โครงงาน เร่ือง สบู่จากผลไม้ กล่มุ สาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี (IS) จัดทาโดย นางสาวกนั ยาพร ส่องสี เลขท่ี 21 นางสาวปริญญา มาอินทร์ เลขท่ี 24 นางสาววริศรา ศรีจอม เลขท่ี 26 นางสาวธนั ยชนก อินทะรังษี เลขท่ี 31 นางสาวนิศาชล คาแสน เลขที่ 32 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 5/3 นาเสนอ คุณครูดารงค์ คนั ธะเรศย์ รายวชิ า การงานอาชีพและเทคโนโลยี (I30201) ปี การศึกษา 2562 โรงเรียนปัว สานกั งานพ้นื ที่การศึกษา เขต 37
ก หวั ข้อโครงงาน : สบู่จากผลไม้ เลขท่ี 21 ประเภทของโครงงาน : โครงงาน เลขท่ี 24 ผ้เู สนอโครงงาน : 1. นางสาวกนั ยาพร ส่องสี เลขท่ี 26 2. นางสาวปริญญา มาอินทร์ เลขที่ 31 ครูทปี่ รึกษาโครงงาน 3. นางสาววริศรา ศรีจอม เลขท่ี 32 ปี การศึกษา 4. นางสาวธนั ยชนก อินทะรังษี 5. นางสาวนิศาชล คาแสน ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 5/3 : ครูดารงค์ คนั ธะเรศย์ : 2562 บทคดั ย่อ การศึกษาเรื่องสบูจ่ ากผลไมเ้ กิดจากการท่ีผจู้ ดั ทามีความสนใจที่จะทาสบู่ท่ีทาจากผลไม้ โดยมี วตั ถุประสงคเ์ พือ่ ทาสบูจ่ ากน้าผลไม้ โดยคดั เลือกผลไม้ 3 ชนิด คือแตงโม กลว้ ย แอปเปิ ล ผลการศึกษา จาก การทดลองเร่ือง สบูจ่ ากผลไม้ ผศู้ ึกษาไดศ้ ึกษาในเรื่องของรูปลกั ษณ์ 1.รูปลกั ษณ์ของสบู่ที่เป็นที่นิยมคือสบู่ จากกลว้ ยและแตงโม ส่วนสบูจ่ ากแอปเปิ ลเป็ นที่นิยมนอ้ ยท่ีสุด 2.สบูท่ ่ีสามารถขจดั คราบไดด้ ีที่สุดคือสบู่ จากแอปเปิ ล รองลงมาคือสบู่จากแตงโม และสุดทา้ ยคือ สบู่จากกลว้ ย 3.สบู่ที่บารุงผวิ ไดด้ ีที่สุดคือสบู่จาก แอปเปิ ลรองลงมา คือ สบูจ่ ากกลว้ ย และสุดทา้ ยคือ สบูจ่ ากแตงโม
ข กติ ตกิ รรมประกาศ รายงานฉบบั น้ีสาเร็จลุล่วงไปไดด้ ว้ ยดี ตอ้ งขอขอบพระคุณ คุณครูดารงค์ คนั ธะเรศย์ ครูผสู้ อนท่ีให้ ความรู้และคาแนะนาตรวจทานและแกไ้ ขขอ้ บกพร่องต่าง ๆ ดว้ ยความเอาใจใส่ทุกข้นั ตอน เพอื่ ใหร้ ายงาน ฉบบั น้ีสมบูรณ์ท่ีสุดและเพ่ือน ๆทุกคนที่ช่วยกนั คน้ ควา้ หาขอ้ มูลในการทารายงานคร้ังน้ี ขอขอบพระคุณครอบครัวคณะผจู้ ดั ทา ท่ีอยเู่ บ้ืองหลงั ในความสาเร็จไดใ้ หค้ วามช่วยเหลือและ กาลงั ใจตลอดมา คณะผจู้ ดั ทา 20 กนั ยายน 2562
สารบญั ค บทท่ี เร่ือง หน้า บทคดั ยอ่ ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบญั ค 1 บทนา 1 2 เอกสารที่เกี่ยวขอ้ ง 3 3 วธิ ีการดาเนินการ 17 4 ผลการดาเนินงาน 18 5 สรุปผล อภิปรายและขอ้ เสนอแนะ 21 บรรณานุกรม 22
1 บทท่ี 1 บทนา 1.1 ทม่ี าและความสาคญั ของโครงงาน ในปัจจุบนั เช้ือโรคท่ีแพร่กระจายอยรู่ อบตวั เราซ่ึงเป็นปัญหาที่ยากต่อการควบคุมและป้องกนั อาจ ทาใหเ้ กิดโรคตา่ ง ๆ เป็ นจานวนมาก และถึงข้นั เสียชีวติ เช่น โรคระบบทางเดินอาหาร โรคผวิ หนงั ต่าง ๆ เป็นตน้ สบู่ตามตลาดหรือตามร้านคา้ ทวั่ ไปอาจมีสารเคมี สารเคมีบางชนิดอาจมีสารท่ีอนั ตรายมาก อาจทา ใหเ้ กิดโรค ตา่ ง ๆ เช่น อาการคนั ผวิ หนงั อาจมีอาการแพจ้ นเกิดเป็นโรคท่ีเก่ียวกบั ผวิ หนงั จึงเป็ นอนั ตราย อยา่ งมากในการนามาใช้ คณะผจู้ ดั ทาจึงคิดคน้ สบูท่ ี่ทามาจากผลไมต้ า่ ง ๆ ที่มีสรรพคุณบารุงผวิ เช่น แอปเปิ ล แตงโม และกลว้ ย เพ่อื แกป้ ัญหาสารเคมีที่มีในสบู่และเพือ่ ประหยดั คา่ ใชจ้ ่ายในการทาอีกดว้ ย 1.2 วตั ถุประสงค์ของโครงงาน เพือ่ ทาสบูจ่ ากน้าผลไม้ 1.3 สมมตฐิ านของโครงงาน สบู่ที่ทาจากแอปเปิ ล คือสบู่ที่สามารถขจดั คราบไดด้ ีท่ีสุด 1.4 ขอบเขตของโครงงาน 1.สบู่จากน้าจากแตงโม น้าจากแอปเปิ ล น้าจากกลว้ ย อยา่ งละ 2 กอ้ น 2.กลุ่มตวั อยา่ ง คือ กลุ่มนกั เรียนท่ีสนใจ 6 คน และสารวจจากแบบสารวจความพงึ พอใจในการใชส้ บู่จาก ผลไม้
2 1.5 ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะได้รับ 1.ไดผ้ ลิตภณั ฑส์ บู่ท่ีทาเองดว้ ยวธิ ีการธรรมชาติ วตั ถุดิบจากธรรมชาติ เเละช่วยลดความเส่ียงจากการใชส้ บู่ ตามตลาดท่ีอาจจะมีสารเคมีตกคา้ ง 2.ผทู้ ี่ใชส้ บูม่ ีสุขภาพผวิ ที่ดี 3.ทาใหไ้ ดท้ ราบสรรพคุณผลไม้ และสามารถเพิม่ มูลค่าใหแ้ ก่ผลไมไ้ ด้ 4.สามารถตอ่ ยอดเป็นผลิตภณั ฑท์ อ้ งถ่ิน และนาไปจาหน่ายได้ 5.สามารถช่วยขจดั คราบและลดอาการคนั อาการแพข้ องผิวหนงั ได้ 6.ใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชน์
3 บทที่ 2 เอกสารทเ่ี กย่ี วข้อง กล้วย การจาแนกช้ันทางวทิ ยาศาสตร์ อาณาจกั ร : Plantae อนั ดบั : Zingiberales วงศ์ : Musaceae สกลุ : Musa สปี ชีส์ : Musa (AAA group) \"Kluai Hom khiew\" ลกั ษณะทว่ั ไป กลว้ ย เป็นไมผ้ ล ลาตน้ เกิดจากกาบหุม้ ซอ้ นกนั สูงประมาณ 2 – 5 เมตร ใบ เป็นใบเด่ียว เกิดกระจายส่วนปลายของลาตน้ เวยี นสลบั ซา้ ยขวาต่างระนาบกนั กา้ นใบยาว แผน่ ใบกวา้ ง เส้นของใบขนานกนั ปลายใบมน มีต่ิง ผวิ ใบเรียบล่ืน ใบมีสีเขียวดา้ นล่างมีไขนวลหรือแป้งปกคลุม เส้นและ ขอบใบเรียบ ขนาดและความยาวของใบข้ึนอยกู่ บั แต่ละพนั ธุ์ ดอก เป็นดอกห้อยลงมายาวประมาณ 60 – 130 ซม. ซ่ึงเรียกวา่ หวั ปลี ตามช่อจะมีกาบหุ้มสีแดงเป็นรูปกลมรี ยาว 15 – 30 ซม. ช่อดอกมีเจริญก็จะกลายเป็นผล ผล เป็นผลสดจะประกอบดว้ ยหวกี ลว้ ย เครือละ 7 – 8 หวี แตล่ ะหวมี ีกลว้ ยอยปู่ ระมาณ 10 กวา่ ลูก ขนาดและสีของกลว้ ยจะมีลกั ษณะแตกตา่ งกนั ออกไปตามชนิดของ แต่ละพนั ธุ์ บางชนิดมีผลสีเขียว , เหลือง , แดง แตล่ ะตน้ ใหผ้ ลคร้ังเดี่ยวเทา่ น้นั เมลด็ มีลกั ษณะกลมขรุขระ เปลือกหุม้ เมล็ดมีสีดา หนาเหนียวเน้ือในเมลด็ มีสีขาว ขยายพนั ธุ์ ดว้ ยการแยกหน่อ หรือแยกเหงา้ รสชาติ รสฝาด
4 กลว้ ยเป็นไมผ้ ลท่ีคนไทยรู้จกั กนั มานาน เนื่องจากกลว้ ยมีถ่ินกาเนิดในเอเชียใตแ้ ละเอเชียตะวนั ออก เฉียงใต้ ซ่ึงประเทศไทยเป็นประเทศหน่ึงในภูมิภาคดงั กล่าว จากการศึกษาพบวา่ กลว้ ยมีววิ ฒั นาการถึง 50 ลา้ นปี มาแลว้ ดงั น้นั จึงเป็นไมผ้ ลท่ีมนุษยร์ ู้จกั บริโภคเป็ นอาหารกนั อยา่ งแพร่หลาย เช่ือกนั วา่ กลว้ ยเป็นไม้ ผลชนิดแรก ที่มีการปลูกเล้ียงไวต้ ามบา้ น และไดแ้ พร่พนั ธุ์จากเอเชียใต้ และเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตไ้ ปยงั ดินแดนอื่นๆ ในระยะเวลาต่อมากลว้ ยมีการปลูกกนั มากในเอเชียใต้ แมใ้ นปัจจุบนั ประเทศอินเดียเป็น ประเทศท่ีมีการปลูกกลว้ ยมากที่สุดในโลก และมีพนั ธุ์กลว้ ยมากมายอีกดว้ ย เหมาะสมกบั ที่มีการกล่าวกนั ไว้ ในหนงั สือของชาวอาหรับวา่ \"กลว้ ยเป็นผลไมข้ องชาวอินเดีย\" ต่อมา ไดม้ ีหมอของจกั รพรรดิโรมนั แห่งกรุง โรมช่ือวา่ แอนโตนิอุส มูซา (Antonius Musa) ไดน้ าหน่อกลว้ ยจากอินเดีย ไปปลูกทางตอนเหนือของอียปิ ต์ เม่ือประมาณ 2,000 ปี มาแลว้ หลงั จากน้นั มีการแพร่ขยายพนั ธุ์กลว้ ยไปในดินแดนของแอฟริกา ที่ชาว อาหรับเขา้ ไปคา้ ขาย และพานกั อาศยั จนกระทง่ั เม่ือประมาณ ค.ศ. 965 ไดม้ ีการกล่าวถึงกลว้ ยวา่ ใชใ้ นการ ประกอบอาหารชนิดหน่ึงของชาวอาหรับ ซ่ึงอร่อย และเป็ นที่เล่ืองลือมาก ช่ือวา่ กาลาอิฟ (Kalaif ) เป็น อาหารท่ีปรุงดว้ ยกลว้ ย เมล็ดอลั มอนด์ น้าผ้งึ ผสมกบั น้ามนั นตั (Nut oil) ซ่ึงสกดั จากผลไมเ้ ปลือกแขง็ ชนิด หน่ึง นอกจากใชป้ ระกอบอาหารแลว้ ชาวอาหรับยงั ใชก้ ลว้ ยทายาอีกดว้ ย ชาวอาหรับเรียกกลว้ ยวา่ \"มูซา\" ตามช่ือของหมอ ท่ีเป็นผูน้ ากลว้ ยเขา้ มาในอียปิ ตเ์ ป็ นคร้ังแรก ในช่วงกลางคริสตศ์ ตวรรษท่ี 15 ชาวโปรตุเกส ไดเ้ ดินเรือไปคา้ ขายบริเวณชายฝ่ังตะวนั ตกของทวปี แอฟริกา และไดน้ ากลว้ ยไปแพร่พนั ธุ์ท่ีหมูเ่ กาะคะแนรี ซ่ึงต้งั อยนู่ อกชายฝั่งตะวนั ตกเฉียงเหนือของทวปี หลงั จากน้นั ชาวสเปนจึงไดน้ ากลว้ ยจากหมูเ่ กาะคะแนรี เขา้ ไปปลูกในหมูเ่ กาะอินดีสตะวนั ตกในอเมริกากลาง โดยเริ่มปลูก ที่อาณานิคมซนั โตโดมิงโก บนเกาะฮิส ปันโยลาเป็นแห่งแรก แลว้ ขยายไปปลูกท่ีเกาะอื่นในเวลาต่อมา ส่งผลใหด้ ินแดนในอเมริกากลางมีการปลูก กลว้ ยเป็นพชื เศรษฐกิจกนั อยา่ งแพร่หลาย และนบั ต้งั แต่คริสตศ์ ตวรรษที่ 19 เป็นตน้ มา ไดก้ ลายเป็นแหล่ง ปลูกกลว้ ยส่งเป็นสินคา้ ออกมากที่สุดของโลก โดยปลูกมากในประเทศคอสตาริกา และประเทศฮอนดูรัส ประโยชน์ของกล้วย กลว้ ยหอมสามารถใชป้ ระโยชน์ไดห้ ลายอยา่ ง เช่น ผล ขบั ปัสสาวะ ยางกล้วยจากใบ ใชห้ า้ มเลือด ผลดบิ ช่วยแกโ้ รคทอ้ งเสีย สมานแผลในกระเพาะอาหาร ผลสุก ใชเ้ ป็นอาหาร กระตุน้ ใหร้ ่างกายรู้สึกผอ่ นคลาย อารมณ์สดใสและมีความสุข เป็นยาระบายสาหรับผทู้ ่ี มีอุจจาระแขง็ ช่วยทุเลาอาการปวดทอ้ ง ก่อนหรือขณะมีประจาเดือนได้ สามารถกระตุน้ ความต่ืนตวั ใหก้ บั
5 สมองได้ หรือแมก้ ระทงั่ ช่วยทุเลาจากอาการเมาคา้ งเน่ืองจากการดื่มสุรา ของมึนเมา นอกจากน้ีการกินกลว้ ย หอม 1-2 คา ระหวา่ งม้ือเชา้ เท่ียงหรือเยน็ ยงั ทุเลาอาการแพท้ อ้ งได้ ราก ใชต้ ม้ น้าแลว้ ดื่มเพ่ือบรรเทาอาการปวดฟัน เปลือกกล้วยหอม สามารถลดอาการคนั หรือบวม จากบริเวณท่ีถูกยงุ กดั ได้ โดยใชเ้ ปลือกดา้ นใน หรือการนา เปลือกกลว้ ยหอมมาตม้ น้าดื่ม พบวา่ สามารถช่วยลดอาการซึมเศร้าได้ นอกจากน้ี พบวา่ หากเราใชด้ า้ นใน ของเปลือกกลว้ ยหอมสุก ถูเบาๆ บริเวณที่มีรอยหยาบกร้าน ทิง้ ไวป้ ระมาณ 15 นาที จากน้นั ลา้ งออกดว้ ยน้า สะอาดตามปกติ จะทาใหผ้ วิ นุ่มชุ่มช่ืนข้ึน รอยหยาบกร้านจางหายไป ลาต้น ใชเ้ ป็นฐานกระทง หรือใชห้ น่ั เล้ียงสตั ว์ ใบ ใชห้ ่ออาหารจะทาใหอ้ าหารคล้าดา ไมน่ ่ารับประทาน แตงโม การจาแนกช้ันทางวทิ ยาศาสตร์ อาณาจกั ร : Plantae หมวด : Magnoliophyta ช้นั : Magnoliopsida อนั ดบั : Cucurbitales วงศ์ : Cucurbitaceae สกลุ : Citrullus สปี ชีส์ : C. lanatus ชื่อทวนิ าม : Citrullus lanatus (Thunb.) Matsum. & Nakai
6 แตงโม (ช่ือวทิ ยาศาสตร์: Citrullus lanatus) แตงโมเป็ นพชื ลม้ ลุกอายฤุ ดูเดียว ลาต้น เป็นเถาไมเ้ ล้ือยมี ลกั ษณะเหล่ียมเป็นขอ้ ปลอ้ ง ยาวประมาณ 2.5-5 เมตร ลาตน้ แตกก่ิงนอ้ ย มีสีเขียวอมเทาและมีขนแขง็ ปก คลุมท่ีลาตน้ ราก เป็นระบบรากแกว้ มีรากแขนง รากหยง่ั ลึกไดม้ ากกวา่ 1 เมตร ใบแตงโม เป็นพืชใบเล้ียงคู่ ออกใบเด่ียวตามขอ้ ปลอ้ ง แผน่ ใบเรียบสีเขียวเขม้ และมีขนแขง็ ปกคลุมท้งั ดา้ นบนและดา้ นล่างใบ แผน่ ใบบาง กรอบ ปลายใบมน ขอบใบหยกั ลึก 3-7 หยกั ตวั ดอกเป็นดอกไม่สมบูรณ์ เพศ คือ มีดอกตวั เมียและตวั ผอู้ ยคู่ นละดอก แตอ่ ยตู่ น้ เดียวกนั ดอกออกเป็ นดอกเด่ียวตามซอกใบ มีกา้ นดอก สีเขียวยาวประมาณ 1-3 เซนติเมตร ผลแตงโม เป็นผลเดี่ยว ขนาดผลใหญ่ โดยเฉล่ียแลว้ น้าหนกั แตงโมจะหนกั ประมาณ 0.5-5 กิโลกรัมต่อลูก ผลมีลกั ษณะทรงกลมและทรงรี ตามแต่ชนิดสายพนั ธุ์ เปลือกผลเรียบโดยมีท้งั สีเขียวทว่ั ไป เขียวแกมเหลือง หรือสีเหลืองผสมลายประ ส่วนเน้ือแตงโมมีสีแดงและสีเหลือง เน้ือฉ่าน้า และมีเมลด็ แทรกอยตู่ ามเน้ือ จานวนมาก แตงโมแต่ละผลจะมีเมลด็ มากกวา่ 200-600 เมลด็ โดยประมาณ หรือมีเมล็ดนอ้ ยมาก ข้ึนอยกู่ บั สายพนั ธุ์ เมลด็ แตงโม จะมีลกั ษณะคลา้ ยหยดน้าหรือรูปไข่ เมล็ดแบน ขอบเมลด็ มน เปลือกแขง็ แตค่ ่อนขา้ งบาง หาก เปลือกเมล็ดอ่อนจะมีสีขาว แลว้ จะเปล่ียนเป็นสีน้าตาลเม่ือแก่มากข้ึน กระทง่ั เมลด็ จะกลายเป็นสีดาเม่ือผลแก่ เตม็ ท่ี และเราสามารถนาเมล็ดแตงโมมาคว่ั กินเป็ นของวา่ งเค้ียวเพลินไดด้ ว้ ย เป็นผลไมท้ ่ีมีน้าประกอบอยเู่ ป็นจานวนมาก และหวานมากแต่มีน้าตาลนอ้ ยกวา่ ผลไมบ้ างชนิดเน่ืองจาก น้าตาลในผลคือน้าตาลกลูโคส ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือเรียก บกั โม ภาคเหนือเรียก บะเตา้ จงั หวดั ตรังเรียก แตงจีน ถ่ินกาเนิดอยใู่ นทะเลทรายคาลาฮารีทวปี แอฟริกา ชาวอียปิ ตเ์ ป็ นชาติแรกท่ีปลูกแตงโมไว้ รับประทานเมื่อส่ีพนั ปี มาแลว้ ชาวจีนเร่ิมปลูกแตงโมที่ซินเกียงสมยั ราชวงศถ์ งั และชาวมวั ร์ไดน้ าแตงโม ไปสู่ทวปี ยโุ รป แตงโมแพร่หลายเขา้ สู่ทวปี อเมริกาพร้อมกบั ชาวแอฟริกาท่ีถูกขายเป็นทาส แตงโมตอ้ งการ ดินท่ีมีความชุ่มช้ืนพอเหมาะ น้าไมข่ งั มกั ปลูกกนั ในดินร่วนปนทราย ในประเทศไทยมีการปลูกแตงโมทว่ั ทุกภูมิภาค และปลูกไดท้ ุกฤดู แตงโมเป็นพชื ในวงศเ์ ดียวกบั แคนตาลูปและฟัก เป็นพชื ลม้ ลุกเป็นเถา อายสุ ้ัน เถาจะเล้ือยไปตามพ้ืนดิน มี ขนออ่ นปกคลุม ผลมีท้งั ทรงกลมและทรงกระบอก เปลือกแขง็ มีท้งั สีเขียวและสีเหลือง บางพนั ธุ์มีลวดลาย บนเปลือก ในเน้ือมีเมลด็ สีดาแทรกอยู่ แตงโมที่นิยมปลูกโดยทวั่ ไปมี 3 พนั ธุ์คือ
7 พนั ธุ์ธรรมดา มีเมลด็ ขนาดเล็ก รสหวาน แบ่งยอ่ ยไดอ้ ีกหลายพนั ธุ์ เช่น แตงโมจินตหรา ผลยาวรี เปลือกเขียวเขม้ มีลาย เน้ือสีแดง แตงโมตอร์ปิ โด ลูกรีกวา่ พนั ธุ์จินตหรา แตงโมกินรี ผลกลม เน้ือ แดง แตงโมน้าผ้งึ ผลกลม เน้ือเหลือง แตงโมไดอานา เปลือกเหลือง เน้ือสีแดง แตงโมจิ๋ว ผลขนาด เทา่ กาป้ัน เน้ือเหลือง เป็นตน้ พนั ธุ์ไมม่ ีเมลด็ เป็นพนั ธุ์ผสมเพ่อื ใชใ้ นการส่งออก ไมม่ ีเมล็ดแก่สีดาภายใน ในญ่ีป่ ุนมีการทา แตงโมใหเ้ ป็นทรงสี่เหล่ียมโดยใหผ้ ลเจริญในกล่อง เพ่ือความสะดวกในการขนส่ง[3] พนั ธุ์กินเมลด็ ปลูกเพื่อนาเมลด็ มาคว่ั พนั ธุ์น้ีมีเน้ือมาก แตงโมเป็นผลไมท้ ี่มีคุณสมบตั ิเยน็ จะช่วยลดอาการปวด ไข้ คอแหง้ บรรเทาแผลในปาก เปลือกแตงโม นาไปตม้ เดือด แลว้ เติมน้าตาลทราย ดื่มเพอ่ื ป้องกนั เจบ็ คอ กินเป็นผลไมส้ ด ทาเป็นน้าผลไม้ เปลือกหรือผล อ่อนใชท้ าอาหาร เช่น แกงส้ม ในเวยี ดนาม นิยมรับประทานเมล็ดแตงโมในเทศกาลปี ใหม่ แตก่ ารท่ี รับประทานแตงโมเขา้ ไปมาก ๆ ก็คงช่วยแกอ้ าการเส่ือมสมรรถภาพทางเพศไม่ได้ เพราะน่าจะมีผลแคท่ าให้ ร่างกายปัสสาวะบอ่ ยข้ึนเท่าน้นั เพราะท่ีผา่ นมาแตงโมจะนาไปใชเ้ ป็นยาขบั ปัสสาวะมากกวา่ ยารักษาโรค หยอ่ นสมรรถภาพทางเพศ และผลเสียท่ีจะตามมากค็ ือ หากรับประทานแตงโมมากเกินไป น้าตาลในผล แตงโมอาจแพร่เขา้ สู่กระแสเลือดได้ ซ่ึงมีผลทาใหเ้ ป็นตะคริวไดง้ ่ายข้ึน ประโยชน์ของแตงโม 1. เป็นผลไมท้ ี่เหมาะกบั ผตู้ อ้ งการลดความอว้ นหรือควบคุมน้าหนกั อยา่ งมาก เพราะมีแคลอรีต่า 2. ประโยชน์แตงโมช่วยในการควบคุมน้าหนกั ไมใ่ หน้ ้าหนกั เกิน ป้องกนั การสะสมของไขมนั ที่เป็น อนั ตรายกบั ร่างกาย ลดปริมาณไขมนั ท่ีจบั อยภู่ ายในเลือด 3. แตงโมมี \"ไลโคปี น\" (Lycopene) ซ่ึงเป็นสารต่อตา้ นอนุมูลอิสระ ช่วยลดความเส่ียงการเกิด โรคมะเร็งและโรคหวั ใจ 4. ช่วยบารุงผวิ พรรณและเส้นผมใหแ้ ขง็ แรง เพราะประกอบไปดว้ ยวติ ามินและแร่ธาตุหลายชนิด 5. แตงโมมีกรดอะมิโน Citrulline ซ่ึงมีส่วนช่วยป้องกนั โรคหวั ใจ 6. แตงโมมีสารออกฤทธ์ิชนิดหน่ึงท่ีคลา้ ยกบั ยาแกอ้ าการเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ อยา่ งไวอากรา ซ่ึง จะออกฤทธ์ิกระตุน้ ให้หลอดเลือดคลายตวั ช่วยใหร้ ะบบหมุนเวยี นของเลือดดีข้ึน
8 7. มีส่วนช่วยบารุงสายตา เพราะมีวติ ามินเอในผลแตงโม 8. มีส่วนช่วยลา้ งพษิ จากอาหารที่เรารับประทานเขา้ ไปไดด้ ว้ ย 9. ใชร้ ับประทานเป็ นผลไมส้ ด ทาเป็นน้าผลไมด้ ื่มคลายร้อน ลดความร้อนในร่างกาย 10. เปลือกหรือผลอ่อนใชท้ าเป็ นอาหาร อยา่ งแกงส้ม เป็นตน้ 11. เปลือกที่มีสีเขียวอ่อนหรือขาวสามารถนามารับประทานเป็นผกั ได้ 12. นาไปทาเป็นไวน์ได้ 13. นาไปแปรรูปเป็น แยมแตงโม เมลด็ แตงโม หรือทาเป็นสบูแ่ ตงโมกไ็ ด้ 14. แตงโมพอกหนา้ ใชท้ าเป็ นทรีตเมนตบ์ ารุงผวิ ช่วยเพ่ิมความชุ่มชื่นใหแ้ ก่ผวิ แกป้ ัญหาผวิ แหง้ กร้าน ช่วยดูดซบั ความมนั บนใบหนา้ และลดอาการแสบแดง วิธีการง่าย ๆ เพียงแคน่ าเน้ือแตงโมมาฝาน บาง ๆ แลว้ นามาวางไวบ้ นผา้ ขาวบาง จากน้นั นามาวางปิ ดลงบนใบหนา้ ใหท้ ว่ั ทิ้งไวป้ ระมาณ 15 นาที แลว้ ลา้ งออกดว้ ยน้าสะอาด แอปเปิ ล การจาแนกช้ันทางวทิ ยาศาสตร์ อาณาจกั ร : พืช อนั ดบั : กุหลาบ วงศ์ : วงศก์ หุ ลาบ สกุล : Malus สปี ชีส์ : M. domestica
9 แอปเปิ ล (องั กฤษ: apple; ช่ือวทิ ยาศาสตร์: Malus domestica) เป็นตน้ ไมผ้ ลดั ใบในวงศก์ ุหลาบ มีผลรสหวาน เรียกวา่ ผลแอปเปิ ล แอปเปิ ลมีปลูกอยทู่ ว่ั โลกในลกั ษณะของไมผ้ ล และสายพนั ธุ์ท่ีถูกปลูกมากท่ีสุดคือสกลุ Malus ตน้ แอปเปิ ลมีตน้ กาเนิดในเอเชียกลาง ซ่ึงบรรพบุรุษคือ Malus sieversii ยงั คงพบไดใ้ นปัจจุบนั แอปเปิ ลมีปลูกเป็นเวลาหลายพนั ปี ในเอเชียและยโุ รป และกลุ่มอาณานิคมชาวยโุ รปนามาปลูกที่อเมริกา เหนือ แอปเปิ ลมีความสาคญั ทางศาสนาและเทพปกรณมั ในหลายวฒั นธรรม รวมถึงนอร์ส กรีก และ ประเพณีต่าง ๆ ของคริสตศ์ าสนิกชนของชาวยโุ รป แอปเปิ ลเป็ นไมย้ นื ตน้ ขนาดเลก็ ผลดั ใบ สูง 3 - 12 เมตร เรือนยอดกวา้ ง ก่ิงหนาแน่น ใบรูปไข่เรียงสลบั ยาว 5 - 12 ซม. กวา้ ง 3 - 6 ซม. กา้ นใบยาว 2 - 5 ซม. ปลายใบแหลม ขอบใบหยกั คลา้ ยฟันเลื่อย ใตใ้ บปกคลุม ดว้ ยขนนุ่มเล็กนอ้ ย ดอกเกิดข้ึนพร้อมการแตกใบใหมใ่ นฤดูใบไมผ้ ลิ ดอกมีสีขาวแตม้ สีชมพู และเขม้ ข้ึนเมื่อ ดอกใกลโ้ รย มีกลีบดอกหา้ กลีบ เส้นผา่ ศูนยก์ ลาง 2.5 - 3.5 ซม. ผลสุกในฤดูใบไมร้ ่วง โดยทวั่ ไปมี เส้นผา่ ศูนยก์ ลาง 5 - 9 ซม. กลางผลมีคาร์เพล (carpel) หา้ โพรงเรียงตวั ในรูปดาวหา้ แฉก แตล่ ะโพรงบรรจุ ไปดว้ ยเมล็ดหน่ึงถึงสามเมล็ด ตน้ แอปเปิ ลจะมีขนาดใหญ่หากเติบโตจากเมล็ด แต่จะมีขนาดเล็กถา้ ถูกตดั ต่อเน้ือเยอื่ เขา้ กบั ราก ปัจจุบนั มี แอปเปิ ลท่ีพนั ธุ์ปลูกมากกวา่ 7,500 ชนิด ทาใหแ้ อปเปิ ลมีลกั ษณะพเิ ศษหลากหลาย พนั ธุ์ปลูกแต่ละพนั ธุ์จะมี รสชาติแตกต่างกนั และการนาไปใชต้ ่างกนั ดว้ ย เช่น นาไปประกอบอาหาร กินดิบ ๆ หรือนาไปผลิตไซเดอร์ ปกติแอปเปิ ลจะแพร่พนั ธุ์ดว้ ยการตดั ต่อเน้ือเยอ่ื แตแ่ อปเปิ ลป่ าจะเติบโตไดเ้ องจากเมลด็ ตน้ แอปเปิ ลและผล แอปเปิ ลอาจประสบปัญหาจากจากเห็ดรา แบคทีเรีย และศตั รูพืชตา่ ง ๆ ซ่ึงอาจควบคุมไดด้ ว้ ยวธิ ีการทาง เกษตรอินทรียแ์ ละอนินทรียห์ ลายวธิ ี ใน ค.ศ. 2010 มีการถอดรหสั จีโนมของแอปเปิ ล เป็นส่วนหน่ึงของ งานวจิ ยั ควบคุมโรคและการคดั เลือกผสมพนั ธุ์ในการผลิตแอปเปิ ล ใน ค.ศ. 2013 มีการปลูกแอปเปิ ลประมาณ 80 ลา้ นตนั ข้ึนทวั่ โลก ประเทศจีนผลิตไดจ้ านวนเกือบคร่ึงหน่ึง ของจานวนดงั กล่าว[3] สหรัฐอเมริกาเป็นผผู้ ลิตแอปเปิ ลมากท่ีเป็นอนั ดบั ท่ีสอง ดว้ ยการผลิตมากกวา่ 6% ประเทศตุรกีเป็นท่ีสาม ตามดว้ ยประเทศอิตาลี อินเดีย และโปแลนด์ แอปเปิ ลมกั นิยมกินดิบ แตส่ ามารถพบ ไดใ้ นอาหารท่ีเตรียมข้ึน (โดยเฉพาะของหวาน) และเคร่ืองด่ืม มีความคิดวา่ แอปเปิ ลส่งผลดีต่อสุขภาพ มากมาย แต่อยา่ งไรกต็ าม โปรตีนในแอปเปิ ลอาจทาใหเ้ กิดอาการแพไ้ ด้ ประโยชน์ของแอปเปิ ล 1. แอปเปิ ลมีสารตอ่ ตา้ นอนุมูลอิสระที่ช่วยในการชะลอวยั
10 2. แอปเปิ ลเหมาะกบั การเป็นอาหารท่ีช่วยในการควบคุมน้าหนกั ช่วยลดความอยากอาหารลง แม้ แอปเปิ ลจะมีน้าตาลแต่ร่างกายก็สามารถดูดซึมและนาไปใชป้ ระโยชน์ไดภ้ ายใน 10 นาที 3. ช่วยลดปริมาณคอเลสเตอรอลในเส้นเลือด หากรับประทานเป็นประจาวนั ละ 2-3 ผล 4. เป็นผลไมท้ ่ีเหมาะกบั ผปู้ ่ วยเบาหวานที่ตอ้ งการควบคุมน้าตาลในเลือด เพราะแอปเปิ ลมีไฟเบอร์ ชนิดละลายน้าในปริมาณสูงที่จะช่วยลดระดบั น้าตาลในเลือดดว้ ย 5. เป็นอาหารที่เหมาะอยา่ งยง่ิ สาหรับผปู้ ่ วยภาวะเลือดเป็ นกรด ไขขอ้ รูมาติก โรคเกาต์ ดีซ่าน 6. แอปเปิ ลกม็ ีส่วนช่วยในการป้องกนั การเกิดฝ้าไดเ้ หมือนกนั นะ 7. ช่วยในการลดคอเลสเตอรอลในร่างกาย 8. ช่วยลดความเสี่ยงตอ่ การเกิดโรคมะเร็งได้ 9. ช่วยป้องกนั การเกิดโรคมะเร็งลาไส้ใหญไ่ ดโ้ ดยตรง 10. ช่วยป้องกนั การเกิดโรคเลือดออกตามไรฟัน 11. ช่วยป้องกนั การเกิดโรคหลอดเลือดหวั ใจ 12. ช่วยใหผ้ นงั หลอดเลือดแขง็ แรง 13. ช่วยป้องกนั การเกิดโรคตอ้ กระจก 14. ช่วยลดกรดในกระเพาะอาหาร 15. ช่วยลดไขแ้ ละช่วยลดการอกั เสบ 16. ช่วยละลายเสมหะ 17. ช่วยลดความดนั โลหิต 18. ช่วยบารุงหวั ใจ 19. แอปเปิ ลไม่เพยี งแตม่ ีประโยชน์เฉพาะเน้ือเท่าน้นั สาหรับเปลือกก็จดั วา่ มีประโยชน์มากมายเลย ทีเดียว สาหรับใครท่ีไม่ชอบรับประทานเปลือก ขอให้รู้ไวว้ า่ เปลือกก็มีความสาคญั ไม่แพเ้ น้ือเลย เน่ืองจากมีสารฟลาโวนอยดท์ ี่ช่วยกาจดั สารพิษในร่างกายของเรา มีสารต่อตา้ นอนุมูลอิสระช้นั เลิศ
11 และที่สาคญั ยงั ช่วยป้องกนั โรคมะเร็งลาไส้ใหญไ่ ดอ้ ีกดว้ ย ซ่ึงกต็ รงกบั งานวจิ ยั หลายชิ้นที่ระบุเอาไว้ วา่ แอปเปิ ลน้นั เป็นผลไมเ้ พอื่ สุขภาพ \"การรับประทานแอปเปิ ลวนั ละ 1 ลูกจะป้องกนั การเกิด โรคมะเร็งลาไส้ใหญ่ไดโ้ ดยตรง\" แต่ท้งั น้ีเวลารับประทานกค็ วรจะลา้ งน้าใหส้ ะอาดดว้ ย กลเี ซอรีน กลีเซอรีน (glycerine) เป็นของเหลวท่ีไมม่ ีสี ไมม่ ีกลิ่น มีความหนืด และมีรสหวาน โดยปกติมาจากน้ามนั ของพืช ซ่ึงโดยทวั่ ไปคือ น้ามนั มะพร้าว และน้ามนั ปาลม์ กลีเซอรีนสามารถละลายไดด้ ีในแอลกอฮอลแ์ ละ น้า แต่ไม่ละลายในไขมนั เนื่องจากกลีเซอรีนมีคุณสมบตั ิทางเคมีท่ีหลากหลายจึงสามารถนาไปใชเ้ ป็ นสาร ต้งั ตน้ ในการสงั เคราะห์สารเคมีอ่ืนๆได้ ดว้ ยคุณสมบตั ิที่สามารถละลายในแอลกอฮอลแ์ ละน้าไดน้ ี่เอง จึง นาไปใชป้ ระโยชน์อยา่ งกวา้ งขวาง ซ่ึงกลีเซอรีนบริสุทธ์ิสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ชไ้ ดใ้ นหลายรูปแบบ เช่น ใชเ้ ป็นส่วนผสมหรือเป็ นตวั ช่วยในกระบวนการผลิตเคร่ืองสาอาง ผลิตภณั ฑใ์ นหอ้ งน้าและสุขอนามยั ส่วน บุคคล อาหาร ยาสีฟัน ยาสระผม และนิยมใชม้ ากในอุตสาหกรรมสบู่ เพราะกลีเซอรีนเป็นส่วนช่วยหล่อลื่น เหมือนมอยซ์เจอร์ไรเซอร์เพื่อปกป้องผวิ ไมใ่ หแ้ หง้ และดูดซบั ความช้ืนเม่ือสัมผสั กบั อากาศซ่ึงจะทาใหร้ ู้สึก วา่ ผวิ มีความชุ่มช้ืน ออ่ นโยนตอ่ ผวิ ขจดั ความสกปรกท่ีฝังแน่น ไม่ทาใหอ้ ุดตนั รูขมุ ขน รวมท้งั ปลอดภยั ต่อ ผวิ หนงั การที่กลีเซอรีนเป็นสารท่ีไม่มีพษิ ในทุกๆรูปแบบของการประยกุ ตใ์ ช้ ไม่วา่ จะใชเ้ ป็นสารต้งั ตน้ หรือสารเติม แตง่ ทาใหก้ ลีเซอรีนเป็ นสารเคมีที่ไดร้ ับความสนใจและนาไปใชป้ ระโยชนท์ างการแพทยด์ ว้ ยการทายา เหน็บทวาร ใชเ้ ป็นยาระบาย และยงั สามารถใชเ้ ป็นยาเฉพาะท่ีสาหรับปัญหาทางผวิ หนงั หลายชนิด รวมถึง โรงผิวหนงั ผน่ื แผลไฟลวก แผลกดทบั และบาดแผลจากของมีคม กลีเซอรีนถูกใชเ้ พือ่ รักษาโรคเหงือกได้ ดว้ ย เนื่องจากกลีเซอรีนสามารถฆา่ เช้ือแบคทีเรียท่ีเกี่ยวขอ้ งได้ กลีเซอรีนอาจจะเรียกไดห้ ลายช่ือ เช่น glycerol, glycerin, หรือ 1,2,3-propanetriol กลีเซอรีน เป็น trihydric alcohol. หลอมเหลวท่ี 17.8 องศาเซลเซียส เดือดและสลายตวั ( Boil & decomposition) ที่ 290 องศาเซลเซียส
12 ละลายในน้าและ เอทานอล ดูดกลืนน้าจากอากาศ จึงนาไปทาเป็น moistener ในเคร่ืองสาอาง กลีเซอรีน จะ อยใู่ นรูปแบบของ (glycerides) ในไขและน้ามนั พชื และน้ามนั สตั ว์ กลีเซอรีน สามารถสังเคราะห์ไดจ้ าก Propylene และจากการหมกั น้าตาลดว้ ยsodium bisulfite และยสี ต์ (yeast) และมีการผลิตเพ่ิมข้ึนเรื่อยๆจากกระบวนการผลิตไบโอดีเซล ประโยชน์ของกลเี ซอรีน 1. เปรียบเสมือนเกราะป้องกนั ท่ีช่วยป้องกนั ผวิ ไมใ่ หเ้ กิดการระคายเคืองจากมลภาวะส่ิงแวดลอ้ มต่างๆ 2. ทางานร่วมกบั สารท่ีช่วยเพ่ิมความชุ่มช้ืนหรือน้ามนั ทาใหผ้ วิ ท่ีแหง้ รู้สึก นุ่มข้ึน 3. เพ่ิมความแขง็ แรงใหก้ บั เกราะของผวิ ในการกกั เก็บความชุ่มช้ืน 4. ช่วยใหส้ ่วนผสมหลายๆตวั ซึมลงสู่ผวิ ไดด้ ีข้ึน 5. ทาใหผ้ วิ ยดื หยนุ่ และดูอ่อนเยาวอ์ ยเู่ สมอ นอกจาก น้นั ยงั เป็นตวั กระตุน้ การทางานของ Aquaporin ซ่ึงทาใหช้ ่องทางลาเลียงน้าของเซลล์ น้นั สามารถทางานไดด้ ียง่ิ ข้ึน และยงั ช่วยรักษาระดบั ความชุ่มช้ืนในผวิ หนงั ไดด้ ีอีกดว้ ย กลีเซอรีนน้นั ถือวา่ เป็นส่วนผสมหน่ึงที่ปลอดภยั ต่อผวิ ของเรา หรือแมก้ ระทงั่ คนท่ีเป็นสิวง่ายกต็ าม นา้ ผงึ้ เป็นอาหารหวานที่ผ้งึ ผลิตโดยใชน้ ้าตอ้ ยจากดอกไม้ น้าผ้งึ มกั หมายถึงชนิดท่ีผลิตโดยผ้ึงน้าหวานใน สายพนั ธุ์ Apis เน่ืองจาก เป็ นผ้งึ เก็บน้าหวานใหค้ ุณภาพสูง และสามารถเล้ียงระบบกล่องได้ น้าผ้งึ มีประวตั ิ การบริโภคของมนุษยม์ ายาวนาน และถูกใชเ้ ป็นสารใหค้ วามหวานในอาหารและเคร่ืองด่ืมหลายชนิด น้าผ้งึ ยงั มีบทบาทในศาสนาและสญั ลกั ษณ์นิยม รสชาติของน้าผ้งึ แตกต่างกนั ตามน้าตอ้ ยที่มา และมีน้าผ้งึ หลาย ชนิดและเกรดท่ีสามารถหาได้
13 น้าผ้งึ ไดค้ วามหวานจากมอโนแซ็กคาไรด์ ฟรุกโทสและกลูโคส และมีความหวานประมาณเทียบได้ กบั น้าตาลเมด็ น้าผ้งึ มีคุณสมบตั ิทางเคมีที่ดึงดูดในการอบ และมีรสชาติพเิ ศษซ่ึงทาใหบ้ างคนชอบน้าผ้งึ มากกวา่ น้าตาลและสารใหค้ วามหวานอื่น ๆ จุลินทรียส์ ่วนมากไมเ่ จริญเติบโตในน้าผ้ึงเพราะมีคา่ แอกติวติ ี ของน้าต่าท่ี 0.6 อยา่ งไรกด็ ี บางคร้ังน้าผ้งึ กม็ ีเอนโดสปอร์ในระยะพกั ตวั ของแบคทีเรีย Clostridium botulinum ซ่ึงอาจเป็นอนั ตรายต่อทารก เพราะเอนโดสปอร์สามารถแปลงเป็นแบคทีเรียที่ผลิตชีวพษิ ใน ทางเดินอาหารท่ียงั ไม่เจริญเตม็ ที่ของทารก ซ่ึงทาใหเ้ กิดความเจบ็ ป่ วยและอาจถึงแก่ชีวติ ส่ วนประกอบทางเคมี น้าผ้งึ เป็นสารผสมของน้าตาลกบั สารประกอบอ่ืน น้าผ้งึ ส่วนใหญ่เป็นฟรุกโทส (ราว 38.5%) และกลูโคส (ราว 31.0%) ทาใหน้ ้าผ้งึ คลา้ ยกบั น้าเช่ือมน้าตาลอินเวริ ์ท (inverted sugar syrup) ท่ีผลิตเชิงสังเคราะห์ ซ่ึงมี ปริมาณฟรุกโทส 48% กลูโคส 47% และซูโครส 5% คาร์โบไฮเดรตท่ีเหลือในน้าผ้งึ มีมอลโทสและ คาร์โบไฮเดรตซบั ซอ้ นอื่น ๆ เช่นเดียวกบั สารใหค้ วามหวานท่ีบารุงสุขภาพทุกชนิด น้าผ้งึ ส่วนใหญ่เป็ น น้าตาลและมีวติ ามินหรือแร่ธาตุอยเู่ ลก็ นอ้ ย น้าผ้งึ ยงั มีสารประกอบหลายชนิดในปริมาณนอ้ ยซ่ึงคาดกนั วา่ ทา หนา้ ที่เป็นสารตา้ นอนุมูลอิสระ รวมถึงไครซิน พิโนแบคซ์ ิน วติ ามินซี คาตาเลสและพโิ นเซมบรินองค์ ประกอบที่เจาะจงของน้าผ้งึ แต่ละกลุ่มน้นั ข้ึนอยกู่ บั ดอกไมท้ ่ีผ้งึ ใชผ้ ลิตน้าผ้งึ น้าผ้งึ ตามแบบแผนการรักษา ตารับยาโบราณของไทย ไดม้ ีการสืบทอดกนั มา ตามสูตรยาสมุนไพร โบราณ มกั นามาใชแ้ ต่งกล่ินเจือรส ชูความง่ายในการรับประทาน เพราะส่วนมากสมุนไพรมกั มีรสฝาดและ ขม โดยน้าผ้งึ ใชท้ ้งั แต่รส ข้ึนรูป และเป็นส่วนประกบในยาแผนโบราณหลายชนิด ตามสรรพคุณ บารุงกาลงั บารุงธาตุ แกป้ วดหลงั ปวดเอว ทาใหแ้ หง้ ใชท้ ายาอายวุ ฒั นะ แต่งรส น้าผ้งึ มีรสหวานฝาด ร้อนเล็กนอ้ ยเราใชน้ ้าผ้งึ แต่งรสยาบางชนิด เช่น ยาแกไ้ ขท้ ี่มีรสขมมาก จนคนไขก้ ินไมไ่ ด้ เราตอ้ งใชน้ ้าผ้งึ ผสม ปรุงยา เป็นส่วนประกอบในการนาไปใช้ โดยน้าผ้งึ มาผสมกบั ยาผงใหเ้ หนียว เพ่ือป้ันเป็นลูกกลอน แตผ่ ปู้ รุงยาควรนาน้าผ้งึ ไปเค่ียวใหเ้ ดือดเพือ่ ฆา่ เช้ือโรค มิฉะน้นั ยาลูกกลอนจะข้ึนราภายหลงั ตามความเชื่อโบราณ น้าผ้งึ เดือน 5 เป็นน้าผ้งึ ที่ดีท่ีสุด เน่ืองดว้ ยอากาศท่ีแหง้ จึงทาใหน้ ้าผ้งึ มีความเขม้ ขน้ สูง ตามหลกั การแพทยแ์ ผนไทยแลว้ น้าผ้งึ มีประโยชน์มากมายกจ็ ริง แต่สาหรับผปู้ ่ วยบางราย แนะนาวา่ ไมค่ วร กินน้าผ้งึ แบบเขม้ ขน้ โดยไม่ผสมอะไรเลย
14 ประโยชน์ของนา้ ผงึ้ 1. ช่วยเพิม่ ความสดชื่นใหแ้ ก่ร่างกาย 2. มีสารต่อตา้ นอนุมูลอิสระ ช่วยชะลอวยั 3. ช่วยลดและป้องกนั การเกิดริ้วรอยแห่งวยั 4. ช่วยบารุงผวิ พรรณให้เปล่งปลงั่ สดใส ดูมีน้ามีนวลเป็นธรรมชาติ 5. พอกหนา้ ดว้ ยน้าผ้งึ ช่วยบารุงผวิ หนา้ ใหด้ ูอ่อนเยาว์ ชุ่มช่ืน และนุ่มนวล หลงั ลา้ งหนา้ เสร็จใหน้ า กลว้ ยหอมคร่ึงลูก นามาบดผสมรวมกบั น้าผ้งึ แลว้ นามาทาหนา้ ทิง้ ไวป้ ระมาณ 15 นาทีแลว้ ลา้ งออก 6. ช่วยบารุงรักษาผวิ หนา้ ที่แหง้ แตกลอกเป็นขยุ ดว้ ยการนาไข่แดง 1 ฟองผสมกบั น้าผ้งึ ผสม 1 ชอ้ น คนใหเ้ ขา้ กนั แลว้ นามาพอกหนา้ ทิง้ ไว้ 10 นาทีแลว้ ลา้ งออก 7. ช่วยบารุงสมอง ช่วยในเร่ืองของความจา 8. ช่วยปกป้องผวิ จากรังสี UV และช่วยเสริมสร้างเซลลผ์ วิ หนงั 9. ช่วยบารุงเส้นผมใหน้ ุ่มสวยเงางาม หลงั สระผมเสร็จใหน้ าน้าผ้งึ ผสมกบั น้ามะกอกอยา่ งละ 3 ชอ้ น โตะ๊ นามาชโลมใหท้ ว่ั ศีรษะทิง้ ไวป้ ระมาณ 5 นาทีแลว้ ลา้ งออก 10. ช่วยบารุงเสียงใหใ้ ส ลดอาการเจบ็ คอ 11. ช่วยลดสิวเส้ียน สิวอุดตนั บนใบหนา้ หลงั ลา้ งหนา้ ดว้ ยน้าอุน่ เสร็จแลว้ ใหน้ ากลว้ ยหอมคร่ึงลูก นามาบดผสมรวมกบั น้าผ้งึ แลว้ นามาทาหนา้ ทิง้ ไวป้ ระมาณ 15 นาทีแลว้ ลา้ งออก 12. นิยมนามาใชผ้ สมในเคร่ืองต่าง ๆ เช่น นม ชา กาแฟ โยเกิร์ต น้ามะนาว หรือแมก้ ระทง่ั เบียร์หรือ ไวน์ 13. นามาใชเ้ ป็นส่วนผสมในขนมหวานต่าง ๆ หรือผลิตภณั ฑ์ธญั พชื ตา่ ง ๆ 14. ใชน้ ้าผ้งึ แทนสารกนั บูดในน้าสลดั ซ่ึงจะทาใหน้ ้าสลดั ไม่เสียและเกบ็ ไดน้ านถึง 9 เดือน 15. น้าผ้งึ สามารถนามาแปรรูปทาเป็นผลิตภณั ฑ์ตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งหลากหลาย เช่น มาส์กหนา้ สบู่ เจลลา้ ง หนา้ สครับ เป็ นตน้ 16. น้าผ้งึ เป็นยาอายวุ ฒั นะ
15 17. ช่วยใหร้ ่างกายสมบูรณ์แขง็ แรง ตา้ นทานโรคต่าง ๆ ไดด้ ี 18. ช่วยเสริมสร้างการเจริญเติบโตในวยั เดก็ นา้ หอม นา้ หอม คือ สารละลายหอมระเหยทาจากน้ามนั กบั แอลกอฮอล์ มีกล่ินท่ีสกดั มาจากดอกไมใ้ นธรรมชาติหรือ กลิ่นท่ีสังเคราะห์ข้ึนมาผสมอยู่ ใชท้ าหรือพน่ ตามเส้ือผา้ หรือร่างกาย น้าหอมจะระเหยออกมาพร้อมกบั ส่ง กลิ่นหอมชวนดมออกมาดว้ ย มีหลายกล่ิน บางกล่ินเกิดจากการนากล่ินดอกไมห้ ลายชนิดมาผสมกนั หากลอง สังเกตขวดน้าหอมจะเห็นวลีภาษาฝร่ังเศสซ่ึงแสดงระดบั ความเขม้ ขน้ ของน้าหอมที่แตกต่างกนั โดยความ เขม้ ขน้ ของน้าหอมน้ีจะแสดงถึงความคงทนของกลิ่นหอม สามารถแบง่ ได้ 3 ระดบั - eau de parfum เป็นน้าหอมท่ีมีส่วนผสมของน้ามนั หอมประมาณ 15-18 เปอร์เซ็นต์ กล่ินติดทนนานได้ 4-5 ชว่ั โมง - eau de toilette เป็นน้าหอมท่ีมีส่วนผสมของน้ามนั หอมประมาณ 10 เปอร์เซ็นต์ กลิ่นติดทนนานได้ 2-3 ชวั่ โมง -eau de cologne เป็นน้าหอมที่มีส่วนผสมของน้ามนั หอมประมาณ 2-5 เปอร์เซ็นต์ กล่ินติดทนนานได้ 1-2 ชวั่ โมง น้าหอมยงั สามารถแบง่ ประเภทตามลกั ษณะของโทนกลิ่นไดด้ งั น้ี - Floral เป็นกล่ินดอกไม้
16 - Fruity เป็นกล่ินของผลไม้ รวมท้งั กล่ินของพืชตระกูลส้ม (citrus) - Green เป็นกลิ่นที่ใหค้ วามสดชื่นของทุ่งหญา้ และใบไมส้ ีเขียว - Herbaceous เป็นกล่ินของสมุนไพรหอมหลากหลายชนิด - Woody เป็นกลิ่นไอธรรมชาติและแมกไมน้ านาพรรณ - Amber เป็นกลิ่นท่ีคลา้ ยกบั กล่ินของอาพนั - Animalic เป็นกล่ินท่ีมีลกั ษณะคลา้ ยกบั กล่ินตวั หรือกล่ินเน้ือหนงั ของมนุษย์
17 บทท่ี 3 ข้นั ตอนการดาเนินงาน 3.1 อปุ กรณ์ทใี่ ช้ดาเนินงาน 1.แอปเปิ ล 6 ลูก 2.กลว้ ย 6 ลูก 3.แตงโม 1 ลูก 4.น้าเปล่า 150 มิลลิลิตร 5.น้าผ้งึ 1ขวด 6.น้าหอมกลิ่นผลไม้ 7.กลีเซอรีน 1 กิโลกรัม 8. กระชอน 9.หมอ้ 10.แม่พมิ พ์ 3.2 ข้นั ตอนการดาเนินงาน 1.ปอกเปลือกผลไมเ้ อาเฉพาะเน้ือผลไมป้ ่ันใหล้ ะเอียด เติมน้า 50 mL. 2.เม่ือปั่นเสร็จแลว้ ใหน้ าไปกรองเพอื่ เอากากทิ้ง 3.ต้งั หมอ้ ไฟออ่ น ๆไว้ นากลีเซอรีน จานวน 100 g. ใส่ลงในหมอ้ รอใหล้ ะลาย 4.นาน้าผลไมท้ ี่กรองไวเ้ ทใส่ลงในหมอ้ และคนเป็นเวลา 20 นาที 5.เม่ือคนเขา้ กนั แลว้ ใหใ้ ส่น้าหอมและใส่น้าผ้งึ ประมาณ 5 ชอ้ นชา 6.จากน้นั ทิ้งไว้ 10 นาที 7.เม่ือครบ 10 นาทีแลว้ ใหน้ าใส่แม่พิมพท์ ่ีไดเ้ ตรียมไว้ 8.รอประมาณ 1 วนั สบู่จะเร่ิมแขง็ ตวั แลว้ นามาใชไ้ ด้
18 บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน การวเิ คราะห์ขอ้ มูล สบู่จากผลไมข้ องนกั เรียนระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปี่ ท่ี 5/3 โรงเรียนปัว อาเภอปัว จงั หวดั น่าน ไดผ้ ลดงั น้ี รูปลกั ษณ์ของสบู่ สบู่จากแอปเปิ ล สบู่จากกล้วย สบู่จากแตงโม ขจัดคราบ สบู่จากกล้วย สบู่จากแตงโม สบู่จากแอปเปิ ล
บารุงผวิ 19 แตงโม แอปเปิ ล กล้วย สรุปผลการประเมิน เรียงลาดบั ตามความพงึ พอใจ 1.รูปลกั ษณ์ของสบูท่ ่ีเป็นที่นิยมสุด คือ สบูจ่ ากกลว้ ย แตงโม แอปเปิ ล 2.สบู่ที่สามารถขจดั คราบไดด้ ีท่ีสุดคือ สบูจ่ ากแอปเปิ ล แตงโม กลว้ ย 3.สบู่ที่บารุงผวิ ไดด้ ีที่สุด คือ สบูจ่ ากแอปเปิ ล กลว้ ย แตงโม
20 บทท่ี 5 สรุปอภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ 5.1 การดาเนินงานจัดทาโครงงาน 5.1.1 วตั ถุประสงค์ของโครงงาน เพื่อทาสบู่จากน้าผลไม้ 5.1.2 วสั ดุอปุ กรณ์ 1.แอปเปิ ล 6 ลูก 2.กลว้ ย 6 ลูก 3.แตงโม 1 ลูก 4.น้าเปล่า 150 มิลลิลิตร 5.น้าผ้งึ 1ขวด 6.น้าหอมกล่ินผลไม้ 7.กลีเซอรีน 1 กิโลกรัม 8. กระชอน 9.หมอ้ 10.แมพ่ ิมพ์ 5.2 สรุปผลการดาเนินงานโครงงาน การดาเนินงานโครงงาน สรุปไดว้ า่ จากการทาสบู่ผลไม้ ที่ใชแ้ อปเปิ ล กลว้ ย และแตงโมน้นั มี สรรพคุณท่ีทาใหผ้ วิ สะอาด ไม่แหง้ ตึง กาจดั สิ่งสกปรกไดอ้ ยา่ งหมดจด ซ่ึงมีค่า PH ที่เหมาะสม ไมท่ าร้ายผวิ นอกจากแอปเปิ ล กลว้ ย และแตงโมแลว้ ยงั สามารถนาผลไมอ้ ่ืน ๆมาเป็นส่วนผสมไดอ้ ีกและยงั สามารถนา สบู่ที่ไดน้ ้นั มาประกอบธุรกิจ สร้างรายไดไ้ ดอ้ ีกดว้ ย
21 5.3 ข้อเสนอแนะ 1 นอกจากแอปเปิ ล กลว้ ย และแตงโมแลว้ สามารถนาผลไมช้ นิดอ่ืน ๆมาเป็นส่วนผสมไดอ้ ีกดว้ ย 2 ถา้ ไม่แน่ใจวา่ สบูท่ ่ีเราใชน้ ้นั จะกดั ผวิ ทาร้ายผิวหรือไม่สามารถตรวจสอบค่า PH ได้
22 บรรณานุกรม Atom. วธิ ีการทาสบูจ่ ากผลไม.้ (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://mix8145.blogspot.com/2016/03/blog- post.html. 6 มีนาคม 2559. กองบรรณาธิการ HONESTDOCS. กลว้ ย. (ออนไลน)์ แหล่งที่มา : https://www.honestdocs.co/banana- types-and-benefits. 19 ก.ย. 2562. _______. แตงโม. (ออนไลน์). แหล่งท่ีมา : https://health.kapook.com/view32145.html. 6 ตุลาคม 2554. PAKOENGADM. กลีเซอรีนคืออะไร. (ออนไลน)์ . แหล่งท่ีมา : http://www.pakoengineering.com/blog - pressure-gauge/. 25 เมษายน 2561. MedThai. แอปเปิ ล. (ออนไลน)์ . แหล่งที่มา : https://medthai.com/แอปเปิ ล. 4 สิงหาคม 2560. พรรณพร กะตะจิตต.์ เคมี น้าหอม. (ออนไลน)์ . แหล่งที่มา : https://www.scimath.org/article- chemistry/item/7851-2018-02-22-02-20-01. 04 กรกฎาคม 2561. MedThai. น้าผ้งึ . (ออนไลน)์ . แหล่งที่มา : https://medthai.com/น้าผ้งึ . 6 กรกฎาคม 2556.
Search
Read the Text Version
- 1 - 26
Pages: