ค�ำ ศพั ทท์ เ่ี กย่ี วเนอ่ื งกบั งานพระราชพธิ พี ระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช
ค�ำศัพท์ทีเ่ กีย่ วเนอ่ื งกับงานพระราชพธิ พี ระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช กระทรวงวัฒนธรรม โดยกรมศลิ ปากร
คำ� น�ำ เนื่องในงานพระราชพิธีพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช ปรากฏค�ำศัพท์ท่ีเกี่ยวเนื่องในการพระราชพิธีเป็นจ�ำนวนมากซึ่งสะท้อน มรดกภูมิปัญญาทางด้านภาษาและวัฒนธรรมทั้งท่ีเกี่ยวกับราชประเพณี เคร่ืองประกอบ พระราชพธิ ี ศลิ ปกรรม สถาปตั ยกรรม กระนนั้ อาจมปี ระชาชนทไ่ี มท่ ราบถงึ ความหมาย รวมถงึ รายละเอียดต่าง ๆ ของค�ำศัพท์ท่ีปรากฏตามสื่อต่าง ๆ ด้วยเหตุน้ี กระทรวงวัฒนธรรม จงึ มอบหมายใหก้ รมศลิ ปากร โดยสำ� นกั วรรณกรรมและประวตั ศิ าสตรค์ น้ ควา้ และเรยี บเรยี ง คำ� ศพั ทท์ เี่ กยี่ วเนอื่ งกบั งานพระราชพธิ พี ระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ล อดลุ ยเดชขนึ้ เพอื่ สรา้ งความรแู้ ละความเขา้ ใจเบอื้ งตน้ เกยี่ วกบั โบราณราชประเพณดี งั กลา่ ว และเพอื่ น�ำองคค์ วามร้ดู งั กล่าวไปใช้ได้อย่างถูกตอ้ งเหมาะสม ค�ำศัพท์ต่าง ๆ ท่ีรวบรวมในครั้งนี้ได้คัดเลือกเฉพาะค�ำศัพท์ที่แสดงให้เห็น ภาพรวมของงานพระราชพิธีพระบรมศพต้ังแต่การบ�ำเพ็ญพระราชกุศล ณ พระท่ีน่ังดุสิต มหาปราสาท กระทงั่ ถงึ การถวายพระเพลิงพระบรมศพ ณ พระเมรมุ าศ ทอ้ งสนามหลวง โดยเฉพาะค�ำศัพท์ในพระราชพิธีถวายพระเพลิงซึ่งมีรายละเอียดจ�ำนวนมาก ปรากฏเป็น เนื้อหาหลักในหนังสือเล่มนี้ รวมถึงค�ำศัพท์ที่ปรากฏในการพระราชพิธีตามส่ือต่าง ๆ อยู่ เสมอ เช่น การอ่านพระปรมาภิไธยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช การบ�ำเพ็ญพระราชกุศลแต่ละช่วงเวลา พระพิธีธรรม การประโคมย่�ำยาม นอกจากน้ี ยังได้คัดเลือกค�ำศัพท์ที่เห็นว่าเป็นประโยชน์ในการศึกษาโบราณราชประเพณี รวมถึงคติ ความเช่ือท่ีไม่ปรากฏแลว้ ในปัจจบุ นั อาทิ พระเมรทุ อง การท้งิ ทานตน้ กลั ปพฤกษ์ เป็นตน้ ในส่วนของการอธิบายศัพท์ได้ยึดการนิยามความหมายซ่ึงเป็นที่รับรู้ในปัจจุบัน เป็นสำ� คัญ โดยศกึ ษาเปรยี บเทียบท้ังจากเอกสารชั้นต้น และงานวิจัยอันเกย่ี วเน่ืองกับงาน พระบรมศพ โดยไดอ้ ธบิ ายประวัติ ภูมหิ ลังทางประวตั ิศาสตร์ ทีม่ าของรปู ค�ำศัพท์ ค�ำอ่าน และยกตวั อยา่ งประกอบเพอื่ ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจอยา่ งถกู ตอ้ ง อยา่ งไรกต็ าม คำ� ศพั ทบ์ างคำ� มีการใช้ในความหมายที่แตกต่างกันไปในแต่ละช่วงเวลา เช่น พระโกศ และพระลอง ซงึ่ ค�ำอธบิ ายที่ได้จัดท�ำน้จี ะเปน็ แนวทางในการศกึ ษาค้นคว้าทางดา้ นภาษา ประวัติศาสตร์ และจารตี ประเพณอี นั เปน็ มรดกทางวฒั นธรรมทีส่ ำ� คัญของชาติ กระทรวงวัฒนธรรม หวังว่าหนังสือค�ำศัพท์ท่ีเกี่ยวเน่ืองกับงานพระราชพิธี พระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช จะอ�ำนวยประโยชน์แก่ นกั เรยี น นสิ ติ นกั ศกึ ษา และประชาชนทส่ี นใจตามสมควร และยงั เปน็ การถวายพระเกยี รตยิ ศ แด่พระมหากษัตริย์ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐและสืบสานมรดกภูมิปัญญาทางด้านภาษา ตลอดจนธรรมเนยี มราชประเพณีสืบไป กระทรวงวัฒนธรรม โดยกรมศิลปากร
สารบญั การอา่ นพระปรมาภไิ ธย ๗ สวรรคต, เสดจ็ สวรรคต ๘ สวรรคาลัย ๘ สตั ตมวาร ๘ ปัณรสมวาร ๘ ปญั ญาสมวาร ๘ สตมวาร ๘ พระทน่ี ั่งดุสิตมหาปราสาท ๙ พระทีน่ ั่งพิมานรัตยา ๑๑ พระชฎาห้ายอด ๑๒ เครอ่ื งพระสกุ ำ� ๑๒ พระสุพรรณแผ่นจำ� หลกั ปรมิ ณฑลฉลองพระพักตร ์ ๑๒ โกศ และลอง ๑๒ พระโกศจันทน ์ ๑๕ ถวายเพลิงพระบพุ โพ ๑๕ พระเมรุมาศ ๑๖ พระเมรทุ อง ๑๘ พระเบญจา ๑๘ พระจิตกาธาน ๑๘ ซา่ ง/ส้าง/สรา้ ง หรอื สำ� ซา่ ง ๒๐ หอเปลอื้ ง ๒๑ พระทีน่ ่ังทรงธรรม ๒๒ ศาลาลูกขนุ ๒๓ คด ๒๓ กรินทรปกั ษา ไกรสรคาวี ดรุ งคไกรสร
ทับเกษตร ๒๔ ทมิ ๒๔ พลับพลายก ๒๕ ราชวัติ ๒๖ เกย หรอื เกยลา ๒๖ ฉากบงั เพลิง ๒๗ ชาลา ๒๘ สตั ว์หิมพานต์ ๒๘ พระมหาพิชยั ราชรถ ๓๐ เวชยนั ตราชรถ ๓๒ ราชรถน้อย ๓๓ เกรนิ บันไดนาค ๓๔ พระยานมาศสามลำ� คาน ๓๕ พระท่นี ัง่ ราเชนทรยาน ๓๖ ฉตั ร ๓๗ นพปฎลมหาเศวตฉตั ร ๓๘ เปิดเพลงิ ๔๐ ศลิ าหนา้ เพลงิ ๔๑ พระพิธีธรรม ๔๒ สดบั ปกรณ์ ๔๔ การประโคมยำ�่ ยาม ๔๕ วงปพ่ี าทย์นางหงส ์ ๔๖ เครื่องสงั เค็ด ๔๗ ต้นกลั ปพฤกษ ์ ๔๘ กหิ มี ไกรสรนาคา ไกรสรวาริน
ค�ำศพั ท์ท่ีเก่ียวเนอื่ งกับงานพระราชพิธพี ระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช การอ่านพระปรมาภไิ ธย พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช มหติ ลาธเิ บศรรามาธบิ ดี จกั รนี ฤบดนิ ทร สยามนิ ทราธริ าช บรมนาถบพติ ร ส�ำนักงานราชบัณฑิตยสภา อธิบายว่าสามารถอ่านได้ ๓ แบบ ได้แก่ อา่ นตามจงั หวะหนกั เบาในภาษาไทยซึ่งใชใ้ นราชส�ำนกั มาแตโ่ บราณ ๒ แบบ คือ ๑. พฺระ-บาด-สม-เด็ด-พฺระ-ปอ-ระ-มิน-มะ-หา-พู-มิ-พน-อะ-ดุน-ยะ- เดด มะ-หิด-ตะ-ลา-ท-ิ เบด-รา-มา-ทิ-บอ-ดี จัก-กฺรี-นะ-รึ-บอ-ดนิ สะ-หฺยา-มนิ - ทฺรา-ท-ิ ราด บอ-รม-มะ-นาด-บอ-พดิ ๒. พฺระ-บาด-สม-เด็ด-พฺระ-ปะ-ระ-มิน-มะ-หา-พู-มิ-พน-อะ-ดุน-ยะ- เดด มะ-หิด-ตะ-ลา-ทิ-เบด-รา-มา-ท-ิ บอ-ดี จัก-กฺรี-นะ-ร-ึ บอ-ดิน สะ-หฺยา-มนิ - ทรฺ า-ท-ิ ราด บอ-รม-มะ-นาด-บอ-พดิ หรือจะอ่านพระปรมาภิไธยตามหลักการอ่านค�ำสมาสในภาษาบาลี สนั สกฤต ๓. พฺระ-บาด-สม-เด็ด-พฺระ-ปะ-ระ-มิน-ทฺระ-มะ-หา-พู-มิ-พน-อะ- ดุน-ยะ-เดด มะ-หิด-ตะ-ลา-ทิ-เบด-รา-มา-ทิ-บอ-ดี จัก-กฺรี-นะ-รึ-บอ-ดิน สะ- หฺยา-มนิ -ทฺรา-ท-ิ ราด บอ-รม-มะ-นาด-บอ-พดิ 7
คำ� ศัพทท์ เี่ กยี่ วเนอ่ื งกบั งานพระราชพธิ พี ระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช สวรรคต, เสด็จสวรรคต (สะ-หวฺ ัน-คด, สะ-เด็ด-สะ-หฺวนั -คด) มาจากค�ำว่า สวรรค์ (โลกของเทวดา, เมืองฟ้า) และ คต (ถึงแล้ว ไปแล้ว) แปลว่า ไปสสู่ วรรค์แลว้ ส่วนคำ� ว่า เสดจ็ แปลว่า ไป เปน็ คำ� ราชาศพั ท์ ใช้ในความหมายว่า “ตาย” ใช้แก่พระมหากษัตริย์ สมเด็จพระบรมราชินีนาถ สมเดจ็ พระบรมราชนิ ี สมเดจ็ พระยุพราช สมเด็จพระบรมโอรสาธริ าช พระบรม วงศช์ ้ันสมเดจ็ เจ้าฟา้ ที่ทรงไดร้ ับพระราชทานเศวตฉตั ร ๗ ช้ัน หรือผทู้ ่ที รงพระ กรณุ าโปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ มเปน็ การเฉพาะ สวรรคาลัย (สะ-หฺวนั -คา-ไล) ตามรูปศพั ท์ แปลว่า ทอ่ี ย่ใู นแดนสวรรค์ มาจากค�ำวา่ สวรรค์ (โลกของ เทวดา, เมืองฟา้ ) และ อาลยั (ท่อี ยู่, ที่พกั ) เปน็ การประกอบศพั ท์เชน่ เดยี วกบั ค�ำว่า “เทวาลยั ” “วทิ ยาลัย” ซ่ึงราชาศัพทเ์ รียกการเสดจ็ สวรรคตของพระมหา กษตั ริย์ และเจ้านายชน้ั สงู ว่า “เสด็จสู่สวรรคาลยั ” มคี วามหมายวา่ เสดจ็ สแู่ ดน สวรรค์ อน่ึง พจนานกุ รม ฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ ใหค้ วามหมาย ค�ำว่า “สวรรคาลัย” หมายถงึ ตาย (ใชแ้ ก่เจา้ นายชั้นสงู ) สัตตมวาร (สัด-ตะ-มะ-วาน) วันที่ครบ ๗, การบ�ำเพญ็ พระราชกศุ ลครบ ๗ วนั ในการเสด็จสวรรคต ปณั รสมวาร (ปัน-นะ-ระ-สะ-มะ-วาน) วนั ทค่ี รบ ๑๕, การบำ� เพญ็ พระราชกศุ ลครบ ๑๕ วนั ในการเสดจ็ สวรรคต ปญั ญาสมวาร (ปนั -ยา-สะ-มะ-วาน) วนั ทคี่ รบ ๕๐, การบำ� เพญ็ พระราชกศุ ลครบ ๕๐ วนั ในการเสดจ็ สวรรคต สตมวาร (สะ-ตะ-มะ-วาน) วันที่ครบ ๑๐๐, การบ�ำเพ็ญพระราชกุศลครบ ๑๐๐ วันในการ เสดจ็ สวรรคต 8
ค�ำศพั ท์ทเ่ี กี่ยวเนอื่ งกบั งานพระราชพธิ ีพระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระท่ีน่ังดสุ ิตมหาปราสาท ต้ังอยู่ทางด้านทิศตะวันตกของพระราชฐานชั้นกลาง ในพระบรม มหาราชวงั พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช โปรดใหส้ รา้ งขนึ้ เปน็ ปราสาทยกพน้ื สงู รปู จตั รุ มขุ หลงั คาทรงปราสาท มมี ขุ ลด ๔ ชน้ั ทง้ั ๔ ดา้ น ยกเว้นด้านหน้ามีมุขเด็จเป็นมุขลดอีกชั้น รวมด้านหน้าเป็น ๕ แต่ละชั้น มุงด้วยกระเบ้ืองเคลือบสีพื้นเขียวขอบส้ม ประดับด้วยช่อฟ้า ใบระกา และ นาคเบือนแทนหางหงส์ พระบัญชรและพระทวารมีซุ้มยอดมณฑปทุกองค์ ส่วนหน้าบันท่ีมุขท้ัง ๔ ทิศ เป็นไม้จ�ำหลักลายลงรักปิดทองรูปพระนารายณ์ ทรงสบุ รรณ บนพนื้ กระจกสนี ำ�้ เงินล้อมรอบด้วยลายกระหนกก้านเทพนม 9
ค�ำศัพทท์ ่เี กีย่ วเน่ืองกับงานพระราชพิธีพระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช พระทนี่ ัง่ ดุสติ มหาปราสาท แลเห็นพระท่ีนั่งอาภรณ์ภโิ มกข์ปราสาทอย่ทู างด้านขวา มุขดา้ นใตข้ องพระทนี่ ง่ั ดสุ ติ มหาปราสาทเชอ่ื มตอ่ กบั พระทนี่ ง่ั พมิ านรตั ยา ด้วยมุขกระสัน ส่วนมุขด้านตะวันออกมีทางเดินเชื่อมกับพระท่ีนั่ง อาภรณ์ภิโมกข์ปราสาท และมุขด้านทิศตะวันตกมีทางเดินเชื่อมกับศาลา เปลื้องเครื่อง มีอัฒจันทร์ทางขึ้นพระที่นั่งสองข้างมุขเด็จ และทางข้ึนด้าน ทิศตะวันออกและทิศตะวันตกอย่างละ ๑ แห่ง ซึ่งสร้างเพ่ิมเติมในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยูห่ วั พระทน่ี ง่ั ดสุ ติ มหาปราสาทนี้ สรา้ งขน้ึ เพอื่ ใชเ้ ปน็ ทเ่ี สดจ็ ออกวา่ ราชการ ต่อมาเม่ือมีพระบรมวงศานุวงศ์ฝ่ายในชั้นสูงส้ินพระชนม์จึงทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้น�ำพระศพมาตั้งประดิษฐานไว้ในพระมหาปราสาทเพื่อบ�ำเพ็ญ พระราชกุศล เช่น สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากรมพระยาเทพสุดาวดี สมเดจ็ พระเจา้ พนี่ างเธอ เจา้ ฟา้ กรมพระศรีสุดารักษ์ และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงศรีสุนทรเทพ เป็นต้น ครั้นต่อมาเมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธ ยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เสด็จสวรรคตได้อัญเชิญพระบรมศพมาประดิษฐาน บนพระมหาปราสาทแห่งน้ี ภายหลังจึงเป็นธรรมเนียมในการประดิษฐาน พระบรมศพพระมหากษัตริย์พระองค์ต่อ ๆ มา รวมท้ังพระอัครมเหสี และ บางโอกาสก็ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานให้ต้ังพระศพพระบรม วงศานวุ งศช์ ้นั สงู บางพระองค์ดว้ ย 10
ค�ำศพั ทท์ ่ีเกยี่ วเนื่องกับงานพระราชพิธพี ระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระทน่ี ั่งพมิ านรตั ยา ต้ังอยู่ทางทิศใต้ของพระท่ีนั่งดุสิตมหาปราสาท โดยเชื่อมต่อด้วย มุขกระสัน พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โปรดเกล้าฯ ให้ สรา้ งขึน้ เปน็ อาคารทรงไทยยกพ้ืนสูง กอ่ อิฐถอื ปนู ทาสขี าว ตวั อาคารทอดยาว ตามทิศเหนือใต้ เฉลียงด้านทิศตะวันออกและทิศตะวันตกอยู่ในระดับพ้ืนดิน เฉลียงด้านทิศใต้ยกพ้ืนสูง ต่อกับชานหน้าเรือนจันทร์ปูด้วยกระเบื้องดินเผา สแี ดง หลงั คาลด ๓ ชนั้ มงุ ดว้ ยกระเบอ้ื งเคลอื บสี ประดบั ชอ่ ฟา้ ใบระกา หางหงส์ นาคสะดุ้ง เชงิ ชาย เดมิ พระทนี่ งั่ พมิ านรตั ยาเปน็ ทบ่ี รรทมของพระมหากษตั รยิ แ์ ละเจา้ นาย ช้ันสูงในบางโอกาส ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ใช้เป็น สถานที่ส�ำหรับชุมนุมสมาคม และพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยยศแก่พระบรม วงศานุวงศ์และข้าราชบริพารฝ่ายใน และใช้เป็นท่ีสรงน้�ำพระบรมศพ สมเด็จ พระศรีพชั รินทราบรมราชนิ ีนาถ พระบรมราชชนนีพนั ปีหลวง ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช โปรดเกล้าฯ ให้เป็นท่ีสรงน้�ำพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหา อานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า สมเด็จพระนางเจ้าร�ำไพพรรณี พระบรมราชินี ในรชั กาลท่ี ๗ สมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี และพระศพสมเดจ็ พระเจา้ พน่ี างเธอ เจ้าฟ้ากลั ยาณวิ ฒั นา กรมหลวงนราธวิ าสราชนครินทร์ สมเดจ็ พระเจ้า ภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี และเม่ือพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเสด็จสวรรคตได้สรงน้�ำพระบรมศพ ณ พระทน่ี งั่ องคน์ ตี้ ามโบราณราชประเพณี 11
คำ� ศพั ท์ทเ่ี กี่ยวเนื่องกบั งานพระราชพิธพี ระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช พระชฎาหา้ ยอด เป็นพระชฎาส�ำหรับทรงที่พระบรมศพ พระศพภายหลังจากอัญเชิญ พระบรมศพ พระศพประดิษฐานในพระบรมโกศ พระโกศ หรือวางไว้ข้าง พระเศยี รในกรณที ่ีประดษิ ฐานพระบรมศพ หรอื พระศพลงในหีบ เครอื่ งพระสุกำ� เป็นเคร่ืองประกอบท่ีเจ้าพนักงานภูษามาลาหรือสนมพลเรือนใช้ใน การถวายพระสุก�ำ (การห่อและมัดตราสัง) พระบรมศพ พระศพ ก่อนอัญเชิญ ประดษิ ฐานในพระบรมโกศ พระโกศ เชน่ ผา้ ขาว ด้ายดบิ กระดาษฟาง พระสพุ รรณแผ่นจ�ำหลักปริมณฑลฉลองพระพักตร์ เป็นคำ� ท่ปี รากฏในจดหมายเหตพุ ระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธ เลศิ หลา้ นภาลยั หมายถงึ แผน่ ทองคำ� ดนุ สำ� หรบั ถวายปดิ พระพกั ตรพ์ ระบรมศพ พระศพ กอ่ นอญั เชญิ พระบรมศพ พระศพประดษิ ฐานในพระบรมโกศ พระโกศ หีบพระบรมศพ หีบพระศพ โกศ และลอง เปน็ ภาชนะเครอื่ งสงู มรี ปู ทรงเปน็ ทรงกรวยยอดแหลมใชบ้ รรจพุ ระบรมศพ พระศพ ศพ เรียกว่า “พระบรมโกศ” “พระโกศ” “โกศ” “พระลอง” และ “ลอง” มี ๒ ชน้ั ในสมยั อยธุ ยาเรยี กชั้นนอกว่า “ลอง” ส่วนในสมัยรัตนโกสินทร์ ตอนต้นรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เรียกช้ันนอกว่า “โกศ” และต่อมากลับมาเรียกว่า “ลอง” อีกคร้ังหนึ่ง ภาชนะที่บรรจุพระบรมศพ พระศพ ศพชั้นนอกน้ีท�ำดว้ ยโครงไมห้ มุ้ ทองปดิ ทอง ประดับกระจกและอญั มณี สว่ นชน้ั ใน เรยี กสลบั ไปมากบั ชนั้ นอกดงั กลา่ วขา้ งตน้ ทำ� ดว้ ยเหลก็ ทองแดง หรอื เงนิ ปิดทอง อย่างไรก็ดี ในบางครง้ั เรียกรวมกันท้ังชน้ั นอกและชน้ั ใน ว่า “โกศ” ซงึ่ มขี นาดและรปู ทรงตา่ งกนั ไปตามลำ� ดบั และความสำ� คญั ของพระอสิ รยิ ยศ เช่น พระโกศทองใหญ่ พระโกศทองน้อย พระโกศไมส้ บิ สอง โกศแปดเหลย่ี ม เป็นต้น 12
พระโกศทองใหญท่ รงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช ประดษิ ฐานบนพระเบญจา ภายในพระทีน่ ั่งดุสติ มหาปราสาท
พระโกศจนั ทนใ์ นงานพระเมรุ สมเด็จพระเจา้ ภคินเี ธอ เจา้ ฟา้ เพชรรัตนราชสุดา สริ ิโสภาพัณณวดี
ค�ำศัพทท์ ่เี กีย่ วเนอ่ื งกบั งานพระราชพธิ พี ระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช พระโกศจนั ทน์ สร้างจากไม้จันทน์เพ่ือใช้ในการถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระศพ เมอ่ื อญั เชญิ พระโกศพระบรมศพ หรอื พระศพ สว่ นนอกเปลอ้ื งออกเหลอื แตพ่ ระโกศ ลองใน เจ้าพนักงานจะน�ำพระโกศจันทน์เข้าประกอบพระโกศลองในซ่ึง ประดษิ ฐานบนตะแกรงเหล็กช่วงรดั เอวของพระจติ กาธานเพือ่ ถวายพระเพลงิ ถวายเพลิงพระบุพโพ ก่อนการถวายพระเพลิงพระบรมศพที่มักจัดข้ึนในช่วงฤดูแล้ง มีพระราชพิธีหน่ึงซ่ึงจัดข้ึนเป็นการเฉพาะ น่ันคือการถวายเพลิงพระบุพโพ (น้�ำหนองหรือน�้ำเหลือง) ตลอดจนเคร่ืองสุก�ำพระบรมศพท่ีเจ้าพนักงาน ถวายช�ำระก่อนการถวายพระเพลิงโดยจัดขึ้นที่เมรุพระบุพโพ วัดมหาธาตุยุว ราชรังสฤษฎิ์ ข้ันตอนการถวายเพลิงพระบุพโพคือการตั้งกระทะขนาดใหญ่ เค่ียวพระบุพโพตลอดจนเครื่องสุก�ำพร้อมกับใส่เคร่ืองหอมต่าง ๆ จนกระทั่ง แห้งไป ธรรมเนียมดังกล่าวได้ยกเลิกไปในงานถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ภายหลังในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้น�ำพระบุพโพตลอดจนเครื่องสุก�ำ ของเจ้านายมาพระราชทานเพลิงที่เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส ซึ่งคร้ังหลังสุดคือในพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเดจ็ พระเจา้ ภคนิ เี ธอ เจ้าฟา้ เพชรรัตนราชสุดา สริ โิ สภาพัณณวดี 15
ค�ำศพั ทท์ เ่ี กี่ยวเน่อื งกับงานพระราชพธิ พี ระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช พระเมรใุ นการพระราชพิธพี ระราชทานเพลงิ พระศพ สมเด็จพระเจา้ ภคนิ เี ธอ เจ้าฟา้ เพชรรัตนราชสดุ า สิรโิ สภาพณั ณวดี พระเมรุมาศ (พฺระ-เม-ร-ุ มาด) คือ สถาปัตยกรรมช่ัวคราวสร้างขึ้นบริเวณท้องสนามหลวง เพ่ือใช้ใน การพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระศพ ของพระมหากษัตริย์และ เจ้านายชัน้ สูง สว่ นของพระบรมวงศานุวงศเ์ รียกวา่ “พระเมร”ุ (พฺระ-เมน) และ ของสามญั ชนเรยี กวา่ “เมร”ุ (เมน) การสรา้ งพระเมรมุ าศสร้างขน้ึ ตามความเชื่อ เรอื่ งโลกและจกั รวาล มหี ลงั คาเปน็ ยอด มรี วั้ ลอ้ มรอบ สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ทรงพระวินิจฉัยว่า “เมรุ” เห็นจะได้ชื่อ มาแต่ปลูกปราสาทอันสูงใหญ่ข้ึนท่ามกลาง ปลูกปราสาทน้อยข้ึนตามมุมทุกทิศ มโี ขลนทวาร (โคปุระ) ชกั ระเบียงเชือ่ มถึงกนั ปักราชวตั ลิ อ้ มเป็นชน้ั ๆ มีลกั ษณะ ดจุ เขาพระสเุ มรตุ ง้ั อยตู่ รงกลาง มเี ขาสตั ตบรภิ ณั ฑล์ อ้ ม จงึ เรยี กวา่ พระเมรุ ทหี ลงั ทำ� ย่อลง แม้ไม่มีอะไรล้อม เหลือแตย่ อดแหลม ๆ กค็ งเรยี กว่า เมรุ 16
พระเมรุในการพระราชพิธพี ระราชทานเพลงิ พระศพ สมเด็จพระเจ้าภคนิ เี ธอ เจ้าฟา้ เพชรรัตนราชสดุ า สริ โิ สภาพณั ณวดี
ค�ำศพั ทท์ เ่ี ก่ยี วเน่อื งกบั งานพระราชพิธีพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช พระเมรทุ อง (พฺระ-เมน-ทอง) ตง้ั อยภู่ ายในพระเมรุมาศ สร้างเปน็ รปู บุษบกสวมพระเบญจา อาจจะ ท�ำด้วยดีบุก ทองอังกฤษ ทองน้�ำตะโก ลงรักปิดทอง หรือหุ้มด้วยทองค�ำจริง ใช้ในการพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นคร้ังสุดท้าย ตามโบราณราชประเพณี พระเบญจา เป็นพระแทน่ ท�ำเป็นฐานซอ้ นขึ้นไป ๕ ชน้ั บางครง้ั ท�ำเป็น ๒ ช้นั ๓ ช้นั หรือ ๔ ชั้นข้ึนอยู่กับขนาดที่ต้ัง โดยทั่วไปมักท�ำขึ้น ๔ ช้ัน เมื่อนับรวมท้ังฐาน หรือท่ีต้งั ด้วยจึงเปน็ ๕ ชั้น ใช้วางพระบรมโกศ พระโกศ หรอื วางเคร่ืองประกอบ พระราชอิสริยยศเจ้านายชั้นสูง และพระสงฆ์ทรงสมณศักด์ิ หรือส�ำหรับ ประดษิ ฐานบุษบกพระพทุ ธรปู พระจติ กาธาน หมายถงึ แทน่ ทเี่ ผาศพ ทวั่ ไปเรยี กวา่ เชงิ ตะกอน ใชเ้ ปน็ ทสี่ ำ� หรบั ถวาย พระเพลงิ พระบรมศพบนพระเมรุมาศ 18
พระจิตกาธานท่ปี ระดับเคร่อื งสดเรยี บร้อยแลว้ ในงานพระเมรุ สมเดจ็ พระเจ้าภคินเี ธอ เจ้าฟ้าเพชรรตั นราชสุดา สิริโสภาพณั ณวดี
คำ� ศัพท์ทเี่ กย่ี วเน่อื งกบั งานพระราชพิธีพระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช ซ่างในงานพระเมรุ สมเด็จพระเจ้าภคนิ เี ธอ เจา้ ฟา้ เพชรรตั นราชสดุ า สิริโสภาพณั ณวดี ซา่ ง/ส้าง/สรา้ ง หรอื สำ� ซ่าง เป็นส่งิ ปลกู สรา้ งชัว่ คราวรปู ทรงสเี่ หลย่ี มดาดหลงั คา สรา้ งขึน้ ตามมมุ ทั้งสี่ของพระเมรุมาศ พระเมรุ ใช้เป็นท่ีส�ำหรับพระพิธีธรรมสวดพระอภิธรรม ตลอดงานพระเมรุ ต้ังแต่พระบรมศพ พระศพประดิษฐานบนพระจิตกาธาน จนกว่าจะถวายพระเพลิงพระบรมศพแล้วเสร็จ โดยมีพระพิธีธรรม ๔ ส�ำรับ น่ังอยปู่ ระจำ� ซ่าง และจะผลัดกันสวดทลี ะซา่ งเวยี นกนั ไป 20
คำ� ศัพทท์ ี่เกยี่ วเนอื่ งกับงานพระราชพธิ ีพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช หอเปลื้องในงานพระเมรุ สมเด็จพระเจา้ พีน่ างเธอ เจา้ ฟา้ กัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธวิ าสราชนครินทร์ หอเปลื้อง เป็นสิ่งปลูกสร้างขนาดเล็กชั้นเดียวหลังคาจ่ัว เป็นท่ีเก็บพระบรมโกศ พระโกศ และเครอื่ งประกอบ หลงั จากทเี่ ปลอ้ื งพระบรมศพ หรอื พระศพออกจาก พระลองข้ึนประดิษฐานบนพระจติ กาธานแลว้ และเป็นทีเ่ กบ็ เคร่ืองใช้เบด็ เตล็ด ในชว่ งการถวายพระเพลงิ พระบรมศพ เชน่ ฟนื ดอกไมจ้ นั ทน ์ ขนั นำ�้ ซง่ึ จะตอ้ ง ตั้งน�ำ้ สำ� หรับเลย้ี งเพลิงเม่ือเวลาถวายพระเพลงิ 21
คำ� ศพั ทท์ ี่เกี่ยวเนอ่ื งกบั งานพระราชพิธพี ระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช พระทีน่ ่ังทรงธรรมในงานพระเมรุ สมเด็จพระเจ้าภคนิ เี ธอ เจา้ ฟ้าเพชรรัตนราชสดุ า สริ ิโสภาพัณณวดี พระที่นง่ั ทรงธรรม เปน็ ทสี่ ำ� หรบั พระมหากษตั รยิ แ์ ละพระบรมวงศานวุ งศ์ ประทบั ทรงธรรม และประกอบพระราชพิธีบ�ำเพ็ญพระราชกุศลในการออกพระเมรุพระบรมศพ พระศพ และมีที่ส�ำหรับคณะองคมนตรี คณะรัฐมนตรี ข้าราชการช้ันผู้ใหญ่ ท้ังฝ่ายทหาร พลเรือน สมาชิกรัฐสภา ตลอดจนคณะทูตานุทูต เฝ้าทูลละออง ธุลพี ระบาท 22
ค�ำศัพท์ท่ีเกยี่ วเนอ่ื งกบั งานพระราชพิธพี ระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช ศาลาลูกขนุ ในงานพระเมรุ สมเดจ็ พระเจ้าภคินีเธอ เจา้ ฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิรโิ สภาพณั ณวดี ศาลาลูกขนุ เป็นสิ่งปลูกสร้างลักษณะโถงทรงไทยชั้นเดียว ใช้เป็นที่ส�ำหรับ ข้าราชการชน้ั ผใู้ หญ่เฝา้ ฯ รบั เสดจ็ และรว่ มพธิ ี คด สร้างขึ้นเพื่อแสดงขอบเขตมณฑลพิธี มักสร้างเป็นระเบียงล้อมรอบ พระเมรมุ าศ พระเมรุ ใชเ้ ปน็ ที่นั่งของเจ้าหนา้ ท่ผี มู้ ารว่ มงาน 23
คำ� ศพั ท์ท่เี กี่ยวเนือ่ งกับงานพระราชพธิ ีพระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช ทบั เกษตรในงานพระเมรุ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจา้ ฟ้าเพชรรตั นราชสุดา สริ ิโสภาพณั ณวดี ทับเกษตร สรา้ งเปน็ โถงทรงไทย หลังคาจวั่ ประดับตกแตง่ ลวดลายไทย ใช้เปน็ ท่ี นง่ั พกั ส�ำหรับข้าราชการทมี่ าเฝา้ ฯ รับเสด็จและรว่ มพระราชพิธี ทิม เป็นท่ีพักของพระสงฆ์ แพทย์หลวง เจ้าพนักงาน และเป็นที่ประโคม ป่พี าทยป์ ระกอบพธิ ี สรา้ งตดิ แนวร้วั ราชวัตทิ ัง้ ๔ ทิศ มีลักษณะเปน็ สิง่ ปลกู สรา้ ง ช้นั เดียว ดา้ นหน้าเปิดโล่ง หลงั คาแบบปะรำ� คือหลงั คาแบน 24
ค�ำศัพท์ท่ีเกยี่ วเน่อื งกับงานพระราชพธิ พี ระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช พลบั พลายก เป็นโถงใช้ส�ำหรับพระมหากษัตริย์ และพระบรมวงศานุวงศ์ ทรงรอ รับส่งพระบรมศพ พระศพ ขึ้นราชรถ ในอดีตมีการสร้างพลับพลายก หน้าวัด พระเชตุพนวิมลมังคลาราม ต้ังอยู่มุมก�ำแพงวัด เยื้องกรมการรักษาดินแดน พลบั พลายกหนา้ พระทน่ี งั่ สทุ ไธสวรรยปราสาท และพลบั พลายกทอ้ งสนามหลวง ดา้ นหน้าทางเขา้ ปริมณฑลท้องสนามหลวง พลับพลายกท้องสนามหลวงในงานพระเมรุ สมเด็จพระเจา้ ภคินเี ธอ เจา้ ฟา้ เพชรรตั นราชสดุ า สิรโิ สภาพณั ณวดี 25
คำ� ศพั ท์ทีเ่ กย่ี วเน่อื งกับงานพระราชพธิ ีพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช ราชวตั ิ เป็นแนวร้ัวก�ำหนด ราชวัตใิ นงานพระเมรสุ มเด็จพระเจ้าภคินเี ธอ ข อ บ เ ข ต ป ริ ม ณ ฑ ล ข อ ง เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสดุ า สริ ิโสภาพัณณวดี พระเมรุมาศและพระเมรุทั้ง ๔ ด้าน สร้างต่อเนื่องไปกับ ทิมและทับเกษตร ตกแต่ง ด้วยฉัตรและธง บางทีเรียก รวมกนั ว่า ราชวัตฉิ ัตรธง เกย หรือเกยลา เป็นแท่นฐานยกพ้ืนส่ีเหลี่ยมย่อมุม มีรางเล่ือนส�ำหรับเชิญพระบรม โกศ หรือพระโกศข้ึนประดิษฐานบนพระยานมาศ ต้ังอยู่ด้านหน้าประตูก�ำแพง แก้ว ด้านทิศตะวันตกของพระท่ีน่ังดุสิตมหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวัง มบี นั ไดข้ น้ึ ลง ๓ ดา้ น คอื ดา้ นตะวนั ออกเปน็ ทอี่ ญั เชญิ พระบรมโกศ หรอื พระโกศ จากพระทนี่ ง่ั ดสุ ติ มหาปราสาทขนึ้ เกย ดา้ นเหนอื และดา้ นใตส้ ำ� หรบั เจา้ พนกั งาน สว่ นดา้ นตะวนั ตกเปน็ ทเ่ี ทยี บพระยานมาศสามลำ� คาน เพอ่ื อญั เชญิ พระบรมโกศ หรือพระโกศขนึ้ ประดษิ ฐาน เกยลาในงานพระศพ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจา้ ฟ้าเพชรรตั นราชสดุ า สริ โิ สภาพณั ณวดี 26
คำ� ศพั ทท์ เ่ี กีย่ วเน่ืองกับงานพระราชพิธีพระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช ฉากบังเพลงิ ในงานพระเมรุ สมเดจ็ พระเจ้าภคนิ เี ธอ เจา้ ฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สริ โิ สภาพณั ณวดี ฉากบงั เพลิง เป็นเคร่ืองกั้นทางข้ึนลงพระเมรุมาศ พระเมรุ มักเขียนเป็นรูปเทวดา มีลักษณะเปน็ ฉากพบั ได้ ตดิ ไว้กบั เสาทงั้ ๔ ดา้ น บรเิ วณบันไดข้ึนลงพระเมรมุ าศ พระเมรุ เพ่อื มใิ ห้เห็นการถวายพระเพลงิ พระบรมศพ พระศพ และใชบ้ ังลม 27
ค�ำศพั ท์ท่ีเกีย่ วเนอ่ื งกับงานพระราชพิธีพระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ชาลา ส่วนของพนื้ ดินทยี่ กระดบั และปพู ้นื ผิวเรยี บด้วยวสั ดปุ ูพืน้ ชาลามกั ทำ� เปน็ บรเิ วณกวา้ ง และเชอื่ มตอ่ กบั อาคาร หรอื อยรู่ ะหวา่ งหมอู่ าคาร บางครงั้ เรยี ก วา่ ชาน สตั วห์ ิมพานต์ เปน็ รปู สตั วท์ ปี่ ระดบั ตกแตง่ รายรอบพระเมรมุ าศ ตามคตเิ รอื่ งโลกและ จักรวาล ซ่ึงมีเขาพระสุเมรุเป็นศูนย์กลาง ล้อมรอบด้วยเขาสัตตบริภัณฑ์ และ ดาษดื่นด้วยสิงสาราสัตว์นานาพันธุ์ สมัยก่อนจึงจัดท�ำโรงรูปสัตว์รายรอบพระ เมรุมาศและพระเมรุ รวมท้ังมีการผูกหุ่นรูปสัตว์เข้าขบวนแห่พระบรมศพหรือ พระศพไปสู่พระเมรุมาศหรอื พระเมรุด้วย ดุรงคไกรสร เปน็ หน่งึ ในสตั วห์ ิมพานตป์ ระดบั พระเมรุ สมเด็จพระเจ้าภคนิ เี ธอ เจ้าฟา้ เพชรรัตนราชสุดา สริ ิโสภาพณั ณวดี 28
กนิ นร กินรี ประดบั พระเมรุ สมเดจ็ พระเจา้ ภคินเี ธอ เจ้าฟ้าเพชรรตั นราชสุดา สิรโิ สภาพัณณวดี
ค�ำศัพท์ที่เก่ียวเนือ่ งกบั งานพระราชพธิ พี ระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช พระมหาพชิ ยั ราชรถ เก็บรกั ษาอยูใ่ นโรงราชรถ พิพธิ ภัณฑสถานแหง่ ชาติ พระนคร พระมหาพชิ ยั ราชรถ เป็นราชรถไม้ ท�ำด้วยไม้สักแกะสลักลงรักปิดทองประดับกระจก ใช้ก�ำลังพลฉุดชัก พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๓๓๘ เพ่ืออัญเชิญพระอัฐิ สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก ออกท้องพระเมรุเพื่อถวายพระเพลิงใน พ.ศ. ๒๓๓๙ จากน้ันจึงถือเป็นพระราชประเพณีที่ใช้พระมหาพิชัยราชรถ อัญเชิญพระบรมศพพระมหากษัตรยิ ์ พระราชินี และพระบรมวงศานุวงศ์ 30
พระมหาพิชยั ราชรถ เกบ็ รกั ษาอย่ใู นโรงราชรถ พพิ ิธภณั ฑสถานแหง่ ชาติ พระนคร
คำ� ศัพท์ท่เี กย่ี วเนอ่ื งกบั งานพระราชพิธพี ระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช เวชยันตราชรถ เก็บรกั ษาอย่ใู นโรงราชรถ พพิ ธิ ภัณฑสถานแหง่ ชาติ พระนคร เวชยนั ตราชรถ เปน็ ราชรถไมซ้ ง่ึ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราชโปรด ใหส้ รา้ งขน้ึ เพอ่ื อญั เชญิ พระศพ สมเดจ็ พระเจา้ พนี่ างเธอ เจา้ ฟา้ กรมพระศรสี ดุ ารกั ษ์ ในงานพระเมรุคู่กับสมเด็จพระเจ้าพ่ีนางเธอ เจ้าฟ้ากรมพระยาเทพสุดาวดี ซึ่งทรงใช้พระมหาพิชัยราชรถ ใน พ.ศ. ๒๓๔๒ หลังจากน้ันเวชยันตราชรถ ใช้เป็นราชรถรองในงานพระเมรุพระมหากษัตริย์รัชกาลต่อมาจนถึงงาน พระเมรุพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ภายหลังพระมหาพิชัย ราชรถเกิดช�ำรุด ในงานพระเมรุพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร และสมเดจ็ พระนางเจา้ รำ� ไพพรรณี พระบรมราชนิ ใี นรชั กาลท่ี ๗ จงึ ใชเ้ วชยนั ตราชรถ เป็นรถทรงพระบรมศพ โดยออกหมายเรียกว่า พระมหาพิชัยราชรถ และไม่มี ราชรถรองในร้วิ กระบวน 32
คำ� ศพั ท์ทเ่ี กยี่ วเนือ่ งกับงานพระราชพิธีพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช ราชรถน้อย เปน็ ราชรถไม้ มลี กั ษณะคลา้ ยพระมหาพชิ ยั ราชรถ และเวชยนั ตราชรถ คือมีส่วนตัวรถท่ีแกะสลักลงรักปิดทองประดับกระจก คานที่ยื่นออกมาเป็นรูป นาคราช บนราชรถมีบุษบกต้ังอยู่เช่นเดียวกัน เพียงแต่มีขนาดเล็กกว่า ราชรถ น้อยองค์หนึ่งใช้เป็นราชรถที่สมเด็จพระสังฆราชประทับ ทรงสวดน�ำกระบวน พระมหาพิชยั ราชรถ ราชรถองคท์ ่ีสอง เป็นราชรถโยงพระภษู าจากพระบรมโกศ จากนน้ั เปน็ ราชรถนอ้ ยองคท์ ส่ี าม ใชเ้ ปน็ ราชรถสำ� หรบั พระบรมวงศานวุ งศผ์ ใู้ หญ่ ประทับ เพือ่ ทรงโปรยทานพระราชทานแกป่ ระชาชนท่ีมาเฝา้ กราบพระบรมศพ ตามทางส่พู ระเมรมุ าศ ราชรถน้อย เก็บรกั ษาอยใู่ นโรงราชรถ พิพธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติ พระนคร 33
ค�ำศพั ท์ทเ่ี กย่ี วเนื่องกบั งานพระราชพธิ พี ระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เกรินบันไดนาค เก็บรักษาอยู่ในโรงราชรถ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร เกรินบนั ไดนาค คือ อุปกรณ์ท่ีใช้อัญเชิญพระบรมโกศขึ้นหรือลงจากราชรถ และ พระเมรมุ าศแทนการใชน้ ง่ั รา้ นไมต้ อ่ ยกสงู แบบสมยั โบราณซงึ่ ใชก้ ำ� ลงั คนยกขนึ้ ลง และมีความยากลำ� บาก ไม่สะดวก เกรินมลี ักษณะเป็นรางเลื่อนขนึ้ ลงด้วยกว้าน หมนุ โดยมีแท่นทวี่ างพระโกศเพือ่ สะดวกในการเคลื่อนยา้ ยขึ้นหรือลง ลักษณะ เป็นแท่นสี่เหล่ียม ขอบฐานแกะสลักลายปิดทองประดับกระจก ท้ายเกริน เป็นพ้ืนลดระดับลงมา ซึ่งเป็นท่ีส�ำหรับเจ้าพนักงานภูษามาลาข้ึนน่ังประคอง พระโกศพระบรมศพ มีลักษณะคล้ายท้ายส�ำเภา ด้านข้างบุผ้าตาดทอง มีราว ทั้ง ๒ ข้างตกแต่งเป็นรปู พญานาค จงึ เรียกว่า เกรนิ บนั ไดนาค คดิ ค้นโดยสมเดจ็ พระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงพิทักษ์มนตรี พระโอรสในสมเด็จพระเจ้า พน่ี างเธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์ สร้างขึ้นเม่ือ พ.ศ. ๒๓๕๔ ใช้ครั้งแรก ในงานพระเมรพุ ระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช พ.ศ. ๒๓๕๕ 34
คำ� ศัพท์ที่เกย่ี วเนื่องกบั งานพระราชพิธีพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช พระยานมาศสามลำ� คาน เก็บรักษาอยใู่ นโรงราชรถ พพิ ธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร พระยานมาศสามล�ำคาน สร้างข้ึนในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยเพื่อใช้ อญั เชญิ พระโกศพระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟา้ จุฬาโลกมหาราช เป็นคร้ังแรก เป็นยานท่ีมีคานหามขนาดใหญ่ ท�ำด้วยไม้จ�ำหลักลวดลายลงรัก ปดิ ทอง มพี นกั โดยรอบ ๓ ดา้ น และมคี านหาม ๓ คาน จงึ เรยี กวา่ พระยานมาศสาม ล�ำคาน คนหามมี ๒ ผลดั ผลดั ละ ๖๐ คน ใชส้ �ำหรับอัญเชิญพระโกศพระบรมศพ จากพระทน่ี ง่ั ดสุ ติ มหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวงั ไปประดษิ ฐานบนพระมหา พิชัยราชรถ ท่ีจอดเทียบรออยู่ใกล้พลับพลายกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม เมอ่ื พระมหาพชิ ัยราชรถ เชิญพระโกศพระบรมศพไปถึงพระเมรุมาศแลว้ กจ็ ะใช้ พระยานมาศสามลำ� คานนอ้ี ญั เชญิ พระโกศพระบรมศพจากพระมหาพชิ ยั ราชรถ เวยี นรอบพระเมรุมาศ ณ ทอ้ งสนามหลวง อกี ครั้งหนึ่ง 35
คำ� ศพั ท์ที่เกยี่ วเนอ่ื งกบั งานพระราชพธิ ีพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช พระที่นั่งราเชนทรยาน เกบ็ รกั ษาอยูใ่ นโรงราชรถ พพิ ธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร พระท่นี ั่งราเชนทรยาน เปน็ พระราชยานทสี่ ร้างขึ้นในรชั สมัยพระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟ้า จฬุ าโลกมหาราช ลกั ษณะเปน็ ทรงบษุ บกยอ่ มมุ ไมส้ บิ สอง หลงั คาซอ้ น ๕ ชนั้ สรา้ ง จากไมแ้ กะสลกั ลงรกั ปดิ ทองประดบั กระจก พนกั พงิ และกระจงั ปฏญิ าณแกะสลกั เปน็ ภาพเทพนมไวต้ รงกลาง และมรี ปู ครฑุ ยดุ นาคประดบั ทฐี่ าน มคี านสำ� หรบั หาม ๔ คาน ใช้คนหาม ๕๖ คน แต่เวลาปกติจะคงคานประจ�ำไว้ ๒ คาน ใช้ใน การเสด็จพระราชด�ำเนินโดยขบวนแห่อย่างใหญ่ที่เรียกว่า ขบวนสี่สาย เช่น ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก จะเสด็จพระราชด�ำเนินจากพระราชมณเฑียร ไปถวายสักการะพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม นอกจากนี้ ยังใช้ในการอัญเชิญพระโกศพระบรมอัฐิพระมหากษัตริย์ พระอัฐิ สมเด็จพระบรมราชินี หรือพระบรมวงศ์จากพระเมรุมาศ พระเมรุ ท้องสนาม หลวง ไปยงั พระบรมมหาราชวังอกี ด้วย 36
ค�ำศัพทท์ เ่ี ก่ยี วเน่ืองกบั งานพระราชพธิ พี ระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช ฉตั ร เป็นเครื่องสูง มีรูปร่างคล้าย ร่มท่ีซ้อนกันขึ้นไปเป็นช้ันๆ โดยช้ันบน มีขนาดเล็กกว่าชั้นล่าง มีท้ังประเภท แขวน ปกั ตัง้ หรอื เชิญเขา้ กระบวนแห่ เพ่ือเปน็ พระเกียรติยศ ได้แก่ ฉัตรแขวนหรือปัก แบ่งเป็น ๔ ชนิด คือ เศวตฉัตร (นพปฎลมหา เศวตฉัตร สัปตปฎลเศวตฉัตร เบญจ ปฎลเศวตฉัตร และเศวตฉัตร ๓ ชั้น) ฉัตรผ้าขาวลายทอง ฉัตรตาด (ฉัตร ผ้าตาดสีขาว ๕ ชนั้ ฉัตรผา้ ตาดสเี หลอื ง ๕ ชั้น) ฉัตรโหมด (ฉัตรผ้าโหมดสีขาว ๕ ช้ัน ฉัตรผ้าโหมดสีเหลือง ๕ ชั้น นพปฎลมหาเศวตฉตั ร ฉัตรผ้าโหมดสที อง ๕ ช้นั ฉตั รผ้าโหมด ภายในพระทน่ี ง่ั ดสุ ิตมหาปราสาท สเี งิน ๕ ช้ัน ฉัตรผ้าโหมดสที อง ๓ ช้ัน) ฉัตรที่ใช้ประดับบนยอดพระโกศที่บรรจุพระบรมอัฐิของพระราชวงศ์ แบ่งเปน็ ๔ ชนดิ คอื ฉัตรปรทุ องคำ� กรผุ ้าขาว ๙ ช้นั ฉตั รทองค�ำลงยา ๗ ช้นั ฉตั รทองคำ� ลายสลกั โปรง่ ๗ ชน้ั ไมบ่ ผุ า้ ขาวสำ� หรบั พระอฐั สิ มเดจ็ พระบวรราชเจา้ ฉตั รทองคำ� ลายสลกั โปร่ง ๗ ชนั้ ไม่บผุ ้าขาว สำ� หรบั พระอฐั พิ ระรชั ทายาท หรอื สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอที่ได้รับการสถาปนาพระเกียรติยศข้ึนเป็นสมเด็จ พระอนชุ าธิราช เทียบเทา่ สมเด็จพระรชั ทายาท ฉตั รปกั พระเบญจา หมายถงึ ฉตั รทองทรงกระบอกลายสลกั โปรง่ ๕ ชน้ั หนึง่ สำ� รบั มี ๘ องค์ ตัง้ แต่งมุมพระเบญจาทั้ง ๔ มมุ ฉตั รสำ� หรบั ตง้ั ในพธิ ี หรอื อญั เชญิ เขา้ กระบวนแหเ่ ปน็ เกยี รตยิ ศ แบง่ เปน็ ๖ ชนิด คือ พระมหาเศวตฉัตรกรรภิรมย์ (พระเสนาธิปัตย์ พระฉัตรชัย พระเกาวพ่าห)์ พระอภิรมุ ชุมสาย (พระอภริ มุ ชมุ สายปกั หกั ทองขวาง พระอภริ ุม ชุมสายทองแผล่ วด) ฉัตรเครอ่ื งสงู วังหนา้ ฉัตรเคร่อื งสงู ฉตั รเบญจา ฉตั รราชวัติ 37
ค�ำศัพท์ทีเ่ ก่ียวเนื่องกบั งานพระราชพธิ ีพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช นพปฎลมหาเศวตฉัตร (นบ-พะ-ปะ-ดน-มะ-หา-สะ-เหฺวด-ตะ-ฉัด) หรอื เศวตฉัตร ๙ ช้นั สำ� หรับพระมหากษัตริย์ทท่ี รงรับพระบรมราชาภิเษกตามโบราณราช ประเพณีแล้ว ลกั ษณะเปน็ ฉัตรผา้ ขาว ๙ ช้ัน แต่ละช้นั มีระบายขลบิ ทองแผ่ลวด ซ้อน ๓ ชั้น ฉัตรช้ันล่างสุดห้อยอุบะจ�ำปาทอง เศวตฉัตรแบบนี้ใช้แขวนหรือ ปักในสถานท่ีและโอกาสตา่ ง ๆ คือ • ใช้ปักเหนือพระราชอาสน์ราชบัลลังก์ในท้องพระโรง พระมหา ปราสาทราชมณเฑียรสถาน • ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ใช้ปักเหนอื พระที่นั่งภัทรบิฐเมื่อครั้งทรงรับพระราชพิธีพระบรมราชาภเิ ษก • ใชแ้ ขวนเหนือพระแท่นราชบรรจถรณ์ภายในพระมหามณเฑียร • ใช้แขวนเหนือพระบรมโกศทรงพระบรมศพ ณ ที่ประดิษฐาน พระบรมศพ • ใช้ปักยอดพระเมรุมาศ • ใช้ปักบนพระยานมาศสามล�ำคาน หรือพระยานมาศสามคาน ในการเชญิ พระบรมศพโดยขบวนพระบรมราชอสิ ริยยศ • ใชัปักเหนือเกรินขณะเชิญพระบรมโกศพระบรมศพขึ้นสู่พระมหา พิชัยราชรถ และเชญิ ข้ึนประดษิ ฐานบนพระเมรมุ าศ • ใช้แขวนเหนอื พระจิตกาธานเมอ่ื สุมเพลิงและเก็บพระบรมอฐั ิ 38
นพปฎลมหาเศวตฉัตร ประดิษฐานเหนอื พระแท่นราชบัลลงั ก์ประดบั มกุ ภายในพระที่น่งั ดุสิตมหาปราสาท
คำ� ศัพท์ทเี่ กีย่ วเน่อื งกับงานพระราชพิธีพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช เปิดเพลิง เป็นธรรมเนียมการปลงศพที่เร่ิมในปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เดิมตั้งแต่สมัยอยุธยา มักจะถวายพระเพลิงหรือ พระราชทานเพลิงให้เสร็จภายในคร้ังเดียว อันเป็นความคิดของเจ้าพนักงาน ทเ่ี กย่ี วขอ้ งในการเผาศพหลวงซง่ึ พบขอ้ ขดั ขอ้ งเรอ่ื งกลน่ิ อนั ไมพ่ งึ ประสงคใ์ นการ ปลงศพ จึงได้หาวิธีไม่ใหเ้ กิดความเดอื ดรอ้ นแกผ่ ู้มารว่ มงานซง่ึ เป็นท่มี าของการ “เผาพิธี” และ “เผาจรงิ ” ซึ่งงานถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จ พระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยูห่ วั เปน็ งานถวายพระเพลงิ พระบรมศพพระมหากษตั รยิ ์ คราวแรกทไี่ ด้รับการ “เปิดเพลงิ ” ซึ่งไดย้ ดึ ถือมาถึงปัจจุบัน ในหมายก�ำหนดการจึงแบ่งการถวายพระเพลิง หรือพระราชทาน เพลิงออกเป็น ๒ ช่วงเวลาคือ ช่วงบ่ายถึงเย็น และช่วงดึก ดังในพระราช พิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่มีการถวายพระเพลิงในเวลา ๑๘ นาฬิกา ๑๕ นาที (๖.๑๕ ล.ท.) คร้ังหนึ่ง และในเวลา ๒๓ นาฬิกา (๑๑.๐๐ ล.ท.) ครั้งหน่ึง เรียกการถวาย พระเพลิงในช่วงเวลาท่ีสองนี้ว่า “การเปิดเพลิง” ทั้งน้ี ตั้งแต่งานพระราชพิธี พระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธวิ าสราชนครนิ ทร์ เปน็ ตน้ มาไดเ้ ปลยี่ นการเปดิ เพลงิ ทพี่ ระจติ กาธาน มาท่เี ตาไฟฟา้ อนง่ึ ในการถวายพระเพลงิ พระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยู่หัวเป็นครั้งแรกท่ีได้คัดเลือกประชาชนขึ้นถวายพระเพลิง ตลอดจนน�ำ เทียนธูปของราษฎรมาประกอบการถวายพระเพลิงด้วย ซ่ึงที่เหลือเจ้าพนักงาน ภูษามาลาได้น�ำมาจุดที่ราวเทียนรอบพระเมรุมาศเพ่ือเป็นการถวายสักการะ พระบรมศพ 40
ค�ำศัพท์ที่เกย่ี วเนื่องกับงานพระราชพธิ ีพระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ศลิ าหน้าเพลงิ คือ หินเหล็กไฟ ท่ีใช้เหล็กสับกับหินให้เกิดประกายไฟ โดยมีดินปะทุ เปน็ เชอ้ื ใหต้ ดิ ไฟงา่ ย แลว้ ทรงจดุ เทยี นพระราชทานแกเ่ จา้ พนกั งาน หากแตก่ ารใช้ หนิ เหลก็ ไฟไมส่ ะดวก ในสมยั ตอ่ มาพระมหากษตั รยิ จ์ งึ ทรงใชพ้ ระแวน่ สรู ยกานต์ ส่องกับแสงอาทิตย์ให้เกิดไฟ แล้วจึงน�ำเอาเพลิงน้ันจุดถวายพระเพลิงพระบรม ศพหรอื พระศพ ซง่ึ สนั นิษฐานวา่ การจดุ เพลงิ ด้วยวิธีการดังกล่าวเปน็ วิธีเดียวกบั การจดุ เพลงิ ไฟฟา้ เพอ่ื ถวายพระเพลงิ พระบรมศพ สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั บรมโกศ ที่ปรากฏในค�ำให้การขุนหลวงหาวัด ซึ่งธรรมเนียมดังกล่าวยังคงปฏิบัติสืบมา ในการถวายพระเพลิงเจ้านาย ดังในคราวถวายพระเพลิงพระบรมศพสมเด็จ พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนน ี พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช ทรงส่องพลังความร้อนจากแสงอาทิตย์ด้วยพระแว่นสูรยกานต์แล้วให้ เจ้าพนกั งานตัง้ แตง่ มณฑปส�ำหรบั เล้ยี งเพลงิ ไว้ แล้วอัญเชิญมายงั พระเมรมุ าศ ในปัจจุบันทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้น�ำไฟที่เกิดจากพระแว่น สูรยกานต์ไปจุดเล้ียงไว้ที่พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม เมื่อมีผู้มาขอ ไฟพระราชทานจะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ส�ำนักพระราชวังอัญเชิญ “ไฟหลวง” มาพระราชทานเพลงิ ศพผู้นนั้ ต่อไป 41
ค�ำศัพทท์ เ่ี ก่ียวเนือ่ งกบั งานพระราชพิธีพระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช พระพธิ ีธรรมสวดพระอภิธรรมในการพระราชพิธีบำ� เพญ็ พระราชกศุ ล พระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช พระพธิ ธี รรม คือ ต�ำแหน่งของพระสงฆ์ท่ีมาสวดบทพระอภิธรรมในท�ำนองเฉพาะ และได้รับพระราชทานนิตยภัตจากพระมหากษัตริย์ พระพิธีธรรมนั้นเกิดข้ึนใน สมัยใดไม่มีบันทึกไว้เป็นหลักฐานท่ีชัดเจน หากวัดที่มีพระพิธีธรรมมาแต่เดิมมี ทงั้ สนิ้ ๙ วดั คอื วดั ระฆงั โฆสติ าราม วดั มหาธาตยุ วุ ราชรงั สฤษฎ์ิ วดั ราชสทิ ธาราม วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม วัดราชบูรณะ วัดสระเกศ วัดโมลีโลกยาราม วัดหงส์รัตนาราม วัดอรุณราชวราราม ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระ น่ังเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เพ่ิมพระพิธีธรรมวัดสุทัศนเทพวรารามข้ึนใหม่ และเลิก พระพิธีธรรมวัดโมลีโลกยารามเปลี่ยนมาเป็นวัดบวรนิเวศวิหาร ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงมีพระพิธีธรรม ๑๐ ส�ำรับ ปัจจุบัน เปล่ียนจากวัดราชบูรณะ วัดหงส์รัตนาราม และวัดอรุณราชวราราม มาเป็น วดั อนงคาราม วัดจกั รวรรดิราชาวาส และวัดประยุรวงศาวาส 42
คำ� ศัพท์ที่เกย่ี วเนือ่ งกับงานพระราชพิธีพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช ก�ำหนดการสวดพระอภิธรรมแตกต่างไปตามพระอิสริยยศ ดังในงาน พระบรมศพพระมหากษตั ริย์ จะอาราธนา ๒ ส�ำรับ สำ� รบั ละ ๔ รูป ผลัดเปลีย่ น กันสวดพระอภิธรรมตลอดเวลาทั้งกลางวันและกลางคืนมีก�ำหนด ๑๐๐ วัน ซงึ่ ทำ� นองการสวดพระอภธิ รรมจะมที ำ� นองเฉพาะ เรยี กโดยรวมวา่ ทำ� นองหลวง การสวดทำ� นองหลวงมี ๔ ทำ� นอง ได้แก่ ท�ำนองกะ แบ่งเป็น กะเปิด เน้นการออกเสียงค�ำสวดอย่างชัดเจน กะปดิ เน้นการสวดเออื้ นเสยี งยาว ท�ำนองเลือ่ น สวดเอ้ือนเสยี งทำ� นองตดิ ตอ่ กนั ไมใ่ ห้ขาดตอน ท�ำนองลากซุง สวดออกเสียงหนักทุกตัวอักษร โดยเอ้ือนเสียงจาก หนักแล้วแผว่ ลงไปหาเบา ทำ� นองสรภญั ญะ เน้นค�ำสวดชดั เจนและเออื้ นท�ำนองเสียงสงู ต่�ำ พระพธิ ีธรรมสวดพระอภธิ รรมในการพระราชพิธีบ�ำเพ็ญพระราชกศุ ล พระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช 43
ค�ำศัพทท์ ่เี กย่ี วเนือ่ งกับงานพระราชพิธพี ระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช พระสงฆ์สดับปกรณท์ ปี่ ะรำ� ณ พระลานพระท่นี ั่งดุสิตมหาปราสาท ในงานพระเมรุ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจา้ ฟา้ เพชรรตั นราชสดุ า สิรโิ สภาพัณณวดี สดับปกรณ์ เป็นที่เข้าใจโดยทั่วไปหมายถึง การบังสุกุล (ใช้แก่พระศพเจ้านาย) แตห่ ากพิจารณาจากการเขยี นคำ� น้ีทง้ั ในภาษาบาลี และภาษาสนั สกฤต พบว่ามี ความหมายคือ ปกรณ์ทงั้ ๗ หรอื พระอภธิ รรม ๗ คมั ภีรซ์ ่งึ ประกอบด้วย ๑. สงั คณี ๒. วิภงั ค์ ๓. ธาตกุ ถา ๔. ปุคคลบญั ญัติ ๕. กถาวตั ถุ ๖. ยมก ๗. ปัฏฐาน ดังน้ันท้ังบังสุกุลและสดับปกรณ์จึงมีที่มาต่างกันกล่าวคือ บังสุกุล เปน็ การบ�ำเพ็ญกศุ ลด้วยการชกั ผ้าหรอื ทอดผา้ บงั สุกลุ สว่ นสดับปกรณ์ หมายถึง การสวดพระอภิธรรม ๗ คัมภีร์เพื่อแสดงความกตัญญูต่อผู้ล่วงลับ ซ่ึงในงาน พระราชพธิ พี ระพธิ ธี รรมจะสวดพระอภธิ รรมทำ� นองหลวงซง่ึ มี ๗ คมั ภรี ์ อยา่ งไรกด็ ี ยังมีความนิยมเรียกพิธีท้ังการทอดผ้าบังสุกุลและการสวดพระอภิธรรมของ เจา้ นายว่า สดบั ปกรณ์ 44
ค�ำศพั ท์ทเี่ กี่ยวเนอื่ งกบั งานพระราชพิธพี ระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช การประโคมย�ำ่ ยามในการพระราชพิธบี ำ� เพญ็ พระราชกศุ ล พระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช การประโคมยำ่� ยาม นอกจากเป็นเครื่องประกอบพระอิสริยยศ ยังถือเป็นเครื่องบอกเวลา แก่เจ้าพนักงานในการปฏิบัติงานซ่ึงการประโคมน้ีอาจรับมาจากการย่�ำยามใน วฒั นธรรมอนิ เดยี แต่โบราณ โดยกระทำ� ทุก ๓ ชวั่ โมง เร่ิมจาก ๖ นาฬิกา จนถงึ ๒๑ นาฬิกา ท้ังนี้รูปแบบการประโคมย่�ำยามมีหลักเกณฑ์แน่นอนมาต้ังแต่สมัย อยุธยาโดยใช้วงเครื่องสูงซึ่งประกอบด้วย ปี่ไฉน กลองชนะ สังข์ และแตรงอน ต่อมาได้มีการเพิ่มวงปี่พาทย์นางหงส์ร่วมประโคมตั้งแต่ครั้งงานพระบรมศพ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีเป็นคราวแรกตามพระราชประสงค์ ของสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี การประโคมย่�ำยามจะประโคมตามลำ� ดบั เริม่ จาก วงแตรสังข์ ประโคม “เพลงสำ� หรบั บท” ตอ่ ดว้ ยวงปไ่ี ฉน กลองชนะ หรอื เรยี กวา่ วงเปงิ พรวด ประโคม เพลง “พญาโศกลอยลม” โดยประโคมสลับเช่นนี้สองครั้ง ก่อนที่วงปี่พาทย์ นางหงส์จะประโคม “เพลงเรื่องนางหงส์” ได้แก่ เพลงพราหมณ์เก็บหัวแหวน เพลงสาวสอดแหวน เพลงกระบอกทอง เพลงคแู่ มลงวนั ทอง และเพลงแมลงวนั ทอง เม่ือบรรเลงครบทัง้ สามวงถอื ว่าเสรจ็ การประโคมย่ำ� ยาม ๑ ครัง้ 45
ค�ำศัพทท์ ่เี กีย่ วเน่ืองกับงานพระราชพิธีพระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช การบรรเลงของวงป่ีพาทยน์ างหงส์ในการพระราชพธิ ีบำ� เพญ็ พระราชกศุ ล พระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช วงปี่พาทยน์ างหงส์ เป็นวงปี่พาทย์ที่มีบทบาทส�ำคัญในการประโคมประกอบพิธีศพอย่าง มีแบบแผนของไทยมาแต่ครั้งโบราณ กอ่ นที่ภายหลงั จะหนั มานิยมใช้วงปี่พาทย์ มอญ ปัจจุบันพบเฉพาะในงานพระบรมศพ พระศพของพระมหากษัตริย์ และ พระบรมวงศานวุ งศ์ ซง่ึ วงปพ่ี าทยน์ างหงสน์ เี้ ปน็ การนำ� วงปพ่ี าทยธ์ รรมดามารว่ ม กบั วงบวั ลอยโดยลดทอนเครอ่ื งดนตรขี องวงปพ่ี าทยค์ อื ปใ่ี น ตะโพน และกลองทดั ออกไป และลดทอนเหมง่ ในวงบัวลอยออก ใชแ้ ต่โหม่งในวงปพ่ี าทย์เท่านนั้ ทัง้ น้ี ท่ีใช้ชื่อว่าวงปี่พาทย์นางหงส์นั้นเนื่องจากสมัยโบราณนิยมใช้เพลงเรื่องนางหงส์ สองชนั้ (เพลงพราหมณเ์ กบ็ หวั แหวน) เปน็ หลกั สำ� คญั ในการบรรเลงและประโคม ซ่ึงมีน�้ำเสียงสนุกสนานเป็นการปลอบโยนจิตใจแก่ญาติผู้วายชนม์ให้ผ่อนคลาย จากความสูญเสีย อีกทั้งเป็นปริศนาธรรมว่า ในการเกิดย่อมมีการดับ และ ในการดับยอ่ มมกี ารเกดิ เชน่ กนั 46
ค�ำศัพทท์ ่เี กย่ี วเน่ืองกับงานพระราชพิธพี ระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช เครอ่ื งสงั เคด็ สังเค็ด มาจากค�ำว่า สังคีต แปล ว่า การสวด ดังน้ันท่ีซึ่งพระสงฆ์ข้ึนไปน่ัง สวดได้ ๔ รูป จึงเรียกว่า เตียงสังคีตอัน เดียวกับเตียงสวด หรือร้านสวดในการศพ เว้นแต่ท�ำให้ประณีตข้ึน มียอดดุจปราสาท กม็ ี ไมม่ ยี อดกม็ ี ทง้ั นเี้ ครอื่ งสงั เคด็ อนั หมายถงึ สงิ่ ของทใี่ ชใ้ นการทำ� บญุ ศพมที ม่ี าจากแตเ่ ดมิ นิยมน�ำสังเค็ดอันเป็นเตียงสวดของพระสงฆ์ นั้นมาใส่ของหามเข้ากระบวนแห่ศพ ต่อมา ภายหลังของเหล่าน้ีไม่ได้จัดใส่ในสังเค็ดแล้ว แต่ผู้คนยังเรียกของท�ำบุญในการศพว่า ต้สู งั เค็ดในงานพระเมรุสมเด็จ เคร่อื งสงั เคด็ อยู่ พระเจา้ ภคินีเธอ เจ้าฟา้ เพชรรตั น ราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ลักษณะของเครื่องสังเค็ดมีหลายชนิดตามแต่จะเห็นว่าส่ิงใดจ�ำเป็นแก่ พระสงฆ์ ครั้นถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเปล่ียน ธรรมเนียมการถวายเคร่ืองสังเค็ดโดยมุ่งประโยชน์แก่สาธารณะมากข้ึน จ�ำแนก เป็น ๓ ประเภท คือถวายพระภิกษุ มีพัดรอง หรือพัดสังเค็ด ย่าม ผ้ากราบ ถวายวดั มธี รรมาสน์ ตพู้ ระธรรม และใหส้ ำ� หรบั โรงเรยี น ไดแ้ ก่ เครอ่ื งใชต้ า่ ง ๆ ปัจจุบันยังคงยึดธรรมเนียมการถวายเคร่ืองสังเค็ดดังกล่าวอยู่ แต่ได้มีการถวาย หนงั สอื อนั เปน็ แหลง่ เกดิ ปญั ญาเพม่ิ เขา้ มา ดงั ในงานถวายพระเพลงิ พระบรมศพ สมเด็จพระนางเจ้าร�ำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ ๗ ได้สร้าง ตู้สังเค็ดบรรจุพระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐซึ่งเป็นพระไตรปิฎกท่ีจัดพิมพ์ขึ้น ในรชั สมัยพระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อย่หู วั 47
คำ� ศพั ท์ทเ่ี กี่ยวเนอื่ งกบั งานพระราชพิธพี ระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ต้นกัลปพฤกษ์ เป็นต้นไม้ที่ท�ำข้ึนเนื่องในการทิ้งทานในงานเมรุหลวง ซ่ึงมีลูกมะนาว หรือลูกมะกรูดบรรจุเงินตราห้อยอยู่ตามก่ิงต่าง ๆ โดยมีเจ้าพนักงานโปรยลูก มะนาวหรือลูกมะกรูดดังกล่าวให้แก่ราษฎร ตามคติไตรภูมิ ต้นกัลปพฤกษ์นี้ เป็นต้นไม้ในอุตรกุรุทวีป และในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ เชื่อว่าต้นกัลปพฤกษ์เป็น ตน้ ไมท้ ใี่ หผ้ ลตามความปรารถนาของผขู้ อ และเงนิ นนั้ มคี า่ เปรยี บไดด้ งั่ สงิ่ สารพดั นกึ ผไู้ ดร้ บั จะเนรมติ สงิ่ ทพ่ี งึ ประสงคไ์ ดด้ ง่ั ใจ ประดจุ ดงั นกึ ขอเอาไดจ้ ากตน้ กลั ปพฤกษ์ ในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ หรือพระราชทานเพลิงพระศพ เจา้ นายจงึ มธี รรมเนยี มการตงั้ ตน้ กลั ปพฤกษเ์ พอื่ ใหง้ านพระเมรมุ คี วามครบถว้ นตาม คติไตรภูมิ อีกทั้งเพ่ือให้ทานแก่ราษฎรเป็นการท�ำบุญอุทิศแก่เจ้านายพระองค์ ทลี่ ว่ งลบั ถอื เปน็ ทานมยั บรจิ าค ซงึ่ เปน็ หนง่ึ ในบญุ กริ ยิ าวตั ถุ ๑๐ ทบ่ี คุ คลพงึ ปฏบิ ตั ิ การท�ำต้นกัลปพฤกษ์ในงานพระราชพิธีพระบรมศพ และพระศพ ปรากฏในเอกสารประวัติศาสตร์มาต้ังแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยาจนมาถึงรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ก่อนจะมีการยกเลิกการต้ัง ตน้ กลั ปพฤกษใ์ นงานถวายพระเพลงิ พระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยู่หัว พร้อมกับธรรมเนียมโบราณอ่ืน ๆ เช่น การฉลองต่าง ๆ ได้แก่ ดอกไม้เพลงิ การมหรสพ การตั้งโรงครัวเลยี้ ง 48
Search