Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พระมหากษัตริย์นักพัฒนา เพื่อประโยชน์สุขสู่ปวงประชา

พระมหากษัตริย์นักพัฒนา เพื่อประโยชน์สุขสู่ปวงประชา

Published by sukworadet29, 2021-03-05 07:35:52

Description: พระมหากษัตริย์นักพัฒนา เพื่อประโยชน์สุขสู่ปวงประชา

Keywords: K.9

Search

Read the Text Version

ซง่ึ เปน็ ทปี่ ระจกั ษช์ ดั วา่ ผลลัพธ์สุดท้ายที่พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวทรงอยากเห็นก็คือ การพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื และประชาธปิ ไตย ที่เข้มแข็ง ซ่ึงการปูพ้ืนฐานของ ประชาธปิ ไตย มใิ ชเ่ รอื่ งของกฎหมาย ระเบียบ กติกาเพียงอย่างเดียว หากพ้ืนฐานจริงๆ คือต้องพัฒนา ประชาชนให้หลุดพ้นจากความ ยากจน และสามารถยืนได้ด้วย ตัวเองก่อน จึงจะเป็นประชาธิปไตยได้ นับเป็นการสร้างรากฐานสำคัญให้เกิดความเข้มแข็งในระบบ การเมอื งไทยอยา่ งมนั่ คงและยงั่ ยนื ในทศั นะของพระองค์ กระบวนการพฒั นาตอ้ งครอบคลมุ ทงั้ เรอื่ งเศรษฐกจิ สงั คม การเมือง ตอ้ งพัฒนาคนด้วย และต้องอาศยั ศรทั ธาเปน็ สำคัญ การพฒั นาจงึ จะประสบความสำเร็จ พระองค์ทรงมุ่งเน้นเร่ืองการพัฒนาคน ทรงตรัสว่า “ต้องระเบิดจากข้างใน” น่ันคือต้อง สร้างความเข้มแข็งให้คนในชุมชนที่เราเข้าไปพัฒนาให้มีความพร้อมที่จะรับการพัฒนาเสียก่อน มิใช่ การนำความเจรญิ หรอื บคุ คลจากสังคมภายนอกเขา้ ไปหาชุมชนหมบู่ ้านทีย่ งั ไม่ทันได้มีโอกาสเตรยี มตวั นอกจากน้ที รงม่งุ เนน้ หลักการ “เข้าใจ เขา้ ถึง พัฒนา” คอื กอ่ นจะทำอะไรตอ้ งมคี วามเขา้ ใจ เสียก่อน เข้าใจภูมิประเทศ เข้าใจผู้คนในหลากหลายปัญหา ทั้งนี้ จะต้องทำให้ผู้ที่เราจะไปทำงานกับ เขาหรือทำงานให้เขาน้ัน “เข้าใจ” เราด้วย เพราะถ้าเราเข้าใจเขาแต่ฝ่ายเดียว โดยที่เขาไม่เข้าใจเรา ประโยชน์คงจะไม่เกิดขึ้นตามท่ีเรามุ่งหวังไว้ เมื่อรู้ปัญหาแล้ว เข้าใจแล้ว ก็ต้องเข้าถึง เพื่อให้นำไปสู่ การปฏิบัติให้ได้ และเม่ือเข้าถึงแล้วจะต้องทำอย่างไรก็ตามให้เขาอยากเข้าถึงเราด้วย ดังนั้น จะเห็นว่า เป็นการสื่อสารสองทาง ทั้งไปและกลับ ถ้าสามารถทำสองประการแรกได้สำเร็จ เรื่อง “การพัฒนา” จะประสบความสำเรจ็ ได้เป็นอยา่ งดี ชยั ของการพฒั นาคอื ความสงบ ความเจริญ และความอย่ดู กี ินดีของพสกนิกร พระองคท์ รงมรี บั สงั่ วา่ การแกป้ ญั หาของประชาชนและประเทศชาติ ไมใ่ ชเ่ รอ่ื งงา่ ย เปน็ งานยาก การเข้าไปดำเนินการแก้ไขปัญหา เหมือนกับการเข้าสงคราม แต่เป็นการทำสงครามที่ไม่ใช้อาวุธ เป็นการ ต่อสู้กับปัญหาเพื่อนำไปสู่ชัยชนะ โดยใช้กระบวนการพัฒนานำไปสู่ความสำเร็จ จึงเป็นท่ีมาของช่ือ “มลู นิธชิ ยั พฒั นา” พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงงานอย่างหนักเพ่ือประโยชน์สุขของประชาชน พระองค์ ทรงพยายามต่อสู้ทุกส่ิงทุกอย่าง เพ่ือมุ่งสู่ชัยชนะของประเทศ โดยใช้กระบวนการพัฒนานำไปสู่ ความสำเร็จ ดังพระราชดำรัสท่ีพระราชทานเมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๓๗ เก่ียวกับเรื่องมูลนิธิชัยพัฒนา 297

ความตอนหนึ่งวา่ “...ชัยชนะของประเทศน้ี โดยงานของมูลนิธิชัยพัฒนาน้ันก็คือ ความสงบ... เป็นเมืองไทยท่ีมีความ เจริญก้าวหน้า จนเป็นชัยชนะของ การพัฒนาตามท่ีได้ต้ังช่ือ มูลนิธิ ชัยพัฒนา ชัยของการพัฒนาน้ีมี จดุ ประสงค์ คอื ความสงบ ความเจรญิ ความอยู่ดีกินด.ี ..” บทสรุปนี้ ตรงกับเครื่องหมายประจำมูลนิธิชัยพัฒนา ท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว องค์นายกกิตติมศักด์ิของมูลนิธิ ชัยพัฒนา ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ กำหนดแบบ พร้อมทั้ง ความหมายด้วยพระองค์เอง และพระราชทานเป็นเครื่องหมาย ประจำมูลนิธิชัยพัฒนา ซ่ึงประกอบด้วย พระแสงขรรค์ชัยศรี ธงกระบธี่ ชุ ดอกบวั และสงั ข์ อนั หมายถงึ พระองคท์ รงเปน็ จอมทพั โดยมีประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมเป็นทหารของพระองค์ เพื่อร่วม เป็นพลังของแผ่นดินเข้าไปแก้ไขปัญหาต่างๆ โดยใช้กระบวนการ พัฒนาอันนำไปสู่ชัยชนะของประเทศและประชาชน ก่อให้เกิด ความสงบ มีคุณธรรมจริยธรรม ความอยู่ดีกินดีและความร่มเย็น เป็นสุขในแผน่ ดินไทย กล่าวโดยสรุป จะเห็นได้ว่าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระมหากรุณาธิคุณ เปน็ ลน้ พน้ ตอ่ แผน่ ดนิ ไทยและประชาชนชาวไทย แนวพระราชดำริด้านการพฒั นาทีพ่ ระราชทานไดส้ ง่ ผลดี อย่างย่ิงต่อการดำรงชีวิตของประชาชน ทำให้สามารถประกอบอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีฐานะ ความเปน็ อย่แู ละคณุ ภาพชีวิตดีขึน้ พระอัจฉริยภาพแหง่ ความเป็นผู้นำในการพัฒนาประเทศของพระบาท สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั มใิ ชเ่ พยี งกอ่ ใหเ้ กดิ ความสำนกึ ในพระมหากรณุ าธคิ ณุ อยา่ งลน้ เหลอื ตอ่ ปวงชนชาวไทย หากแต่พระเกียรติคุณเหล่าน้ีได้แผ่ไพศาลไปสู่นานาประเทศท่ัวโลก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงนำพาประเทศไทยและประชาชนชาวไทยให้สามารถยืนหยัดอยู่ได้อย่างมีความสุข และดำรงไว้ ซึ่งเกียรตภิ ูมิของความเปน็ ประเทศไทยและคนไทยตราบจนทกุ วนั นี้ 298

ในโอกาสอนั เปน็ มหามงคลยงิ่ น้ี สำนกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ สำนึกในพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้น ขอถวายความจงรักภักดี และขอเทิดทูนพระองค์ไว้เหนือเกล้า เหนือกระหม่อม และขอเชิญชวนประชาชนชาวไทยท่ัวท้ังประเทศสนองพระมหากรุณาธิคุณล้นเกล้า ล้นกระหมอ่ ม ด้วยการเจริญรอยตามเบ้ืองพระยุคลบาท นอ้ มนำแนวพระราชดำรมิ าศึกษา และยึดถอื เปน็ แนวปฏิบัติให้บงั เกิดผลสบื ไป ขอพระองคท์ รงพระเจริญยิ่งยนื นาน 299

บรรณานกุ รม หนังสือ เอกสาร ส่ิงพมิ พ์ กรมชลประทาน. “กงั หันไฟฟ้าพลังน้ำคลองลัดโพธิ”์ วารสารขา่ วกรมชลประทาน. ปีท่ี ๑๗ (ฉบับที่ ๑๓๐) ; กมุ ภาพันธ์ ๒๕๕๒. กรมชลประทาน. เทดิ ไทอ้ งคร์ าชนั ดวงใจราษฎร์ ปราชญแ์ หง่ นำ้ ๑๐๙ ปี ๑๓ มถิ นุ ายน ๒๕๕๔ กรมชลประทาน งานเพ่ือแผ่นดนิ . กรุงเทพฯ : บรษิ ทั เนชนั่ พร้นิ ตง้ิ เซอรว์ สิ จำกัด, ๒๕๕๔. กระทรวงพลงั งานร่วมกบั สถาบันปโิ ตรเลียมแหง่ ประเทศไทย. พระบิดาแห่งการพัฒนาพลงั งานไทย. กรงุ เทพฯ : บริษัท อมรินทร์พร้ินติ้งแอนด์พับลชิ ชิ่ง จำกัด (มหาชน), ๒๕๔๙. กรุงเทพมหานคร. ทรงเป็นแรงบนั ดาลใจ. กรุงเทพฯ : บริษทั ดาวฤกษ์ คอมมนู ิเคชนั่ ส์ จำกดั , ๒๕๕๐. กรงุ เทพมหานคร. แนวพระราชดำรดิ า้ นการบรหิ ารจดั การกรงุ เทพมหานคร ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั เน่ืองในโอกาสงานฉลองสิริราชสมบตั ิครบ ๖๐ ปี พทุ ธศักราช ๒๕๔๙. กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั อมรนิ ทร์ พริน้ ต้ิงแอนด์พบั ลชิ ชิ่ง จำกัด (มหาชน), ๒๕๕๐. กองทนุ บำเหนจ็ บำนาญขา้ ราชการ. ประมวลพระบรมราโชวาทและพระราชดำรสั ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั . พุทธศกั ราช ๒๔๙๓ - ๒๕๔๘. คณะกรรมการอำนวยการจัดงานฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี. สารานุกรมพระราชกรณียกิจพระบาทสมเด็จ พระเจา้ อยหู่ ัว ในรอบ ๖๐ ปแี หง่ การครองราชย.์ กรงุ เทพฯ : บริษทั พมิ พ์ดี จำกดั . ๒๕๕๑. ฐิติพันธ์ พัฒนมงคล. “อุทกภัย ’๕๓ วิกฤตน้ำจากที่ราบสูงถึงคาบสมุทร” นิตยสารสารคดี ฉบับท่ี ๓๑๐ ; ธันวาคม ๒๕๕๓. เทิดศักด์ิ บุญยขจร. “บทบาทกรมชลประทาน ในการป้องกันและบรรเทาอุทกภัยตามแนวพระราชดำริ” วารสารอันเนอ่ื งมาจากพระราชดำริ. ปที ี่ ๒ (๒); เมษายน- มถิ นุ ายน ๒๕๔๗. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร. พากเพยี ร...เพอ่ื พอเพียง. กรงุ เทพฯ : ธนาคารเพือ่ การเกษตร และสหกรณก์ ารเกษตร, ๒๕๓๓. ฝา่ ยกิจการเพอ่ื สงั คม บริษัท ปตท. จำกดั (มหาชน). “แฝก” เปน็ ไปได้มากกว่าหญ้า รวมผลงานการประกวด การพัฒนาและรณรงค์การใช้หญ้าแฝก อันเนื่องมาจากพระราชดำริ คร้ังท่ี ๔ ประจำปี ๒๕๕๒. กรุงเทพฯ : บริษทั วงตะวัน จำกัด, ๒๕๕๒. ฝา่ ยวจิ ยั และพฒั นาสาขาคอมพวิ เตอรส์ มรรถนะสงู . ระบบเครอื ขา่ ยเพอื่ การจดั การทรพั ยากรนำ้ แหง่ ประเทศไทย. กรงุ เทพฯ : บรษิ ัท วงตะวนั จำกัด, ๒๕๕๒. มลู นธิ กิ ารศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม. ๑๓ ปี การศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม จากโรงเรยี นวงั ไกลกงั วล หวั หนิ หนงึ่ เดยี วในโลก ตงั้ แต่ พ.ศ. ๒๕๓๘. กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั อมั รนิ ทรพ์ รนิ้ ตงิ้ แอนดพ์ บั ลชิ ชงิ่ จำกดั (มหาชน), ๒๕๕๒. 300

มลู นธิ ชิ ยั พฒั นา. กงั หนั นำ้ ชยั พฒั นา เครอ่ื งกลเตมิ อากาศทผี่ วิ นำ้ หมนุ ชา้ แบบทนุ่ ลอย. กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั อมั รนิ ทร์ พร้ินติง้ แอนดพ์ บั ลิชชง่ิ จำกดั (มหาชน), ๒๕๕๔. มลู นธิ ิชัยพฒั นา. เครอื่ งกลเติมอากาศ แบบอัดอากาศและดดู น้ำ RX–5C. กรุงเทพฯ : บริษัท อมั รนิ ทรพ์ ร้นิ ตง้ิ แอนด์พบั ลชิ ชง่ิ จำกดั (มหาชน), ๒๕๕๔. มลู นธิ ชิ ยั พัฒนา. มูลนิธิชยั พัฒนา. กรุงเทพฯ : บรษิ ัท อัมรนิ ทรพ์ ริน้ ต้งิ แอนดพ์ ับลชิ ชง่ิ จำกัด (มหาชน), ๒๕๕๔. สถานวี ทิ ยุ อ.ส. พระราชวงั ดสุ ติ และธนาคารออมสนิ . ในหลวงกบั ประชาชน ๔๕ ปี สถานวี ทิ ยุ อ.ส. พระราชวงั ดสุ ติ . กรุงเทพฯ : บรษิ ัท อมั รินทรพ์ ร้นิ ติง้ แอนด์พบั ลิชชงิ่ จำกัด (มหาชน), ๒๕๔๒. สถาบันเพื่อการพัฒนาการเกษตรและชนบท จำเนียร สาระนาค. สถาบันเพื่อการพัฒนาการเกษตรและชนบท จำเนยี ร สาระนาค. กรงุ เทพฯ : สถาบนั เพื่อการพัฒนาการเกษตรและชนบท. สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน). ประกวดการจัดการทรัพยากรน้ำชุมชน ตามแนวพระราชดำริ ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ: สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องคก์ ารมหาชน), ๒๕๕๒. สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน). ประกวดการจัดการทรัพยากรน้ำชุมชน ตามแนวพระราชดำริ ครั้งท่ี ๓. กรุงเทพฯ : สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน), ๒๕๕๓. สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพ่ือเกษตรกรรม. ผืนดินพระราชทาน. กรุงเทพฯ : สำนักงานการปฏิรูปที่ดิน เพ่ือเกษตรกรรม, ๒๕๔๙. สำนกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาต.ิ การทรงงานพฒั นาประเทศของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู ัว. นนทบุรี : ศนู ยก์ ารพมิ พ์เพชรร่งุ , ๒๕๕๔. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. พระม่ิงขวัญของชาวไทย ผู้ทรงเป็นพลัง พฒั นาประเทศ. กรุงเทพฯ : ๒๑ เซ็นจูร่ี จำกัด, ๒๕๕๓. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพฯ : ๒๑ เซ็นจรู ่ี จำกดั , ๒๕๕๒. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. เรียนรู้หลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หวั . กรงุ เทพฯ : ๒๑ เซ็นจรู ่ี จำกดั , ๒๕๕๑. สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำริ. แนวคิดและทฤษฎี การพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ในพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว. พมิ พค์ รั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : สำนกั งานคณะกรรมการพิเศษเพอื่ ประสานงานโครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดำร,ิ ๒๕๔๒. สำนกั งานคณะกรรมการพเิ ศษเพอื่ ประสานงานโครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำร.ิ อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำร.ิ กรุงเทพฯ : บรษิ ัท รุ่งศลิ ป์การพิมพ์ (๑๙๗๗) จำกดั , ๒๕๔๗. 301

สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำริ. พระเกียรติเกริกไกร. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพ่ือประสานงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำริ. สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพ่ือประสานงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำริ. การประยุกต์ใช้ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงด้านเกษตรทฤษฎีใหม่. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัด เทพเพ็ญวานิสย์, ๒๕๕๓. สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพ่ือประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ. การบริหารธุรกิจ ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงาน โครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดำร.ิ สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ. ตัวอย่างความสำเร็จ การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัด เทพเพ็ญวานิสย์, ๒๕๕๓. สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพ่ือประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ. อันเนื่องมาจาก พระราชดำริ ๖๐ ปี ครองราชย์ ประโยชนส์ ขุ ประชาราษฎร.์ พมิ พค์ รง้ั ท่ี ๒. กรงุ เทพฯ : หา้ งหนุ้ สว่ นจำกดั อรณุ การพิมพ์, ๒๕๔๕. สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ . ๘๐ พรรษาปวงประชา เปน็ สุขศานต์. กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั พรี เสกล จำกดั , ๒๕๕๐. สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำริ. กษัตริย์นักพัฒนา. พิมพค์ รั้งท่ี ๔. กรงุ เทพฯ : หจก. อรณุ การพมิ พ์, ๒๕๕๓. สำนกั งานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชดำร.ิ ๓๐ ปี กปร. สามทศวรรษ สามสะพาน. กรุงเทพฯ : บริษทั บีทีเอส เพรส จำกัด, ๒๕๕๔. สำนักงานคณะกรรมการพเิ ศษเพอ่ื ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดำร.ิ นำ้ คอื ชีวิต. พมิ พค์ ร้ังที่ ๒. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพ่ือประสานงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำริ, ๒๕๕๐. สำนกั งานคณะกรรมการวจิ ยั แหง่ ชาต.ิ จดหมายเหตสุ ทิ ธบิ ตั รฝนหลวง. กรงุ เทพฯ : หา้ งหนุ้ สว่ นจำกดั อรณุ การพมิ พ,์ ๒๕๔๙. สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา. ยงิ่ ครสู งั่ สอนแจง ใจโลก THE GREAT PUNDIT. กรงุ เทพฯ : ดิ อลั ฟาเบต็ ส์ กรปุ๊ . สำนกั งานสถติ แิ หง่ ชาต.ิ จดจารพระมหากรณุ า พระมหากษัตริยน์ ักพฒั นา เพ่ือปวงประชาร่มเยน็ . กรุงเทพฯ : บริษทั อมรนิ ทร์พรน้ิ ตงิ้ แอนดพ์ ับลชิ ช่ิง จำกดั (มหาชน), ๒๕๕๑. สำนักฝนหลวงและการบินเกษตร. เป็นฝนสู่ประชา จากบิดาของแผ่นดิน. กรุงเทพฯ : สำนักฝนหลวงและ การบนิ เกษตร, ๒๕๔๗. อคั รวัฒน์ โอสถานุเคราะห.์ หน่ึงในโลก จอมกษัตริย์มหาราชผยู้ ิ่งใหญ.่ พิมพ์ครง้ั ท่ี ๔. กรุงเทพฯ : สำนกั พิมพ์ รว่ มด้วยชว่ ยกนั , ๒๕๔๙. 302

เว็บไซต์ ส่ือออนไลน์ ASTV ผู้จัดการออนไลน์. “ในหลวง” ตรัสชมสร้างเข่ือนขุนด่าน เสร็จเร็วมีประโยชน์จริงๆ. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก : http://www.manager.co.th/Home/ViewNews.aspx? NewsID=9540000119441 (วันที่คน้ ขอ้ มลู : ๑๙ กันยายน ๒๕๕๔). เครอื ขา่ ยกาญจนาภเิ ษก. โครงการสว่ นพระองค์ สวนจติ รลดา. [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : http://kanchanapisek. or.th/kp1/index_th.html (วันทค่ี ้นขอ้ มูล : ๑๐ กนั ยายน ๒๕๕๔). เทศบาลตำบลอุโมงค์. โครงการน้ำมันไบโอดีเซลชุมชน ทดแทนพลังงานไทย. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.umongcity.org (วันทค่ี ้นขอ้ มลู : ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๕๔). กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. เป็นฝนสู่ประชา จากบิดาของแผ่นดิน. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http:// www.thairoyalrain.in.th/index.php (วันทีค่ ้นขอ้ มูล : ๕ กนั ยายน ๒๕๕๔). กรงุ เทพมหานคร. ดา้ นการจราจร. [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงได้จาก : http://www.bangkok.go.th/th/page/?129- Transportation (วนั ท่ีคน้ ข้อมลู : ๓๐ สงิ หาคม ๒๕๕๔). มูลนิธชิ ยั พฒั นา. แนะนำมลู นิธิชยั พัฒนา. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.chaipat.or.th/chaipat/ index.php/th/publication/recommended-chai-pattana-foundation (วันท่ีค้นข้อมูล : ๑๘ สิงหาคม ๒๕๕๔). วกิ พิ เี ดยี สารานกุ รมเสร.ี สะพานพระราม ๘. [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : th.wikipedia.org/wiki/สะพานพระราม_๘ (วันท่คี น้ ขอ้ มูล : ๒๙ สิงหาคม ๒๕๕๔). สถานวจิ ยั และพฒั นาพลงั งานทดแทนจากนำ้ มนั ปาลม์ และพชื นำ้ มนั มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร.์ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวกับปาล์มน้ำมันและไบโอดีเซล. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.biodiesel. eng.psu.ac.th/pdf/king&biodiesel.pdf (วันทีค่ น้ ขอ้ มูล : ๗ กันยายน ๒๕๕๔). สำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร. พระราชดำริด้านการจราจรสำนักการโยธา. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://portal.bangkok.go.th/subsite/index.php?strOrgID=001061 &strSection=services&intContentID=1337 (วนั ทค่ี ้นขอ้ มูล : ๒๙ สิงหาคม ๒๕๕๔). สำนกั งานคณะกรรมการพเิ ศษเพือ่ ประสานงานโครงการอนั เนือ่ งมาจากพระราชดำริ. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก : http://www.rdpb.go.th/ (วนั ท่คี ้นขอ้ มูล : ๑๙ สงิ หาคม ๒๕๕๔). สำนักชลประทานท่ี ๔ กรมชลประทาน. ประวัติหมู่บ้านและฝายหนองปิ้งไก่. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://ridceo.rid.go.th/kampang/Nong-Ping-Kai/resume-phai.html (วันที่ค้นข้อมูล : ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๕๔). สำนักฝนหลวงและการบินเกษตร. คำถามที่หลายคนสงสัย. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www. royalrainmaking.thaigov.net/faq. (วนั ทค่ี น้ ข้อมูล : ๕ กันยายน ๒๕๕๔). 303

คณะท่ปี รึกษาจดั ทำหนงั สือพระมหากษตั รยิ น์ กั พฒั นา เพือ่ ประโยชน์สุขส่ปู วงประชา ประธาน กรรมการและเลขาธิการมูลนิธชิ ยั พฒั นา นายสุเมธ ตนั ตเิ วชกุล ทปี่ รึกษา ประธานกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ นายพนัส สิมะเสถียร เลขาธิการคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ นายอาคม เติมพิทยาไพสฐิ คณะทำงานจดั ทำหนังสอื พระมหากษัตริย์นกั พัฒนา เพื่อประโยชน์สขุ สปู่ วงประชา ประธาน นางเพ็ญจา ออ่ นชติ รองประธาน นางสาวกัญญารกั ษ์ ศรีทองรงุ่ นายสทุ ิน ลป้ี ยิ ะชาติ คณะทำงาน นางสาวช่อผกา แกว้ ใหญ ่ นางจนั ทร์ทพิ ย์ ปาละนันทน์ นายนพดล ธัญญาด ี นางสาวจรี วัจน์ วงศาโรจน์ นางวรารัตน์ ดลุ ยพิทักษ์ นางสาวรวีวรรณ เลียดทอง นางสาวพนดิ า วงษภ์ กั ดี นางสาวรัตนวรรณ โอสถรปู นางสาวธนัสนี จสี่ ูงเนนิ ข้อมลู เก่ยี วกบั หนังสือพระมหากษัตริย์นกั พฒั นา เพอ่ื ประโยชนส์ ุขสู่ปวงประชา พิมพค์ รั้งที่ ๑ ธนั วาคม ๒๕๕๔ จำนวน ๒๑,๐๐๐ เล่ม ISBN 978-974-9769-99-7 พมิ พ์ท่ ี ศนู ย์การพมิ พเ์ พชรร่งุ กรงุ เทพฯ 304







“...ในการพัฒนาประเทศนั้น จำเปนตองทำตามลำดับขั้น เริ่มดวยการสรางพื้นฐาน คือความมีกินมีใชของประชาชนกอน ดวยวิธีการที่ประหยัด ระมัดระวัง แตถูกตองตามหลักวิชา เมื่อพื้นฐานเกิดขึ้นมั่นคงพอควรแลว จึงคอยสรางเสริมความเจริญขั้นที่สูงขึ้นตามลำดับตอไป... การชวยเหลือสนับสนุนประชาชนในการประกอบอาชีพและตั้งตัว ใหมีความพอกินพอใชกอนอื่นเปนพื้นฐานนั้น เปนสิ่งสำคัญอยางยิ่งยวด เพราะผูที่มีอาชีพและฐานะเพียงพอที่จะพึ่งตนเอง ยอมสามารถสรางความเจริญกาวหนา ระดับที่สูงขึ้นตอไปไดโดยแนนอน...” พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๑๗ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ๙๖๒ ถนนกรุงเกษม เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพฯ ๑๐๑๐๐ โทรศัพท ๐-๒๒๘๐-๔๐๘๕ ตอ ๑๓๐๓-๕ โทรสาร ๐-๒๖๒๘-๒๘๔๖ www.nesdb.go.th