Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือประกันภัย พ.ร.บ. ฉบับประชาชน

คู่มือประกันภัย พ.ร.บ. ฉบับประชาชน

Description: คู่มือประกันภัย พ.ร.บ. ฉบับประชาชน

Search

Read the Text Version

ค่มู อื ประกันภยั พ.ร.บ. ฉบบั ประชาชน

สารบัญ 04 บทบาท ภารกิจ สำ�นกั งาน คปภ. 08 บทบาทหน้าทกี่ องทนุ ทดแทนผ้ปู ระสบภัย 11 สาระสำ�คญั การประกันภัยรถภาคบงั คบั หรอื ประกันภยั พ.ร.บ. 12 ประกันภัย พ.ร.บ. ให้ความคุม้ ครองใครบา้ ง 13 ใครมหี นา้ ที่ตอ้ งท�ำ ประกันภยั พ.ร.บ. 14 ประเภทของรถท่ีต้องท�ำ ประกันภยั พ.ร.บ. 15 อตั ราเบ้ียประกนั ภยั พ.ร.บ. 18 ความคมุ้ ครองตามประกันภัย พ.ร.บ. 20 กรณีใดบา้ งท่ีสามารถเบกิ คา่ เสียหายเบอ้ื งตน้ จากกองทนุ ทดแทนผ้ปู ระสบภยั ได้ 21 การขอรับค่าเสียหายเบอ้ื งต้น 22 หลกั ฐานท่ีใช้ยื่นขอรบั เงนิ ค่าเสียหายเบอื้ งตน้ 24 ช่องทางการยนื่ ขอรับคา่ เสียหายเบอ้ื งตน้ 25 ใครบา้ งทเ่ี ปน็ ผปู้ ระสบภัยจากรถ 2 คู่ม�่ ืือ ประกัันภััย พ.ร.บ. ฉบับั ประชาชน

สารบญั 26 ช่องทางการซื้อประกันภยั พ.ร.บ. 27 ตอ่ อายปุ ระกนั ภยั พ.ร.บ. ใช้อะไรบ้าง 29 ความแตกตา่ งระหว่างประกันภยั รถภาคบงั คบั และประกันภัยรถภาคสมัครใจ 30 โทษของการฝ่าฝืนไมท่ �ำ ประกันภยั พ.ร.บ. 31 ถาม-ตอบ ประกนั ภยั พ.ร.บ. 35 การตดิ ต่อ ส�ำ นักงาน คปภ. 47 หน่วยงานทีเ่ กี่ยวขอ้ งด้านการประกันภยั 50 ศนู ยบ์ ริการขอ้ มูลประชาชน ด้านการประกันภยั 51 แบบฟอร์มค�ำ ร้องขอรบั คา่ เสยี หายเบ้อื งตน้ และขอผอ่ นช�ำ ระคา่ เสียหายเบ้อื งต้น คู่ม่� ือื ประกัันภััย พ.ร.บ. ฉบับั ประชาชน 3

บทบาท ภารกิจิ สำำ�นักั งาน คปภ. พระราชบััญญััติิคณะกรรมการกำ�ำ กัับและ ส่่งเสริิมการประกอบธุุรกิิจประกัันภััย พ.ศ.2550 มีีผลบัังคัับใช้้เมื่�อวัันที่่� 1 กัันยายน 2550 ส่่งผล ให้้ “กรมการประกันั ภัยั ”ปรับั เปลี่�ยนสถานะองค์ก์ ร จาก ส่่วนราชการเป็็น “สำ�ำ นัักงานคณะกรรมการกำำ�กัับ และส่่งเสริิมการประกอบธุุรกิิจประกัันภััย” หน่่วยงาน ของรััฐ มีีฐานะเป็็นนิติ ิิบุุคคล มีีภารกิจิ ในการกำ�ำ กัับ ดูแู ล ตรวจสอบ ส่่งเสริิมและพััฒนาธุุรกิิจประกัันภััย รวมถึึง คุ้�มครองสิทิ ธิปิ ระโยชน์ข์ องประชาชนด้า้ นการประกันั ภัยั \"วิิสัยั ทัศั น์\"์ “สำ�ำ นักั งาน คปภ. เป็็นองค์ก์ รชั้�นนำ�ำ ที่�สร้า้ งเสริมิ ระบบประกันั ภััยให้เ้ ข้า้ ถึึงโดยง่่าย เป็็นธรรมและยั่ �งยืืน” 4 คู่�ม่ ือื ประกันั ภัยั พ.ร.บ. ฉบัับประชาชน

\"พัันธกิิจ\" ระยะ 3 ปีี (พ.ศ. 2564 - 2566) 01 กำ�ำ กัับดูแู ลธุรุ กิจิ ประกัันภัยั ให้ม้ ีเี สถียี รภาพ และ ขีดี ความสามารถในการแข่ง่ ขััน และมีธี รรมาภิบิ าล ส่่งเสริิมและพััฒนาระบบประกัันภััยให้้เติิบโต 02 อย่่างยั่�งยืืน สอดรัับกัับการเปลี่�ยนแปลง และ แนวโน้้มในอนาคต สร้้างความรู้�ความเข้้าใจ และปลููกฝัังค่่านิิยม การใช้้ระบบประกัันภััยในการบริิหารความเสี่ �ยง 03 ร ว ม ถึึ ง คุ้ � ม ค ร อ ง สิิ ท ธิิ ป ร ะ โ ย ช น์์ ข อ ง ป ร ะ ช า ช น ให้้ได้ร้ ับั ความเป็็นธรรมจากการประกัันภััย คู่ม่� ือื ประกันั ภััย พ.ร.บ. ฉบัับประชาชน 5

แผนยุทุ ธศาสตร์ส์ ำ�ำ นัักงาน คปภ. ระยะ 3 ปีี (พ.ศ. 2564 - 2566) ปรับั เปลี่�ย่ น เชื่่อ� มั่่�น ก้้าวล้ำำ�� พัฒั นา 1 ปรัับเปลี่�ยนและเพิ่่ม� มิิติิการกำ�ำ กัับดููแลธุุรกิิจประกัันภัยั ให้้เท่่าทัันการเปลี่�ยนแปลง พร้้อมรัับมืือความเสี่�ยงใหม่่ และสอดคล้อ้ งกติิกาสากล 2 สร้า้ งความเชื่�อมั่�นและปลูกู ฝังั ค่า่ นิยิ มด้า้ นการประกันั ภัยั ด้ว้ ยนวัตั กรรมที่่�ทัันสมัยั และกลไกที่�เป็น็ ธรรม 3 สนับั สนุนุ ให้ธ้ ุรุ กิจิ ประกันั ภัยั ปรับั ตัวั ให้ท้ ันั กับั ความก้า้ วล้ำ�ำ � ของเทคโนโลยีีและนวััตกรรมภายใต้้ระบบนิิเวศที่ �เหมาะสม และการเข้้าถึึงข้้อมูลู ที่่�สำ�ำ คััญและจำ�ำ เป็น็ 4 ส่่งเสริมิ การพััฒนาผลิิตภัณั ฑ์์ประกัันภััย และความสามารถในการรัับความเสี่�ยงภัยั ที่�สอดคล้อ้ ง กัับภูมู ิิทััศน์์ความเสี่�ยง (Risk Landscape) ของเศรษฐกิิจ และสัังคมที่ �เปลี่ �ยนแปลงไป 5 การพัฒั นาองค์์กร มุ่่�งสู่�การเป็น็ องค์ก์ รชั้�นนำ�ำ บุุคลากร ที่่�มีีศัักยภาพสูงู กระบวนการทำำ�งานที่่�มีคี วามคล่อ่ งตััว และขัับเคลื่�อนด้้วยฐานข้อ้ มููลและเทคโนโลยีที ี่่�ทัันสมััย 6 คู่่ม� ือื ประกันั ภััย พ.ร.บ. ฉบัับประชาชน

Timeline 2พ5.5ศ0. เปลี่�ยนสถานะเป็็นองค์์กรอิสิ ระภายใต้ช้ื่�อ \"สำ�ำ นักั งานคณะกรรมการกำ�ำ กัับและส่่งเสริมิ เปลี่�ยนชื่�อกรมจากสำ�ำ นักั งานประกันั ภัยั การประกอบธุุรกิิจประกัันภััย\" (คปภ.) เป็็น\"กรมการประกันั ภััย กระทรวงพาณิิชย์\"์ 2พ5.3ศ3. 2พ5.2ศ2. ยกฐานะสำำ�นักั งานประกัันภััยเทีียบเท่่าเป็็น กรมหนึ่ �งในกระทรวงพาณิิชย์์ เปลี่�ยนชื่�อเป็็น \"สำำ�นัักงานประกันั ภัยั \" สำำ�นัักงานปลัดั กระทรวงพาณิิชย์์ 2พ5.1ศ5. 2พ5.1ศ1. เปลี่�ยน \"กองการประกัันภััย\" มาสัังกััด ยกฐานะขึ้�น้ เป็็น \"กองประกันั ภััย\" สำ�ำ นักั งานปลััดกระทรวงเศรษฐการ กรมทะเบีียนการค้้า กระทรวงเศรษฐการ 2พ4.9ศ5. 2พ4.8ศ4. เปลี่�ยนชื่�อเป็็น \"แผนกควบคุุมประกันั ภัยั \" กองหุ้�นส่่วนบริิษัทั กรมทะเบีียนการค้้า กระทรวงเศรษฐการ จัดั ตั้�ง \"กองควบคุมุ บริิษััทประกันั ภัยั \" 2พ4.7ศ2. ภายใต้ก้ รมทะเบีียนการค้้า กระทรวงพาณิชิ ย์แ์ ละคมนาคม 2พ4.7ศ1. จััดตั้�ง \"พระราชบััญญััติิควบคุุมการค้้าขาย อัันกระทบถึึงความปลอดภัยั หรืือความผาสุกุ แห่่งสาธาณชน\" จััดตั้�งกฎหมายเกี่�ยวกับั ประกันั ภัยั 2พ4.5ศ4. ครั้�งแรกคือื \"พระราชบัญั ญัตั ิิลัักษณะ เข้้าหุ้�นส่ว่ นและบริิษัทั ร.ศ. 130\" คู่ม�่ ือื ประกันั ภััย พ.ร.บ. ฉบับั ประชาชน 7

บทบาทหนา้ ที่กองทุนทดแทนผ้ปู ระสบภัย ก อ ง ทุุ น ท ด แ ท น ผู้ � ป ร ะ ส บ ภัั ย ถูู ก จัั ด ตั้ � ง ขึ้�้ น ตามพระราชบััญญััติิคุ้�มครองผู้�ประสบภััย พ.ศ. 2535 โ ด ย มีี บ ท บ า ท แ ล ะ ห น้้ า ที่ � ใ น ก า ร ใ ห้้ ค ว า ม ช่่ ว ย เ ห ลืื อ ผู้�ประสบภััยจากรถ โดยจ่่ายเป็็นค่่าเสีียหายเบื้�องต้้น ใ น ก ร ณีี ที่�ผู้� ป ร ะ ส บ ภัั ย ไ ม่่ ไ ด้้ รัั บ ก า ร ช ด ใ ช้้ จ า ก บ ริิ ษัั ท ป ร ะ กัั น ภัั ย ห รืื อ ป ร ะ ส บ อุุ บัั ติิ เ ห ตุุ จ า ก ร ถ คัันที่�ไม่่มีีประกัันภััย พ.ร.บ. และไม่่สามารถเรีียกร้้อง จากที่�ใดได้้ เช่่น เจ้้าของรถที่�ไม่่มีีประกัันภััย พ.ร.บ. ไ ม่่ จ่่ า ย ค่่ า เ สีี ย ห า ย ห รืื อ ร ถ ช น แ ล้้ ว ห นีี แ ล ะ เ มื่� อ กองทุุนทดแทนผู้�ประสบภััย ได้้ดำำ�เนิินการ จ่่ า ย ค่่ า เ สีี ย ห า ย เ บื้� อ ง ต้้ น ใ ห้้ แ ก่่ ผู้� ป ร ะ ส บ ภัั ย แ ล้้ ว กองทุุนฯ จะดำำ�เนิินการไล่่เบี้�ยเรีียกคืืนค่่าเสีียหายเบื้�องต้้น คืืนจากเจ้้าของรถ หรืือผู้�กระทำำ�ความผิิดในลำำ�ดัับต่่อไป 8 คู่่ม� ืือ ประกันั ภัยั พ.ร.บ. ฉบับั ประชาชน

\"วิสิ ัยั ทัศั น์์\" ขัับเคลื่อ�่ นกองทุนุ ทดแทนผู้ป�้ ระสบภัยั สู่่ก� ารเป็็น S.M.A.R.T. Fund \"พันั ธกิจิ \" 1. ยกระดับั การให้บ้ ริกิ าร สู่่�รูปู แบบดิจิ ิทิ ัลั อย่า่ งครบวงจร 2. เสริิมทัักษะและสมรรถนะดิิจิิทััล พััฒนาทััศนคติิ และความสามารถในการปรัับตััว สร้้างกลไกที่่�ช่่วยเพิ่�่ม ประสิทิ ธิภิ าพและประสิทิ ธิผิ ล พร้อ้ มทั้�งบริหิ ารจัดั การให้ม้ ีอี ัตั รา กำำ�ลัังเพีียงพอ 3. ส่่งเสริิมให้้ประชาชนรู้้�จััก กองทุุนฯ เข้้าใจตระหนัักถึึง ความสำ�ำ คััญและการเพิ่�ม่ ขึ้�้นของประกันั ภัยั พ.ร.บ. 4. สร้้างความร่่วมมืือกัับหน่่วยงานพัันธกิิจ บููรณาการ การทำำ�งานร่่วมกััน ยกระดัับการคุ้�มครองผู้�ประสบภััย และสร้า้ งความตระหนัักรู้�แก่่ประชาชน คู่ม�่ ืือ ประกันั ภััย พ.ร.บ. ฉบับั ประชาชน 9

กองทุุนทดแทนผู้้�ประสบภัยั ผู้\"ป�้ คุร้้�มะสคบรภอััยงจห่าว่ กงรใยถ\" 10 คู่�ม่ ือื ประกันั ภััย พ.ร.บ. ฉบัับประชาชน

สาระสำำ�คััญ การประกัันภัยั รถภาคบัังคัับ หรืือประกัันภััย พ.ร.บ. การประกันั ภัยั รถภาคบังั คับั หรือื ประกันั ภัยั พ .ร.บ. ต า ม พ ร ะ ร า ช บัั ญ ญัั ติิ คุ้ � ม ค ร อ ง ผู้ � ป ร ะ ส บ ภัั ย จากรถ พ.ศ. 2535 ซึ่�งกฎหมายกำำ�หนดให้้ รถทุุกคัันต้้องทำ�ำ ประกัันภััย พ.ร.บ. เพื่�่อคุ้�มครอง และให้ค้ วามช่ว่ ยเหลือื ประชาชนผู้�ประสบภัยั จากรถ ที่�ได้้รัับบาดเจ็็บ หรืือเสีียชีีวิิตจากอุุบััติิเหตุุที่�เกิิด จากรถ ไม่่ว่่าผู้�นั้�นจะเป็็น ผู้้�ขัับขี่� ผู้�โดยสาร หรืือ คนเดิินถนน หากประสบอุุบััติิเหตุุจากการ ใ ช้้ ร ถ ใ ช้้ ถ น น ก็็ จ ะ ไ ด้้ รัั บ ค ว า ม คุ้ � ม ค ร อ ง ต า ม กรมธรรม์ป์ ระกันั ภัยั พ.ร.บ. สรุปุ สาระสำำ�คัญั 1 เพื่่อ� คุ้�มครองและให้้ความช่่วยเหลืือแก่ป่ ระชาชนผู้้�ประสบภัยั จากรถ ซึ่ง�่ ได้้รับั อัันตรายความเสียี หายแก่ช่ ีีวิติ ร่่างกาย ให้้ได้้รับั การชดใช้้ค่า่ เสียี หายเบื้้�องต้้นอย่า่ งทันั ท่่วงทีี 2 เพื่�อ่ ให้้พระราชบัญั ญััตินิ ี้้�เป็น็ หลัักประกันั ว่่า ผู้ป้� ระสบภััย จากรถ จะได้้รับั การชดใช้ค้ ่า่ เสีียหายและค่า่ เสีียหายเบื้้�องต้น้ อย่่างแน่น่ อนและทัันท่ว่ งทีี 3 เพื่�อ่ เป็น็ การส่ง่ เสริมิ และสนับั สนุนุ ธุุรกิจิ ประกัันภััย ให้ม้ ีีส่่วนร่ว่ มในการแบ่ง่ เบาค่า่ เสียี หายของผู้้ป� ระกันั ภััย อัันเนื่�องมาจากอุุบัตั ิเิ หตุุจากรถ คู่�่มืือ ประกัันภัยั พ.ร.บ. ฉบับั ประชาชน 11

ประกัันภัยั พ.ร.บ. ให้ค้ วามคุ้้�มครองใครบ้า้ ง พ ร ะ ร า ช บัั ญ ญัั ติิ คุ้ � ม ค ร อ ง ผู้ � ป ร ะ ส บ ภัั ย จ า ก ร ถ พ.ศ. 2535 ถููกตราขึ้้�นเพื่่�อให้้ทุุกคนที่�ได้้รัับบาดเจ็็บ หรืือ เสีียชีีวิิตอัันเนื่�องมาจากรถ ได้้รัับการชดใช้้ค่่าเสีียหาย และได้้รัับการรัักษาพยาบาลโดยเร่่งด่่วน ไม่่ว่่า ผู้�ประสบภััยนั้�นจะเป็็นใคร อยู่�ในรถหรืือนอกรถ เป็็นผู้้�ขัับขี่� ผู้�โดยสาร โดยทางบริิษััทประกัันภััย จะชดใช้้ค่่าเสีียหาย ในเบื้�องต้้น เป็็นค่่ารัักษาพยาบาล หรืือค่่าปลงศพให้้ทัันทีี โดยไม่ต่ ้้องรอพิิสููจน์์ความผิดิ “ซ่่อมคน ไม่่ซ่่อมรถ” 12 คู่่�มืือ ประกันั ภัยั พ.ร.บ. ฉบับั ประชาชน

ใครมีีหน้า้ ที่ท่� ำำ�ประกันั ภััย พ.ร.บ. เจ้า้ ของรถ หรืือผู้้�มีสี ิทิ ธิคิ รอบครองรถตามสัญั ญา เช่่าซื้�อ หรืือผู้้�นำำ�รถที่�จดทะเบีียนในต่า่ งประเทศเข้า้ มาใช้้ ในประเทศไทยเป็็นการชั่ �วคราว เจ้า้ ของรถ ผู้้�มีีสิิทธิคิ รอบครองรถ ตามสัญั ญาเช่่าซื้�อ ผู้้�นำำ�รถที่�จดทะเบียี นในต่า่ งประเทศ เข้า้ มาใช้้ในประเทศไทย เป็น็ การชั่�วคราว คู่�่มือื ประกัันภััย พ.ร.บ. ฉบัับประชาชน 13

ประเภทของรถที่ต�่ ้้องทำำ�ประกัันภัยั พ.ร.บ. รถทุกุ ประเภท ไม่ว่ ่่าจะเป็น็ รถเก่่าและรถใหม่่ เช่น่ รถยนต์์ รถโดยสาร รถจัักรยานยนต์์ รถสามล้้อเครื่�อง รถบรรทุกุ รถหััวลากจููง รถพ่ว่ ง รถบดถนน รถอีีแต๋๋น เป็น็ ต้น้ รถที่่�ได้ร้ ับั การยกเว้น้ ไม่่ต้อ้ งทำ�ำ ประกัันภััย พ.ร.บ. รถสำำ�หรับั องค์พ์ ระมหากษััตริิย์์ พระราชินิ ีี พระรัชั ทายาท และผู้้�สำำ�เร็็จราชการแทนพระองค์์ รถของสำ�ำ นักั พระราชวังั รถของกระทรวง ทบวง กรม และส่ว่ นราชการต่า่ ง ๆ รถยนต์์ ทหาร รถที่�ได้้รับั การยกเว้น้ ที่่�กำำ�หนดไว้ต้ ามกฎกระทรวง 14 คู่ม�่ ืือ ประกัันภัยั พ.ร.บ. ฉบับั ประชาชน

อััตราเบี้้�ยประกันั ภัยั พ.ร.บ. ประเภทรถ ลักษณะการใช้รถ และ ส่่วนบุุคคล รับจา้ ง/ใหเ้ ช่า/สาธารณะ ขนาดเครื่�อ่ งยนต์์ (บาท/ปี)ี (บาท/ป)ี รถจักรยานยนต์ 150 150 ไม่่เกิิน 75 ซีีซีี. 300 350 เกิิน 75 ซีีซีี. ไม่่เกิิน 125 ซีีซีี. 400 400 เกิิน 125 ซีีซีี. ไม่่เกิิน 150 ซีีซีี. 600 600 เกิิน 150 ซีีซีี. ขึ้้�นไป สามล้อเคร่ือง 720 1,440 ในเขตกรุุงเทพมหานคร 400 400 นอกเขตกรุุงเทพมหานคร รถสกายแลป 400 รถยนต์์นั่�งไม่่เกิิน 7 คน 600 1,900 รถโดยสารเกิน 7 คน ไม่่เกิิน 15 ที่�นั่�ง 1,100 2,320 เกิิน 15 ที่�นั่�ง ไม่่เกิิน 20 ที่�นั่�ง 2,050 3,480 เกิิน 20 ที่�นั่�ง ไม่่เกิิน 40 ที่�นั่�ง 3,200 6,660 เกิิน 40 ที่�นั่�ง ขึ้้�นไป 3,740 7,520 รถยนต์บรรทุก ไม่่เกิิน 3 ตััน 900 1,760 เกิิน 3 ตััน ไม่่เกิิน 6 ตััน 1,220 1,830 เกิิน 6 ตััน ไม่่เกิิน 12 ตััน 1,310 1,980 เกิิน 12 ตััน ขึ้้�นไป 1,700 2,530 รถยนต์์ที่ �ใช้้ในการเกษตร(รถอีีแต๋๋น) รถยนต์์ประเภทอื่�น ๆ 90 770 หมายเหตุุ ราคายัังไม่ร่ วมภาษีีอากรและภาษีีมูลู ค่่าเพิ่�่ม 7% คู่่�มืือ ประกัันภัยั พ.ร.บ. ฉบัับประชาชน 15

อััตราเบี้้�ยประกัันภัยั พ.ร.บ. สำำ�หรัับรถไฟฟ้า้ EV (Electric Vehicle) ประเภทรถ ลักั ษณะการใช้ร้ ถ และ ส่ว่ นบุคุ คล รับั จ้้าง/ให้เ้ ช่่า/สาธารณะ ขนาดเครื่�่องยนต์์ (บาท/ปี)ี (บาท/ปี)ี 350 รถจัักรยานยนต์์ 300 1,440 รถสามล้้อ 500 1,900 รถยนต์์นั่�งไม่่เกิิน 7 คน 600 หมายเหตุุ ราคายังั ไม่ร่ วมภาษีอี ากรและภาษีมี ูลู ค่า่ เพิ่�ม่ 7% 16 คู่ม�่ ือื ประกันั ภััย พ.ร.บ. ฉบับั ประชาชน

อััตราเบี้้ย� ประกัันภััย พ.ร.บ. ระยะเวลาความคุ้้�มครอง ตั้้�งแต่่ 3 ปีี - 5 ปีี สำำ�หรัับรถจักั รยานยนต์์ ประเภทรถ ลัักษณะการใช้้รถ และ ขนาด ส่ว่ นบุคุ คล รับั จ้้าง/ให้เ้ ช่า่ /สาธารณะ (เบี้ �ยรวม) (เบี้ �ยรวม) เครื่�่องยนต์์ 3 ปีี 4 ปีี 5 ปีี 3 ปีี 4 ปีี 5 ปีี ไม่่เกิิน 75 ซีีซีี. 400 525 650 400 525 650 เกิิน 75 ซีีซีี. ไม่่เกิิน 125 ซีีซีี. 850 1,125 1,400 1,000 1,325 1,650 เกิิน 25 ซีีซีี. 1,150 1,525 1,900 1,150 1,525 1,900 ไม่่เกิิน 150 ซีีซีี. 1,750 2,325 2,900 1,750 2,325 2,900 เกิิน 150 ซีีซีี. ขึ้�้นไป หมายเหตุุ ราคายังั ไม่่รวมภาษีอี ากรและภาษีมี ููลค่า่ เพิ่�่ม 7% การรัับประกัันภัยั ในช่ว่ งระยะเวลาที่�เกิิน 3 ปีี แต่่ไม่่ถึึง 4 ปีี หรือื เกินิ 4 ปีี แต่่ไม่ถ่ ึงึ 5 ปีี ให้้ใช้อ้ ัตั ราเบี้�ยประกันั ภัยั แบบเฉลี่�ยรายวันั คู่่ม� ืือ ประกันั ภัยั พ.ร.บ. ฉบัับประชาชน 17

ความคมุ้ ครองตามประกันภัย พ.ร.บ. ค่า่ เสียี หายเบื้�องต้น้ สำ�ำ หรับั ผู้�ประสบภัยั จากรถทุกุ คน จะได้ร้ ับั ภายใน 7 วันั นัับแต่ว่ ันั ที่�ยื่�นเอกสารครบถ้ว้ น โดยไม่ต่ ้้องรอพิิสููจน์์ถููก-ผิิด ในกรณีีต่อ่ ไปนี้� 1.1 กรณีบี าดเจ็็บ จะได้้รัับค่่ารัักษาพยาบาล และ ค่่าใช้จ้ ่่ายอัันจำ�ำ เป็็นเกี่�ยวกับั การรักั ษาพยาบาล จ่่ายตามจริงิ รายละไม่เ่ กินิ 30,000 บาท 1.2 กรณีีสูญู เสีียอวัยั วะ ทุุพพลภาพ อย่่างถาวร หรือื เสีียชีีวิิต จะได้้รับั ค่่าชดเชย หรือื ค่า่ ปลงศพ รายละจำำ�นวน 35,000 บาท 1.3 หากได้้รัับบาดเจ็็บ ต่่อมาสููญเสีียอวััยวะ ทุุพพลภาพอย่่างถาวร หรืือเสีียชีีวิิต จะได้้รัับสููงสุุด รายละไม่่เกิิน 65,000 บาท ผู้�ประสบภัยั ต้้องร้้องขอรับั ภายใน 180 วััน นับั แต่ว่ ันั ที่่�มีีความเสียี หายเกิิดขึ้น�้ 18 คู่่�มืือ ประกันั ภััย พ.ร.บ. ฉบับั ประชาชน

ความคุ้มครองตามประกนั ภัย พ.ร.บ. ค่า่ สินิ ไหมทดแทน สำ�ำ หรัับผู้�ประสบภัยั ที่�ไม่่ได้้ เป็น็ ฝ่่ายต้อ้ งรัับผิิด จะได้้รับั ในกรณีตี ่่อไปนี้� 2.1 กรณีีได้ร้ ับั บาดเจ็บ็ จะได้ร้ ับั ค่า่ รักั ษาพยาบาล รายละ 80,000 บาท 2.2 กรณีสี ูญู เสียี อวัยั วะ จะได้ร้ ับั ค่า่ สินิ ไหมทดแทน รายละ 200,000 บาท - 500,000 บาท แล้้วแต่ก่ รณีี (ตามเงื่�อนไขกรมธรรม์)์ 2.3 กรณีีทุุพพลภาพอย่า่ งถาวร จะได้ร้ ัับ ค่า่ สินิ ไหมทดแทน รายละ 300,000 บาท 2.4 กรณีเสียชีวิตหรือทุพพลภาพถาวรสิ้นเชิง จะได้รบั ค่าสนิ ไหมทดแทน รายละ 500,000 บาท 2.5 กรณีีพัักรัักษาตััวในสถานพยาบาล จะได้้รับั ค่า่ ชดเชยรายวััน วันั ละ 200 บาท (ตามจริิง ไม่เ่ กิิน 20 วันั ) โดยจำำ�นวนเงินิ ตาม 2.1-2.4 รวมค่า่ เสียี หายเบื้�องต้้นแล้ว้ และเป็น็ ไปตามเงื่�อนไขที่�ระบุใุ นกรมธรรม์์ คู่ม่� ืือ ประกัันภัยั พ.ร.บ. ฉบับั ประชาชน 19

กรณีีใดจบา้้ากงกทอี่�่สงทานุมทาดรถแทเบนิิกผคู้ป่่ารเะสสีียบหภายั ยไดเบื้้้อ� งต้้น กรณีเี บิิกค่า่ เสียี หายเบื้�องต้น้ จากใครไม่่ได้้ กองทุุนทดแทนผู้�ประสบภัยั สำำ�นักั งาน คปภ. ช่่วยคุุณได้้ 01 ผู้�ประสบภััยจากรถที่�ไม่่มีปี ระกันั ภััย พ.ร.บ. และเจ้า้ ของรถไม่่ยอมจ่่าย 02 ผู้�ประสบภััยจากรถที่่�ถููกยักั ยอก ฉ้้อโกง กรรโชก ลักั ทรัพั ย์์ รีีดเอาทรัพั ย์์ ชิิงทรัพั ย์์ หรือื ปล้้นทรัพั ย์์ และได้แ้ จ้้งความไว้้แล้ว้ 03 ผู้�ประสบภัยั จากรถที่�ไม่่มีีผู้�แสดงตนเป็น็ เจ้า้ ของรถ และรถไม่่มีีประกันั ภััย พ.ร.บ. 04 ผู้�ประสบภัยั จากรถชนแล้ว้ หนีีหรือื ไม่่ทราบว่่า ความเสียี หายเกิิดจากรถคัันใด 05 บริษิ ััทประกันั ภััยไม่จ่ ่า่ ย หรืือจ่า่ ยไม่่ครบจำำ�นวน 06 ผู้�ประสบภััยจากรถที่�ได้้รัับการยกเว้้น และไม่่ได้้จััดทำ�ำ ประกันั ภััย พ.ร.บ. 20 คู่่ม� ือื ประกัันภัยั พ.ร.บ. ฉบับั ประชาชน

การขอรับคา่ เสยี หายเบอื้ งตน้ สามารถกระทำำ�ได้้ 2 ลัักษณะคือื ผู้�ประสบภัยั หรือื ทายาทเป็น็ ผู้�ขอรัับ ผู้�ประสบภัยั มอบอำ�ำ นาจ ให้้สถานพยาบาลเป็็นผู้ �ขอรับั คู่�ม่ ืือ ประกัันภััย พ.ร.บ. ฉบัับประชาชน 21

หลัักฐานที่่�ใช้้ยื่�น่ ขอรับั เงิินค่า่ เสีียหายเบื้้�องต้น้ กรณีีบาดเจ็บ็ คำ�ำ ร้้องขอรับั ค่า่ เสียี หายเบื้�องต้น้ สำ�ำ เนาบััตรประจำำ�ตัวั ประชาชนของผู้�ประสบภัยั ใบเสร็็จค่า่ รักั ษาพยาบาล (ต้้นฉบัับ) บันั ทึึกประจำ�ำ วัันเกี่�ยวกัับคดีี รัับรองโดยพนัักงานสอบสวน 22 คู่ม่� ืือ ประกัันภััย พ.ร.บ. ฉบัับประชาชน

หลักั ฐานที่�่ใช้้ยื่่น� ขอรัับเงินิ ค่่าเสีียหายเบื้้�องต้้น กรณีเี สียี ชีีวิิต คำ�ำ ร้้องขอรัับค่า่ เสียี หายเบื้�องต้น้ สำ�ำ เนาบััตรประจำำ�ตััวประชาชน/ทะเบีียนบ้้าน ของผู้�ประสบภัยั /ทายาท บัันทึกึ ประจำำ�วันั เกี่�ยวกัับคดีี รับั รองโดยพนักั งานสอบสวน สำำ�เนามรณบััตร หรือื หลักั ฐานที่�แสดงว่า่ ผู้ �นั้ �นถึึงแก่่ความตายจากการประสบภััยจากรถ คู่่ม� ืือ ประกัันภััย พ.ร.บ. ฉบับั ประชาชน 23

ช่องทางการยื่นขอรับค่าเสยี หายเบื้องต้น สำ�ำ นัักงาน คปภ. ถนนรััชดาภิิเษก กรุงุ เทพมหานคร สำ�ำ นักั งาน คปภ. เขต และสำำ�นัักงาน คปภ. จังั หวััดทั่่ว� ประเทศ LINE: @OICconnect 24 คู่ม�่ ือื ประกันั ภััย พ.ร.บ. ฉบัับประชาชน

ใครบ้างที่เป็นผู้ประสบภยั จากรถ ประชาชนทกุ คนที่ไดร้ บั บาดเจ็บ และ/หรือ เสยี ชีวิต ทพุ พลภาพถาวร หรือสูญเสียอวัยวะจากอุบัติเหตุจากรถ ถือวา่ เปน็ ผูป้ ระสบภยั จากรถทั้งนั้น คู่่�มืือ ประกัันภัยั พ.ร.บ. ฉบับั ประชาชน 25

ชอ่ งทางการซอื้ ประกนั ภยั พ.ร.บ. บริิษััทประกันั ภััย ตััวแทน/นายหน้้าประกัันภััย เคาน์เ์ ตอร์์เซอร์ว์ ิสิ หรืือธนาคาร ซื้�อผ่่านสำ�ำ นักั งานขนส่ง่ ทุกุ แห่ง่ ซื้�อผ่า่ นเว็บ็ ไซต์์บริิษัทั ประกันั ภััย หรืือผู้�แทนจำ�ำ หน่า่ ย 26 คู่�ม่ ือื ประกันั ภััย พ.ร.บ. ฉบับั ประชาชน

ต่่ออายุุประกัันภััย พ.ร.บ. ใช้้อะไรบ้้าง สมุดุ คู่่�มือื จดทะเบีียนรถ บัตั รประจำำ�ตััวประชาชน จำำ�นวนเงินิ ค่่าเบี้�ยประกัันภััย พ.ร.บ. คู่่�มือื ประกันั ภััย พ.ร.บ. ฉบัับประชาชน 27

ประกัันภัยั รถภาคบังั คัับ หรืือประกันั ภััย พ.ร.บ. “ซ่่อมคน ไม่ซ่ ่อ่ มรถ” 28 คู่่�มือื ประกัันภัยั พ.ร.บ. ฉบับั ประชาชน

ความแตกตา่ งระหวา่ ง ประกันภัยรถภาคบังคับ และ ประกนั ภัยรถภาคสมัครใจ ประกันั ภัยั รถภาคบังั คัับ ประกันั ภััยรถภาคสมััครใจ ประกันั ภัยั รถภาคบังั คับั หรือื ประกนั ภัยรถภาคสมคั รใจ ที่�เรียี กว่่า ประกันั ภััย พ.ร.บ. คอื หนง่ึ ในรูปแบบ ซึ่�งกฎหมายกำ�ำ หนด ของการประกันภัยรถ ให้ร้ ถทุกุ คันั ต้อ้ งทำ�ำ ประกันั ภัยั ที่�สามารถเลือื กความคุ้�มครอง พ.ร.บ. ถ้า้ ไม่่ทำ�ำ ถืือว่า่ ได้้ด้้วยตนเอง ผิิดกฎหมาย ตามความเหมาะสม “ซ่อ่ มคน ไม่ซ่ ่่อมรถ” “ซ่อมทง้ั คน ซอ่ มทัง้ รถ” คู่ม�่ ืือ ประกันั ภัยั พ.ร.บ. ฉบับั ประชาชน 29

โทษของการฝา่ ฝืนไม่ท�ำ ประกันภัย พ.ร.บ. “ไม่่ทำ�ำ ประกัันภัยั พ.ร.บ. มีีโทษนะ” เจ้้าของรถมีโี ทษปรับั ไม่่เกินิ 10,000 บาท ผู้�ใช้้รถ มีโี ทษปรับั ไม่เ่ กิิน 10,000 บาท ถ้้าเป็็นเจ้า้ ของรถที่�ไม่จ่ ััดทำำ�ประกัันภััย พ.ร.บ. และยังั นำำ�รถคัันดัังกล่า่ วไปใช้จ้ ะมีโี ทษปรัับ ท้งั สองกระทง รวมไมเ่ กิน 20,000 บาท 30 คู่ม�่ ือื ประกัันภัยั พ.ร.บ. ฉบัับประชาชน

ถาม-ตอบ ประกัันภััย พ.ร.บ. Q&A คู่�ม่ ือื ประกันั ภััย พ.ร.บ. ฉบัับประชาชน 31

Q หากผู้�ประสบภัยั ได้้รับั การชดใช้ห้ รือื ได้ร้ ับั เยีียวยา จากเจ้้าของรถแล้้วสามารถเรีียก Aร้อ้ งเอาจากกองทุนุ ฯ ได้อ้ ีกี หรือื ไม่?่ ค่า่ เสียี หายเบื้้อ� งต้น้ เป็น็ ส่่วนหนึ่่�ง ของเงินิ ค่า่ สินิ ไหมทดแทน ดังั นั้้น� หากได้ร้ ับั การชดใช้้ จากเจ้้าของรถ/ผู้้�ที่่�ต้้องรัับผิิด ผู้�้ประสบภััยจะไม่่ สามารถขอรัับจากกองทุุนฯ ได้้อีกี เว้น้ แต่่ ได้้รับั การ ชดใช้้ค่่าเสีียหายเบื้้�องต้น้ ไม่่ครบตามจำ�ำ นวน ที่่�กำ�ำ หนดไว้้ Q หากรถทีป่ ระกันภัย พ.ร.บ. ขาดเป็นเวลานาน เช่น มากกว่า 1-3 ปี หรอื เกนิ กว่านน้ั จะท�ำอย่างไร? A รถที่� ประกันั ภััย พ.ร.บ. ขาด ไม่่ว่า่ จะเป็น็ เวลาเท่่าใด เช่น่ ขาดต่อ่ 1 วััน ขาดต่อ่ มากกว่่า 1ปีี หรืือเกินิ กว่่านั้้น� สามารถติดิ ต่อ่ บริิษัทั ที่่�รับั ประกัันภััย พ.ร.บ. เพื่อ่� ขอทำ�ำ ประกัันภัยั พ.ร.บ. โดยไม่่มีคี ่า่ ปรัับ ในระหว่า่ งเวลาที่� ประกันั ภััย พ.ร.บ. ขาดการ ต่่ออายุุแต่่อย่่างใด แต่่หากระหว่่างที่� ประกัันภััย พ.ร.บ. ขาดมีกี ารนำำ�รถออกไปใช้้เจ้้าของรถ ต้้องระวางโทษปรัับ ไม่เ่ กิิน 10,000 บาท 32 คู่ม่� ือื ประกัันภัยั พ.ร.บ. ฉบัับประชาชน

Q การไล่่เบี้�ยเรีียกคืืน พร้้อม เงินิ เพิ่�่มร้อ้ ยละ 20 คือื อะไร? A ในกรณีีที่�ผู้�้ประสบภัยั ไม่ไ่ ด้้รับั การชดใช้้ จากบริษิ ััทประกัันภััย หรืือรถคัันที่�เกิิดเหตุุไม่ม่ ีี ประกัันภััย พ.ร.บ. หรืือไม่ส่ ามารถเรียี กร้อ้ ง จากที่�ใดได้้ เช่น่ รถชนแล้้วหนีี เจ้้าของรถที่�ไม่่มีี ประกัันภัยั พ.ร.บ. ไม่่จ่่ายค่า่ เสียี หาย เป็็นต้้น และเมื่�อ กองทุุนทดแทนผู้�ป้ ระสบภัยั ได้้ดำำ�เนิินการจ่่าย ค่า่ เสียี หายเบื้้�องต้้นให้แ้ ก่ผ่ ู้ป�้ ระสบภัยั แล้้ว กองทุนุ ฯ จะดำำ�เนิินการไล่่เบี้้�ยเรีียกคืืนค่่าเสีียหายเบื้้�องต้้น พร้อ้ มเงินิ เพิ่ม�่ ร้อ้ ยละ 20 จากเจ้า้ ของรถหรือื ผู้ก�้ ระทำำ� ความผิดิ ในลำ�ำ ดับั ต่อ่ ไป Q การผ่อ่ นชำำ�ระหนี้� ค่่าเสียี หายเบื้�องต้น้ มีีขั้�นตอน อย่่างไรบ้้าง? A สามารถติดิ ต่อ่ สำำ�นักั งานคปภ.ได้ท้ั่�วประเทศ เพื่่อ� ทำำ�สััญญาผ่่อนชำ�ำ ระค่า่ เสียี หายเบื้้อ� งต้น้ กัับกองทุนุ ฯ การผ่อ่ นชำ�ำ ระหนี้้�ค่่าเสีียหายเบื้้อ� งต้น้ ให้ม้ ีีระยะเวลาการผ่่อนสูงู สุดุ ไม่เ่ กินิ 2 ปีี โดยจำำ�นวนเงินิ ที่่�ผ่อ่ นชำ�ำ ระในแต่่ละงวด ต้้องไม่่ ต่ำ�ำ �กว่า่ 500 บาท คู่�ม่ ืือ ประกัันภัยั พ.ร.บ. ฉบัับประชาชน 33

Q ทุุพพลภาพอย่่างถาวร และทุุพพลภาพถาวรสิ้้�นเชิิง Aต่า่ งกัันอย่า่ งไร? - ทุุพพลภาพอย่่างถาวร หมายถึึง การสูญู เสียี อวัยั วะ และ/หรือื การสูญู เสียี สมรรถภาพ การใช้ง้ านของอวัยั วะแต่ย่ ังั สามารถประกอบอาชีพี ได้้ - ทุพุ พลภาพถาวรสิ้้�นเชิงิ หมายถึึง การสููญเสียี สมรรถภาพการใช้้งานของอวััยวะ และไม่ส่ ามารถประกอบอาชีพี ได้้ 34 คู่�่มืือ ประกัันภััย พ.ร.บ. ฉบัับประชาชน

การติิดต่อ่ สำำ�นักั งาน คปภ. สายด่่วน คปภ. 1186 คู่่ม� ือื ประกัันภัยั พ.ร.บ. ฉบัับประชาชน 35

สว่ นกลาง สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กบั และส่งเสริมการประกอบ ธุรกิจประกนั ภัย (สำ�นกั งาน คปภ.) 22/79 ถนนรัชดาภเิ ษก แขวงจันทรเกษม เขตจตุจกั ร กรงุ เทพฯ 10900 โทรศพั ท์ 0 2515 3995-9 โทรสาร 0 2515 3970 สำส�ำ นำ�ันกั กั งงาานน คคปปภภ..เขเขตต เขตท่าพระ 287 ชอยรชั ดาภิเษก 6 ถนนรัชดาภิเษก-ท่าพระ แขวงบุคคโล เขตธนบุรี กรงุ เทพฯ 10600 โทรศัพท์ 0 2476 9940-3 โทรสาร 0 2476 9938 เขตบางนา 1/16 อาคารบางนาธานี ชน้ั 8 ถนนบางนา-ตราด กม.3 แขวงบางนา เขตบางนา กรงุ เทพฯ 10260 โทรศพั ท์ 0 2361 3769 โทรสาร 0 2361 3770 36 คู่�่มือื ประกันั ภััย พ.ร.บ. ฉบัับประชาชน

ส่ว่ นภููมิิภาค ส�ำ นักงาน คปภ. ภาค 1 (เชียงใหม)่ โครงการเดอะวันเพลส ชัน้ 2 499/1 หมู่ 6 ถนนสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี ตำ�บลสนั ผเี สอ้ื อำ�เภอเมอื งเชยี งใหม่ เชียงใหม่ 50300 โทรศัพท์ 0 5311 2730-2 โทรสาร 0 5311 2730 จงั หวดั เชยี งใหม่ จงั หวัดนา่ น โทร. 0 5311 2730-2 โทร. 0 5471 6437-8 จังหวดั เชียงราย จังหวัดสโุ ขทยั โทร. 0 5371 7719 โทร. 0 5561 3511 จงั หวัดพะเยา จังหวัดอตุ รดติ ถ์ โทร. 0 5444 9603-4 โทร. 0 5541 6748 จงั หวัดล�ำ ปาง จังหวัดตาก โทร. 0 5426 5064-5 โทร. 0 5553 2089-90 จังหวัดแพร่ จังหวดั แมฮ่ ่องสอน โทร. 0 5452 2698 โทร. 0 5361 1232-3 คู่ม�่ ืือ ประกันั ภััย พ.ร.บ. ฉบับั ประชาชน 37

ส�ำ นกั งาน คปภ. ภาค 2 (นครสวรรค)์ 1250/5-6 หมู่ 10 ถนนพหลโยธนิ ต�ำ บลนครสวรรค์ตก อำ�เภอเมอื งนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ 60000 โทรศัพท์ 0 5622 6862-3 จังหวัดนครสวรรค์ จงั หวดั อทุ ยั ธาน ี โทร. 0 5622 6862-3 โทร. 0 5651 0610 จังหวดั อา่ งทอง จงั หวัดชยั นาท โทร. 0 3561 3422 โทร. 0 5601 9722 จงั หวดั พิษณโุ ลก จงั หวัดสิงหบ์ รุ ี โทร. 0 5598 6270-1 โทร. 0 3650 7197 จังหวดั ก�ำ แพงเพชร จงั หวัดเพชรบูรณ์ โทร. 0 5570 5051-2 โทร. 0 5672 0609 จงั หวดั พจิ ิตร โทร. 0 5661 6446 38 คู่ม�่ ืือ ประกันั ภัยั พ.ร.บ. ฉบับั ประชาชน

ส�ำ นกั งาน คปภ. ภาค 3 (ขอนแกน่ ) 555/29 ถนนจอมพล ต�ำ บลในเมอื ง อ�ำ เภอเมอื งขอนแกน่ จงั หวดั ขอนแกน่ 40000 โทรศพั ท์ 0 4324 4280-1 จังหวดั ขอนแก่น จังหวัดหนองคาย โทร. 0 4324 4280-1 โทร. 0 4241 4779 จังหวัดกาฬสนิ ธ์ุ จงั หวัดอดุ รธาน ี โทร. 0 4381 6990 โทร. 0 4224 3891 จังหวดั สกลนคร จังหวดั ชัยภมู ิ โทร. 0 4271 1039 โทร. 0 4482 3148 จงั หวัดเลย โทร. 0 4281 2953 คู่�ม่ ือื ประกันั ภััย พ.ร.บ. ฉบัับประชาชน 39

ส�ำ นกั งาน คปภ. ภาค 4 (นครราชสีมา) 230/13-16 ถนนมติ รภาพ ต�ำ บลในเมอื ง อ�ำ เภอเมอื ง นครราชสมี า จังหวดั นครราชสมี า 30000 โทรศพั ท์ 0 4424 7628 จังหวัดนครราชสมี า จังหวดั นครนายก โทร. 0 4425 7203-4 โทร. 0 3731 3527 จงั หวดั ลพบรุ ี จังหวัดสระบรุ ี โทร. 0 3642 1770 โทร. 0 3634 0748-49 จังหวัดบรุ ีรัมย์ โทร. 0 4466 6507-9 40 คู่ม่� ือื ประกันั ภัยั พ.ร.บ. ฉบัับประชาชน

ส�ำ นกั งาน คปภ. ภาค 5 (อุบลราชธาน)ี 131 ถนนศรณี รงค์ ตำ�บลในเมือง อ�ำ เภอเมอื ง อบุ ลราชธานี จงั หวดั อุบลราชธานี 34000 โทรศัพท์ 0 4524 3462 จงั หวดั อบุ ลราชธานี จงั หวดั มุกดาหาร โทร. 0 4524 3462 โทร. 0 4261 2055 จังหวัดสรุ ินทร ์ จงั หวดั อ�ำ นาจเจริญ โทร. 0 4451 6019 โทร. 0 4552 3059 จงั หวดั ศรสี ะเกษ จงั หวัดรอ้ ยเอ็ด โทร. 0 4561 2404 โทร. 0 4351 4440 จงั หวดั ยโสธร โทร. 0 4571 1685 คู่�ม่ ืือ ประกันั ภัยั พ.ร.บ. ฉบับั ประชาชน 41

ส�ำ นกั งาน คปภ. ภาค 6 (ชลบุร)ี 1/28-29 หมู่ 3 ตำ�บลเสมด็ อำ�เภอเมอื งชลบุรี จงั หวัดชลบรุ ี 20000 โทรศพั ท์ 0 3838 4819-20 จงั หวัดชลบุร ี จงั หวัดตราด โทร. 0 3838 4819-20 โทร. 0 3952 4809 จังหวดั จนั ทบรุ ี จงั หวัดระยอง โทร. 0 3932 2198-9 โทร. 0 3869 4051-2 จงั หวดั ฉะเชิงเทรา จงั หวัดปทมุ ธานี โทร. 0 3898 1448-9 โทร. 0 2581 2655 จังหวัดสระแกว้ จังหวดั สมุทรปราการ โทร. 0 3742 5014 โทร. 0 2186 3765-6 42 คู่�่มือื ประกันั ภัยั พ.ร.บ. ฉบัับประชาชน

ส�ำ นกั งาน คปภ. ภาค 7 (นครปฐม) 186/7-9 ถนนราชวถิ ี ต�ำ บลพระปฐมเจดยี ์ อ�ำ เภอเมอื งนครปฐม จังหวดั นครปฐม 73000 โทรศัพท์ 0 3427 2760-2 จังหวดั นครปฐม จงั หวัดนนทบรุ ี โทร. 0 3427 2760-2 โทร. 0 2194 4891 จังหวดั กาญจนบรุ ี จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา โทร. 0 3456 4298-9 โทร. 0 3533 5248 จงั หวดั ราชบรุ ี จังหวัดสุพรรณบรุ ี โทร. 0 3232 3268-9 โทร. 0 3553 5328 จงั หวดั เพชรบุร ี จังหวดั สมทุ รสาคร โทร. 0 3248 8237-8 โทร. 0 3482 0088 จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ โทร. 0 3260 3718 คู่ม่� ืือ ประกันั ภัยั พ.ร.บ. ฉบัับประชาชน 43

สำ�นักงาน คปภ. ภาค 8 (สรุ าษฎรธ์ าน)ี 118/28-29 หมู่ 1 ตำ�บลวดั ประดู่ อ�ำ เภอเมอื ง สุราษฎรธ์ านี จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี 84000 โทรศพั ท์ 0 7731 0466-9 จงั หวดั สุราษฎร์ธานี จังหวดั กระบ ่ี โทร. 0 7731 0466-9 โทร. 0 7561 1410 จงั หวดั ชมุ พร จงั หวดั พงั งา โทร. 0 7750 4829 โทร. 0 7646 0517-8 จังหวดั ระนอง จังหวดั ภเู กต็ โทร. 0 7782 3878 โทร. 0 7621 9296 44 คู่ม�่ ือื ประกันั ภััย พ.ร.บ. ฉบับั ประชาชน

สำ�นกั งาน คปภ. ภาค 9 (สงขลา) 613 ถนนราษฎรอ์ ุทศิ ต�ำ บลหาดใหญ่ อำ�เภอหาดใหญ่ จังหวดั สงขลา 90110 โทรศพั ท์ 0 7425 2105 ต่อ 12 จังหวดั สงขลา จงั หวัดปตั ตานี โทร. 0 7425 2105 โทร. 0 7333 6212-3 จังหวัดพัทลงุ จงั หวดั ยะลา โทร. 0 7461 4145 โทร. 0 7321 3755 จงั หวดั ตรัง จังหวดั นราธิวาส โทร. 0 7521 4013 โทร. 0 7351 4605 จังหวดั สตูล จงั หวัดนครศรีธรรมราช โทร. 0 7472 2511 โทร. 0 7544 6060-1 คู่่�มือื ประกันั ภััย พ.ร.บ. ฉบับั ประชาชน 45



หน่่วยงานที่่เ� กี่ย�่ วข้อ้ ง ด้า้ นการประกัันภััย คู่ม่� ืือ ประกัันภััย พ.ร.บ. ฉบัับประชาชน 47

หน่่วยงานที่่�เกี่�่ยวข้อ้ ง ด้้านการประกันั ภััย สมาคมประกันชวี ติ ไทย สมาคมประกนั วินาศภัยไทย สมาคมนายหนา้ ประกนั ภยั ไทย สถาบันประกนั ภัยไทย 48 คู่�ม่ ืือ ประกันั ภัยั พ.ร.บ. ฉบับั ประชาชน

หน่ว่ ยงานที่เ�่ กี่่�ยวข้อ้ ง ด้า้ นการประกัันภัยั สำ�นักงานอตั ราเบี้ย ประกนั วินาศภัย กองทนุ ประกันชีวติ กองทุนประกนั วินาศภยั คู่่ม� ืือ ประกันั ภัยั พ.ร.บ. ฉบัับประชาชน 49

ศูนู ย์บ์ ริิการข้อ้ มูลู ประชาชน ด้า้ นการประกันั ภััย ศนู ยร์ ับเรอื่ งร้องเรียนด้านการประกันภัย รับเร่ืองรอ้ งเรียน และใหค้ ำ�ปรึกษาเกี่ยวกับการประกนั ภัย ณ ส�ำ นักงาน คปภ. ส่วนกลางและส่วนภมู ภิ าค ศนู ย์ไกลเ่ กลย่ี ข้อพิพาทดา้ นการประกันภัย (แหง่ แรกในอาเซยี น) ระงบั ข้อพพิ าทด้านการประกันภยั แบบครบวงจร โดยผู้ไกลเ่ กลี่ยซึ่งเปน็ ผ้ชู ำ�นาญการที่มีประสบการณ์ สายดว่ น คปภ. 1186 ให้ค�ำ ปรึกษาเก่ยี วกับการประกันภยั หรืออืน่ ๆ ทีเ่ ก่ียวขอ้ ง กบั การประกนั ภัย บริการทางอนิ เทอรเ์ นต็ www.oic.or.th บรกิ ารข้อมลู ขา่ วสารและใหค้ �ำ ปรึกษาเก่ยี วกับการประกนั ภยั หรืออนื่ ๆ ที่เกยี่ วข้องกบั การประกันภัย ส�ำ นกั งานคณะกรรมการกำ�กบั และสง่ เสรมิ การประกอบธุรกจิ ประกนั ภยั (คปภ.) Office of Insurance Commission 22/79 ถนนรัชดาภเิ ษก แขวงจันทรเกษม เขตจตจุ ักร กรุงเทพมหานคร 10900 โทรศพั ท์ 0 2515 3995-9 โทรสาร 0 2515 3970 ISO 9001:2015 50 คู่�ม่ ืือ ประกันั ภััย พ.ร.บ. ฉบัับประชาชน