาม ชัดเจนมากข้นึ ยคุ ท่ี 5 ยคุ การพฒั นา (the age of development) มีการพฒั นาองค์ความร้แู ละโมเดลทางการประเมนิ ทม่ี ีช่อื เสียงเกดิ ขน้ึ มากมาย เชน่ โมเดลของ (ค.ศ. 1958 - 1972) Cronbach Scriven Stake Tyler Stufflebeam Provus Caro Weiss เปน็ ตน้ ยุคที่ 6 ยุคสกู่ ารเปน็ วชิ าชีพ นักประเมนิ ถอื เป็นวชิ าชีพอย่างหน่งึ มีวารสารเกีย่ วกับการประเมินผลเปดิ ตวั ขนึ้ มาจํานวนมาก (the age of professionalization) วงวชิ าการใหก้ ารยอมรบั และให้ความสาํ คัญกับศาสตร์การประเมิน จนมกี ารเปิดสอนรายวิชา (ค.ศ. 1973 - 1983) วธิ วี ทิ ยาการประเมนิ ในหลายมหาวทิ ยาลยั ยคุ ที่ 7 ยคุ ขยายตวั และบูรณาการ ขอบเขตการประเมินมีการขยายตัวและมลี ักษณะบรู ณาการมากขึน้ มีสมาคมทางวชิ าชพี (the age of expansion and integration) ทางการประเมินเกิดขึ้น และได้กําหนดมาตรฐานการประเมนิ ขนึ้ มาเปน็ แนวทางปฏิบตั สิ าํ หรับนกั (ค.ศ. 1984 - 2000) ประเมินไดป้ ฏบิ ตั ิ

รปู แบบการประเมิน กลุม่ ทฤษฎี ตวั อย่าง แนวคิด/รูปแบบท่ีเสนอ การประเมนิ นักวิชาการ -การประเมนิ สภาพการณ์ ปัจจัย กระบวนการ ผลลพั ธ์ หรอื CIPP Model มงุ่ การใชป้ ระโยชน์ Stufflebeam -CSE model (center for the study of evaluation approach) (use) Alkin -การประเมนิ แบบเสริมสร้างพลงั รว่ มของผู้มีสว่ นได้สว่ นเสยี (empowerment evaluation) Fetterman -การประเมนิ แบบมงุ่ ใชป้ ระโยชน์ (utilization-focused approach) Patton -การประเมินแบบพิจารณาคดี (judicial approach) Owen มงุ่ วธิ ีการ Tyler -การวัดคณุ คา่ ความสาํ เร็จโดยยึดตามวัตถปุ ระสงคท์ ี่กําหนดไว้ (methods) Cook -การวิเคราะหร์ ะบบและประสทิ ธภิ าพของโครงการ Rossi -การประเมนิ เชิงระบบ เพ่ือดูประสทิ ธผิ ลและประสทิ ธภิ าพของโครงการ Chen -การประเมนิ แบบองิ ทฤษฎี โดยใช้ทฤษฎโี ครงการเป็นแนวทาง Cronbach -แผนแบบการประเมินเชงิ ทดลอง (experimental approach) มุง่ การให้คุณค่า Scriven -การประเมินความก้าวหนา้ การประเมินผลสรุปรวม และการประเมินผลกระทบ (valuing) Stake -การให้คณุ ค่าของสงิ่ ท่ีประเมินตามการรับรขู้ องผเู้ กยี่ วข้อง (responsive model) Levin -การวิเคราะหค์ า่ ใชจ้ ่ายท่สี มั พนั ธ์กับประสิทธิผล ผลตอบแทน ประโยชน์ และความเป็นไปได้ (cost-related analysis) Lincoln & Guba -การประเมินแบบสรา้ งความรว่ มมอื (constructivist approach) McDonald -การประเมินแบบประชาธปิ ไตย ให้ทกุ ฝา่ ยมสี ่วนรว่ มกับการประเมิน Eisner -การประเมินเชิงวพิ ากษ์ โดยผ้เู ชย่ี วชาญ (criticism approach)

ลักษณะของชว่ งเวลาการประเมนิ 1) การประเมนิ ความเป็นไปได้ของโครงการ (feasibility study) เป็นการประเมินก่อนเริ่มโครงการเพื่อพิจารณาความพร้อมทางเทคนิค เครื่องมืออุปกรณ์ การวิเคราะห์ทางการเงิน ผลตอบแทนที่จะได้รับ และความพร้อมทางสังคมและสิ่งแวดล้อม ดําเนินการโดยหน่วยงานเจ้าของโครงการ 2) การประเมนิ ความกา้ วหนา้ ของโครงการ (formative evaluation) เปน็ การประเมินในช่วงระหวา่ งโครงการ เพื่อกาํ กบั ตดิ ตามงานว่าโครงการดาํ เนนิ การไปตาม แผนและทิศทางที่กาํ หนด รวมทั้งดูผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นระหว่างทางจากกิจกรรมที่ได้เริ่มลงมือ ปฏบิ ัตไิ ปแล้ววา่ มีปัญหาอะไรบ้าง เพ่ือใหแ้ ก้ไขได้ทันทว่ งที 3) การประเมินสรปุ รวมเม่อื สนิ้ สุดโครงการ (summative evaluation) เป็นการประเมนิ หลงั ดาํ เนนิ กิจกรรมต่างๆของโครงการจบสน้ิ ลงแล้ว เป็นการสะทอ้ นผลลพั ธ์ ของโครงการว่าเกิดอะไรขึ้นบ้างตามตัวชี้วัดที่กําหนดไว้ ประสบผลสาํ เร็จตามเป้าหมายหรือไม่ หากไม่เปน็ ไปตามเปา้ หมายเปน็ เพราะสาเหตใุ ด

ขน้ั ตอนการประเมินโครงการ ระยะการวางแผน ขั้นที่ 1 การศึกษารายละเอี ยดของโครงการ และตรวจสอบความ ตอ้ งการสารสนเทศจากการประเมิน ขนั้ ที่ 2 กาํ หนดขอบเขต วตั ถปุ ระสงค์ และคําถามการประเมิน ข้นั ที่ 3 ทบทวนแนวคิด ทฤษฎี และองคค์ วามรูท้ เ่ี ก่ยี วข้อง ขน้ั ท่ี 4 เลือกแผนแบบการประเมิน วิธกี ารและเครือ่ งมอื รวบรวมข้อมลู ขน้ั ท่ี 5 กําหนดแผนปฏบิ ัติการในการรวบรวมขอ้ มูล ระยะการรวบรวมข้อมลู ขั้นท่ี 6 คัดเลือกกลมุ่ ผ้ใู หข้ ้อมลู ขน้ั ท่ี 7 รวบรวมและบนั ทกึ ขอ้ มูล ระยะการวเิ คราะหข์ ้อมูล และการรายงาน ขั้นที่ 8 วิเคราะหข์ ้อมลู ขน้ั ท่ี 9 สงั เคราะหส์ ารสนเทศ และจดั ทาํ รายงาน

วิธกี ารและเคร่อื งมอื รวบรวมขอ้ มลู วิธีการ/เคร่ืองมอื ความรู้ ทกั ษะ เจตคติ พฤติกรรม X X (X) การสมั ภาษณ์ (X) X X (X) (interviews) X X X X X การสนทนากลุ่ม X (X) X (focus group) X X (X) X X X การสาํ รวจ/แบบสอบถาม (survey/ X questionnaire) การสงั เกต (observation) แบบทดสอบ (test) แผนผงั ความคิด (concept maps) การศกึ ษาเอกสาร (documentary) กรณศี ึกษา (case study)

การประเมนิ แบบเร่งด่วน (rapid appraisal) เป็นการประเมินที่ใช้เทคนิคและวิธีการอย่างหลากหลายในการ ประเมินสภาวะของโครงการ โดยดาํ เนินการอย่างเป็นระบบแบบ เร่งด่วนภายใต้ข้อจํากัดเร่ืองเวลาที่ใช้ในการประเมินและงบ ประมาณที่มีไม่มาก กล่าวคือเป็นการลดข้อจํากัดของการ ประเมินแบบทั่วไปที่ต้องรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างขนาด ใหญ่ด้วยเครื่องมือที่ต้องใช้เวลาในการสร้างและพัฒนา และใช้ เวลาในการรวบรวมขอ้ มลู ทีย่ าวนาน

มโนทัศนพ์ ้ืนฐานของการประเมินแบบเรง่ ดว่ น มโนทศั นพ์ ื้นฐาน ลกั ษณะของวธิ กี าร (การเลือกหรือประยกุ ต์ใช้ข้ึนกับสถานการณ)์ มมุ มองเชิงระบบ -ระบบต่างๆ ในบรบิ ทเฉพาะใดๆ ไมส่ ามารถจําแนกแยกแยะทุก -การสมั ภาษณก์ ึ่งโครงสร้าง ส่วนของระบบได้ด้วยวิธกี ารแบบทัว่ ไป -การกาํ หนดแนวทางเบอื้ งต้นแบบส้ันๆ -การใช้นยิ ามและมมุ มองของคนวงใน -การเลอื กผูใ้ ห้ข้อมูลแบบเจาะจง -การพิจารณาเกยี่ วกบั ความรู้ในพน้ื ถิน่ -การหลีกเลีย่ งการสาํ รวจโดยใช้แบบสอบถาม -การพิจารณาเกี่ยวกบั ความผันแปร การตรวจสอบแบบสามเส้า -ทมี นกั ประเมินทม่ี ีความเชย่ี วชาญหลากหลาย -การรบั รขู้ ้อมูลทห่ี ลากหลาย -การมสี ว่ นรว่ มกบั ชมุ ชน/ท้องถิ่น -แหล่งข้อมลู ทีห่ ลากหลาย -การผสานวธิ ีการรวบรวมข้อมูล -วธิ ีการทีห่ ลากหลาย กระบวนการแบบวนซา้ํ -การกาํ หนดโครงสรา้ งของเวลาท่อี ยู่ในสนามของ -การใช้สารสนเทศทไ่ี ดร้ ับไปปรบั เปลีย่ นกระบวนการประเมนิ ทีมนกั ประเมนิ ควรมีชว่ งเวลาทเ่ี พียงพอสําหรับ -การกําหนดสมมตุ ิฐานการประเมนิ แบบวนซํ้า และการใชข้ อ้ แลกเปลยี่ นและตรวจสอบข้อมูลระหว่างกนั คน้ พบไปปรับเปล่ยี นสมมุติฐาน

วิธกี ารรวบรวมขอ้ มลู สาํ หรับการประเมินแบบเร่งดว่ น วธิ กี ารรวบรวมข้อมูลแบบรายบุคคลกบั กล่มุ ผใู้ หข้ ้อมลู สาํ คัญ (key informants) • การสมั ภาษณ์ (interviews) • การสํารวจแบบไมเ่ ปน็ ทางการ (informal surveys or minisurveys) วิธกี ารรวบรวมขอ้ มูลแบบกระบวนการกลมุ่ (group process methods) • การสนทนากลุม่ แบบเจาะจง (focus group discussion) • การสนทนากลมุ่ (group discussion) • การสนทนากลุ่มชุมชน (community discussion) • เทคนิคการประชมุ กลุ่มระดมความคดิ (group brainstroming) วธิ ีการรวบรวมขอ้ มูลเพ่ิมเตมิ (additional commonly used methods) • การสังเกตโดยตรง (direct observation) • การรวบรวมข้อมลู ทตุ ิยภมู ิ (collecting secondary data) • การเดนิ สํารวจ (transect walk) • การจดั ทาํ แผนทช่ี มุ ชน (community mapping)

ตัวอย่าง บันทกึ การเดินสาํ รวจสภาพโรงเรยี น รายการท่ีองค์การ PLAN ช่วยเหลอื สภาพ ความปลอดภยั ความ เพียงพอ การใชป้ ระโยชน์ 1. อาคารเรยี น 2. ห้องเรียน 3. ส่อื การเรียน 4. หอ้ งสมุด 5. สนามเดก็ เลน่ 6. ถังเกบ็ นาํ้ ดืม่ 7. โรงอาหาร 8. เคร่อื งกรองน้ํา 9. ห้องน้าํ ห้องสว้ ม 10. รายการอนื่ ๆ (ระบ)ุ

สวสั ดี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook