Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รูปแบบการเรียนรู้สมองเป็นฐาน

รูปแบบการเรียนรู้สมองเป็นฐาน

Published by way.way547, 2021-09-30 04:05:30

Description: รูปแบบการเรียนรู้สมองเป็นฐาน

Search

Read the Text Version

สาขาวชิ าภาษาไทย คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ชยั ภูมิ การจัดการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑ รูปแบบการเรยี นรูส้ มองเป็นฐาน (Brain based Learning: BBL)

คานา หนงั สือเลม่ น้ีจดั ทาข้ึนเพอ่ื เป็นส่วนหน่ึงของวชิ าวทิ ยาการจดั การเรียนรู้ ๑ เพอ่ื ใหไ้ ดศ้ ึกษาหาความรู้ในเร่ืองการจดั การเรียนรู้โดยใชส้ มองเป็นฐาน (Brain based Learning : BBL) และไดศ้ ึกษาอยา่ งเขา้ ใจเพ่อื เป็นประโยชนก์ บั การเรียนรู้ผจู้ ดั ทา ขอขอบพระคุณอาจารยท์ ี่ปรึกษา อาจารยร์ ัชกร ประสีระเตสัง ท่ีคอยใหค้ าแนะนาใน การทาหนงั สือเล่มน้ี ผจู้ ดั ทาหวงั วา่ รายงานเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์กบั ผอู้ า่ นหรือนกั เรียน นกั ศึกษาท่ีกาลงั หาขอ้ มูลเร่ืองน้ีอยู่ หากมีขอ้ แนะนาหรือขอ้ ผิดพลาดประการใด ผจู้ ดั ทาขอนอ้ มรับไวแ้ ละขออภยั มา ณ ท่ีน้ีดว้ ย คณะผจู้ ดั ทา ก

สารบัญ หน้า ก เรอ่ื ง ข คานา ๑ สารบญั ๑ ๒ ความหมายของการจดั การเรียนรู้โดยใชส้ มองเป็นฐาน หลกั การจดั การเรียนการสอน แบบ Brain Based Learning ๓-๔ การนานวัตกรรมและเทคโนโลยกี ารเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน ๕ ประยุกต์ในการบรหิ ารการศึกษา ๖ บทบาทผสู้ อนในการจดั การเรียนรู้โดยใชส้ มองเป็นฐาน ๗ บทบาทของผเู้ รียนในการจดั การเรียนรู้โดยใชส้ มองเป็นฐาน ๘-๑๗ ข้นั ตอนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้โดยใชส้ มองเป็นฐาน ๑๘ สรุปตอนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้โดยใชส้ มองเป็นฐาน ตวั อยา่ งแผนการจดั การเรียนรู้โดยใชส้ มองเป็นฐาน บรรณานุกรม ข

การเรยี นร้โู ดยใชส้ มองเปน็ ฐาน (Brain based Learning: BBL) Brain Based Learning คือ การใชค้ วามรู้ความเขา้ ใจที่เก่ียวขอ้ งกบั สมองเป็น เคร่ืองมือในการออกแบบกระบวนการเรียนรู้และกระบวนการอื่นๆ ที่เก่ียวขอ้ งเพอ่ื สร้างศกั ยภาพสูงสุดในการเรียนรู้ของมนุษย์ โดยเช่ือวา่ โอกาสทองของการเรียนรู้อยู่ ระหวา่ งแรกเกิด – ๑๐ ปี หลักการจัดการเรยี นการสอน แบบ Brain Based Learning Regate และ Geoffrey Caine นกั วจิ ยั เก่ียวกบั การเรียนรู้โดยใชค้ วามรู้เกี่ยวกบั สมองเป็นหลกั ไดเ้ สนอทฤษฎีเกี่ยวกบั การจดั การเรียนการสอน ๑๒ ขอ้ ดงั ต่อไปน้ี ๑) สมองเป็นกระบวนการคู่ขนาน ๒) สมองกับการเรยี นรู้ ๓) การเรยี นรมู้ มี าแตก่ าเนดิ ๔) รปู แบบการเรียนรู้ของบคุ คล ๕) ความสนใจมคี วามสาคัญต่อการเรยี นรู้ ๖) สมองมหี น้าทีส่ รา้ งกระบวนการเรยี นรู้ ๗) การเรยี นร้ใู นสิ่งทีส่ นใจสามารถรบั ร้ไู ด้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ๘) การเรยี นรู้เกิดขนึ้ ได้ทง้ั แบบท่มี ีจดุ ม่งุ หมายและไม่ได้ตง้ั ใจ ๙) การเรียนรทู้ ี่เกิดจากกระบวนการสร้างความเขา้ ใจ ๑๐) การเรียนรูเ้ กิดจากการมปี ฏิสมั พนั ธ์กับผอู้ น่ื ๑๑) สง่ เสริมใหผ้ ูเ้ รียนเผชิญกับสถานการณ์ที่กระตนุ้ ให้เกิดการเรียนรู้ ๑๒) สมองของบคุ คลมคี วามเท่าเทียมกัน ๑

การนานวตั กรรมและเทคโนโลยีการเรยี นรูโ้ ดยใชส้ มองเป็นฐาน( Brain Based Learning : BBL. ) ไปประยุกต์ใชใ้ นองค์กรในการบรหิ ารจัด การศึกษาไดด้ งั น้ี ๑. ในการเรียนการสอน เรียนรู้จากง่ายไปหายาก มีลาดบั และเช่ือมโยงกนั เสมอ ๒. วธิ ีการเรียนตอ้ งสนุกสนาน ไม่น่าเบ่ือ ๓. เนน้ ใหน้ กั เรียนไดใ้ ชค้ วามคิด ท้งั คิดวเิ คราะห์ คิดสงั เคราะห์ และใช้ จินตนาการพร้อมใหโ้ อกาสแสดงความคิดเห็น ๔. ในการเรียนรู้เพอื่ พฒั นากระบวนการคิด ควรจะฝึกใหเ้ ดก็ ไดป้ ฏิบตั ิดงั น้ี ๔.๑ ฝึกสังเกต ๔.๒ ฝึกบนั ทึก ๔.๓ ฝึกการนาเสนอ ๔.๔ ฝึกการฟัง ๔.๕ ฝึกการอา่ น ๔.๖ ฝึกการต้งั คาถาม ๔.๗ ฝึกการเช่ือมโยงทางความคิด ๔.๘ ฝึกการเขียนและเรียบเรียงความคิดเป็นตวั หนงั สือ ๒

บทบาทผ้สู อนในการจัดการเรียนรู้โดยใชส้ มองเป็นฐาน( Brain Based Learning : BBL. ) ครูจาเป็นต้องใชก้ ลวิธแี ละเทคนิคทห่ี ลากหลายเพ่อื กระตุน้ สมองของนกั เรียน ไม่มวี ิธี หรอื เทคนคิ ของใครสมบูรณท์ ีส่ ดุ ดงั นน้ั การสอนทดี่ ีต้องสอดคลอ้ งกบั การท่จี ะทาให้ผเู้ รียน เกิดการเรยี นร้ตู ามเปา้ หมายของการศึกษานั้น ขน้ึ อยกู่ ับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ เอื้อต่อการเรยี นรู้ ซ่ึงกระบวนการเรยี นรขู้ องบุคคลนน้ั มคี วามหลากหลายและแตกต่างกันไป ตามประสบการณแ์ ละความสามารถพื้นฐานของบุคคลนั้น ๆ หรือ Style การเรยี นรู้มี หลายรูปแบบ โดยพบว่าห้องเรยี นหน่งึ ๆ มกั จะมีผูถ้ นดั การเรียนรูอ้ ยู่ ๔ รปู แบบ คือ นกั ทฤษฎี นกั วเิ คราะห์ นักปฏิบัติ และนักกิจกรรม ดังนั้น ครูจงึ จาเป็นตอ้ งจัดกิจกรรมการ เรียนรใู้ ห้เหมาะสมและเอื้อต่อผูเ้ รียนท้ัง ๔ แบบอย่างเสมอภาคกนั เพือ่ ใหผ้ ูเ้ รยี นมีความ สนกุ สนานเกิดความสขุ ในการเรียนรตู้ ามรูปแบบท่ตี นถนัด รวมทัง้ ยังมีโอกาสพัฒนา ความสามารถด้านอนื่ ๆ ทีต่ นเองไมถ่ นดั ดว้ ยวิธกี ารหลากหลายอีกด้วย โดยอาจเร่มิ จากรจู้ ัก ผู้เรยี นเป็นรายบุคคลแล้ววางแผนจดั กิจกรรมการเรียนรู้ให้สอดคลอ้ งกับลักษณะของผู้เรยี น รวมทั้งสรา้ งโอกาสใหเ้ ขาไดพ้ ัฒนาตนเองอย่างต่อเน่อื ง ลกั ษณะการเรียนการสอนทด่ี ี มีดงั ต่อไปน้ี ๑. ตอ้ งคานึงถึงความแตกต่างระหวา่ งบุคคล ๒. เนน้ ความตอ้ งการของผเู้ รียนเป็นหลกั ๓. ตอ้ งพฒั นาคุณภาพชีวติ ของผเู้ รียน ๔. ตอ้ งเป็นที่น่าสนใจ ไม่ทาใหผ้ เู้ รียนรู้สึกเบ่ือหน่าย ๕. ตอ้ งดาเนินไปดว้ ยความเมตตากรุณาต่อผเู้ รียน ๖. ตอ้ งทา้ ทายใหผ้ เู้ รียนอยากเรียนรู้ ๓

๗. ตอ้ งตระหนกั ถึงเวลาท่ีเหมาะสมที่ผเู้ รียนจะเกิดการเรียนรู้ ๘. ตอ้ งสร้างสถานการณ์ใหผ้ เู้ รียนไดเ้ รียนรู้ โดยการปฏิบตั ิจริง ๙. ตอ้ งสนบั สนุนส่งเสริมการเรียนรู้ ๑๐. ตอ้ งมีจุดมุ่งหมายของการสอน ๑๑. ตอ้ งสามารถเขา้ ใจผเู้ รียน ๑๒. ตอ้ งคานึงถึงภูมิหลงั ของผเู้ รียน ๑๓. ตอ้ งไม่ยดึ วิธีการใดวธิ ีการหน่ึงเท่าน้นั ๑๔. การเรียนการสอนที่ดีเป็นพลวตั ร (Dynamic) คือ มีการเคล่ือนไหว เปลี่ยนแปลง อยตู่ ลอดเวลา ท้งั ในดา้ นการจดั กิจกรรม การสร้างบรรยากาศ รูปแบบ เน้ือหาสาระ เทคนิควธิ ี ฯลฯ ๑๕. ตอ้ งสอนในสิ่งท่ีไม่ไกลตวั ผเู้ รียนมากเกินไป ๑๖. ตอ้ งมีการวางแผนการเรียนการสอนอยา่ งเป็นระบบ ดงั น้นั การเรียนรู้ของผเู้ รียนจะมีประสิทธิภาพมากยงิ่ ข้ึน ถา้ ผวู้ างแผน การเรียนรู้ ได้ คานึงถึงลกั ษณะการเรียนรู้ที่ดี วิธีการเรียนรู้ หลกั การเรียนรู้ท่ีมีประสิทธิภาพ หลกั การสอนที่มีประสิทธิภาพและลกั ษณะการเรียนการสอนท่ีดี ๔

บทบาทของผู้เรียนในการจัดการเรยี นร้โู ดยใชส้ มองเป็นฐาน( Brain Based Learning : BBL. ) บทบาทของผู้เรียน ๑. ผเู้ รียนจะมีบทบาทเป็นผปู้ ฎิบตั ิและสร้างความรู้ไปพร้อมๆกนั ๒. มีปฏิสัมพนั ธ์กบั ผเู้ รียนดว้ ยกนั โดยใชก้ ระบวนการกลมุ่ แลกเปล่ียนเรียนรู้ ยอมรับความคิดเห็นของผอู้ ื่น ฝึกความเป็นผนู้ าและผตู้ ามท่ีดี ๓. มีความกระตือรือร้นในการเรียนรู้มีความยนิ ดีร่วมกิจกรรมทุกคร้ังดว้ ยความสมคั ร ใจ ๔. เรียนรู้ไดเ้ องกลา้ แสดงออก กลา้ เสนอความคิดอยา่ งสร้างสรรคร์ ู้จกั แสวงหา ความรู้จากแหล่งความรู้ต่างๆที่มีอยดู่ ว้ ยตนเอง ๕. ตดั สินปัญหาต่างๆอยา่ งมีเหตุผลเคารพกติกาทางสงั คม รับผดิ ชอบต่อส่วนรวม ๖. มีความสามารถในการเช่ือมโยงความรู้เดิมเขา้ กบั ความรู้ใหม่ มีผลงานที่ สร้างสรรค์ ๗. วิเคราะห์พฤติกรรมของตนเองและผอู้ ่ืนได้ ๘. ใหค้ วามช่วยเหลือกนั และกนั รู้จกั รับผดิ ชอบงานที่ตนเองทาอยแู่ ละท่ีไดร้ ับ มอบหมาย ๙. นาส่ิงท่ีเรียนรู้ไปประยกุ ตใ์ ชป้ ระโยชน์ในชีวติ จริงไดน้ ้นั ๑๐. มีเจตนคติท่ีดีต่อการเรียนรู้ รักการอ่าน กลา้ ซกั ถาม ๑๑. มีการบนั ทึกความรู้อยา่ งเป็นระบบ สามารถนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ได้ ๕

ขั้นตอนการจดั กิจกรรมการเรยี นรโู้ ดยใช้สมองเป็นฐาน วิมลรตั น์ สนุ ทรโรจน์ (วมิ ลรตั น์ สุมทรโรจน์. ๒๕๕๐ ; อา้ งองิ มาจาก นริ าศ จันทรจติ ร. ๒๕๕๓ : ๓๓๙-๓๔๑) จึงได้เสนอกรอบในการจัดกิจกรรมตามลาดบั ขน้ั ตอนการเรียนรู้ ดงั นี้ ๑. ขัน้ นาเขา้ สู่บทเรียน เปน็ ข้ันท่คี รูวางแผนในการสนทนากับนักเรยี น เพอ่ื เตรียมความ พรอ้ มใหเ้ ขา้ ใจในสิ่งทจ่ี ะเรยี น และสามารถเชอ่ื มโยงไปสู่เรอ่ื งทีจ่ ะเรยี นได้ ๒. ขน้ั ตกลงกระบวนการเรียนรู้ เปน็ ขน้ั ท่คี รูและนกั เรยี นตกลงร่วมกนั วา่ นกั เรยี นจะตอ้ ง ทากิจกรรมใดบ้าง อย่างไร และจะมีวธิ วี ัดและประเมินผลอย่างไร ๓. ข้นั เสนอความรู้ใหม่ เปน็ ข้นั ที่ครจู ะต้องเช่อื มโยงประสบการณ์การต่าง ๆมาสร้างองค์ ความรู้ใหม่ คือ การสอนหรอื การสร้างความคดิ รวบยอดใหแ้ กน่ ักเรียน จนเกิดความรู้ ความเข้าใจในส่งิ ทีเ่ รยี น ๔. ข้นั ฝกึ ทกั ษะ เป็นขน้ั ทน่ี ักเรียนเขา้ กล่มุ แล้วร่วมมือกนั เรยี นรู้ และสร้างผลงาน ๕. ข้ันแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ เปน็ ขั้นที่ตวั แทนแต่ละกลมุ่ ทีไ่ ดจ้ ากการจับสลาก ออกมาเสนอ ผลงาน เพื่อเป็นการแลกเปล่ียนเรยี นรู้ ๖. ขัน้ สรุปความรู้ เป็นขัน้ ทคี่ รูและนกั เรยี นร่วมกนั สรุปความรูแ้ ล้วให้นักเรยี นทาใบงาน เปน็ รายบคุ คล แล้วเปลี่ยนกันตรวจโดยครแู ละนักเรียนร่วมกนั เฉลย แล้วใหน้ กั เรยี นแต่ ละคนปรับปรงุ ผลงานตนเอง ใหถ้ ูกตอ้ งครรู บั ทราบแลว้ เก็บผลงานไวใ้ นแฟ้มสะสมงาน ของตนเอง ๗. ขน้ั กิจกรรมเกม เป็นข้นั ท่ีครูจัดทาข้อสอบมาใหน้ กั เรยี นทาเปน็ รายบคุ คลโดยไม่ ซักถามกนั ส่งเปน็ กลมุ่ แล้วเปลีย่ นกนั ตรวจเปน็ กลมุ่ โดยครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั เฉลยแล้ว ให้แตล่ ะกลมุ่ หาคา่ คะแนนเฉลยี่ บอกครูบันทึกไว้แลว้ ประกาศผลเกม กลมุ่ ใดได้คะแนน เฉลี่ยสงู ทสี่ ุดเป็นกลมุ่ ชนะเลิศ ๖

สรุปขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน การจัดกิจกรรมทั้ง ๗ ขน้ั ตอนน้ี เป็นกจิ กรรมประสมประสานระหว่างการใช้ กระบวนการกลมุ่ แผนผงั ความคดิ ใบงาน และเกม เปน็ หลกั การท่ีมงุ่ ใหผ้ เู้ รยี นไดล้ งมอื ทาเองไดฝ้ ึกฝนซา้ ในเร่อื งเดิมทาให้นักเรยี นเกดิ การเรยี นรู้ และจดจาไดแ้ มน่ ยา ซ่งึ สอดคลอ้ งกับหลกั การการจัดการเรยี นรู้ทเี่ น้นผูเ้ รยี นเปน็ สาคญั และยงั สอดคล้องกับ หลกั การเรยี นของ BBL (Brain Based Learning) คือการเรียนเร่ืองเดิมโดยใช้ กิจกรรมที่หลากหลาย เพื่อช่วยใหน้ กั เรียนเกิดการเรียนรู้ ไดแ้ ม่นยา และจาไดน้ าน ๗

แผนการจดั การเรยี นรโู้ ดยใชส้ มองเปน็ ฐาน กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๑ เรือ่ ง ใบโบก ใบบวั เวลา ๑๕ ชวั่ โมง แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๑ เรื่อง การอ่านและเขยี นสะกดคา สอนวนั ท.่ี .........เดอื น...................... พ.ศ................. เวลา ๒ ชั่วโมง ๑. สาระสาคญั การเรยี นรูภ้ าษาไทยในขนั้ ต้น ต้องเรยี นรูเ้ รอ่ื งพยญั ชนะ สระเบ้ืองต้น (สระอา สระอี สระอู) และการฝกึ สะกดคาแจกลกู จะชว่ ยให้การอา่ นและเขียนคาไดอ้ ย่างถูกต้อง ๒. มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระที่ ๑ การอา่ น มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสรา้ งความรแู้ ละความคดิ เพ่อื นาไปใช้ตัดสนิ ใจ แกป้ ัญหาในการดาเนนิ ชวี ิตและมีนสิ ยั รกั การอา่ น ตัวชวี้ ัดท่ี ๑. อ่านออกเสียงคา คาคลอ้ งจอง และขอ้ ความสน้ั ๆ ตวั ช้ีวดั ที่ ๒. บอกความหมายของคา และขอ้ ความที่อ่าน สาระที่ ๒ การเขียน มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชก้ ระบวนการเขยี นสื่อสาร เขยี นเรียงความ ยอ่ ความ และเขียน เร่อื งราวในรปู แบบต่าง ๆ เขียนรายงานขอ้ มูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคน้ คว้าอย่าง มีประสทิ ธภิ าพ ตัวชีว้ ัดที่ ๒. เขียนส่ือสารด้วยคาและประโยคง่าย ๆ ตัวชวี้ ดั ท่ี ๓. มีมารยาทในการเขยี น สาระท่ี ๔ หลกั การใชภ้ าษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลีย่ นแปลงของ ภาษาและพลังของภาษา ภมู ิปญั ญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบตั ขิ องชาติ ตัวช้ีวัดท่ี ๒ เขียนสะกดคาและบอกความหมายของคา ๘

๓. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ๓.๑ นกั เรียนอ่านออกเสียงคาที่ประสมสระอา อี อู ไดถ้ กู ตอ้ ง ๓.๒ นกั เรียนเขียนคาที่ประสมสระอา อี อู ไดถ้ ูกตอ้ ง ๓.๓ นกั เรียนมีมารยาทในการอา่ นและเขียนคาที่ประสมสระอา อี อู ไดถ้ ูกตอ้ ง ๔. สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน ๔.๑ ความสามารถในการส่ือสาร ๔.๒ ความสามารถในการแกป้ ัญหา ๔.๓ ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ ๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๕.๑ มีวินยั ๕.๒ ใฝ่ เรียนรู้ ๕.๓ มุ่งมนั่ ในการทางาน ๖. สาระการเรยี นรู้ การอ่านและเขียนคาที่ประสมสระอา อี อู ๗. กระบวนการจดั การเรียนรู้ ชวั่ โมงท่ี ๑ ๗.๑ ขน้ั นาเขา้ สู่บทเรยี น ๗.๑.๑ ครูและนกั เรียนร่วมกนั สนทนาเกี่ยวกบั ชา้ งแลว้ โยงไปช่ือเร่ือง “ใบโบก ใบ บวั ” ๗.๑.๒ ครูร้องเพลงชา้ งใหน้ กั เรียนฟังแลว้ ใหน้ กั เรียนฝึกร้องตามพร้อมปรบมือเป็น จงั หวะหลาย ๆ เที่ยว ๗.๑.๓ ครูแจง้ จุดประสงคข์ องการเรียนใหน้ กั เรียนทราบวา่ จะเรียนเรื่องการอ่านและ เขียนคาท่ีประสมสระอา อี อู ๙

๗.๒ ขน้ั การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ๗.๒.๑ ครูและนกั เรียนร่วมกนั ท่องบทร้องเลน่ ปูดา และเพลง จบั ปูดา พร้อมท้งั ขยบั กายเคล่ือนไหวและทาท่ากายบริหารอยา่ งอิสระตามจงั หวะเพลง เพลง จบั ปูดา จับปดู า ขยาปนู า จับปูม้า คว้าปทู ะเล สนุกจริงเอยแลว้ เลยนอนเปล ชะโอละเห่ นอนในเปลหลบั ไป ๗.๒.๒ ครแู ละนักเรียนวางแผนการเรยี นรรู้ ่วมกันและการปฏิบตั กิ ิจกรรมทน่ี กั เรียน ตอ้ งปฏบิ ตั ิเช่นการศึกษาคน้ ควา้ จากบัตรคาศัพท์ ๗.๒.๓ นกั เรียนฝึกอา่ นแจกลกู และอา่ นสะกดคาท่ีประสมดว้ ยสระอา อี อู ๗.๓ ขน้ั เสนอความรู้ ๗.๓.๑ ครูยกตวั อยา่ งคาที่ประสมสระอา อี อู ใหน้ กั เรียนดูโดยชูบตั รคาศพั ท์ แลว้ ให้ นกั เรียนอ่านคาศพั ทจ์ นคล่อง ๗.๓.๒ ครูอธิบายถึงคาที่ประสมดว้ ยสระอา อี อู ๗.๔ ข้นั ฝกึ ทักษะ ๗.๔.๑ นกั เรียนเขา้ กลุ่มกลุม่ ละ ๓ คนเป็น ๑๐ กล่มุ โดยคละความสามารถ แลว้ ส่ง ตวั แทนมารับใบความรู้ และแบบฝึกทกั ษะการเขียนแจกลูกคาที่ครูมอบหมายใหแ้ ลว้ ร่วมมือกนั เรียนรู้ และสร้างผลงานร่วมกนั ๑

ชั่วโมงที่ ๒ ๗.๕ ขัน้ แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ ๗.๕.๑ นกั เรียนแต่ละกลมุ่ นาแบบฝึกทกั ษะไปแลกเปล่ียนกบั กล่มุ อ่ืน เพื่อเปล่ียนกนั ตรวจใหค้ ะแนน ๗.๕.๒ ครูและนกั เรียนร่วมกนั เฉลยกิจกรรม ๗.๖ ข้ันสรปุ ความรู้ ๗.๖.๑ ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปการอ่านและการเขียนคาท่ีประสมดว้ ยสระอา อี อู ๗.๗ ขนั้ กจิ กรรมเกม ๗.๗.๑ ครูถามนกั เรียนทีละกลมุ่ เก่ียวกบั คาท่ีประสมดว้ ยสระอา อี อู วา่ มีคา อะไรบา้ ง และอ่านคาจากบตั รคากนั อีกคร้ัง ๗.๗.๒ ประกาศผลกลุม่ ใดไดค้ ะแนนเฉล่ียสูงที่สุดเป็นกล่มุ ชนะเลิศ ๘. ส่ือ/แหลง่ เรยี นรู้ ๘.๑ เพลงชา้ ง ๘.๒ เพลง จบั ปูดา ๘.๓ บตั รคาศพั ท์ ๘.๔ ใบความรู้ ๘.๕ แบบฝึกทกั ษะ ๑๑

๙. การวัดผลและประเมนิ ผล วธิ กี ารวดั ๑. สังเกตการณ์ปฏิบตั ิกิจกรรมกลมุ่ ๒. ตรวจใบงาน เครอื่ งมือ ๑. แบบสังเกตการณ์ปฏิบตั ิกิจกรรมกลุ่ม ๒. เกณฑก์ ารตรวจใบงาน เกณฑก์ ารประเมินผล ๑. นกั เรียนปฏิบตั ิกิจกรรมกลุม่ ผา่ นเกณฑก์ ารประเมินท่ีกาหนด ๒. นกั เรียนทุกคนมีคะแนนเฉล่ียไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ ๘๐ จึงจะถือวา่ ผา่ นเกณฑร์ ้อย ละ ๘๐ ๑๐. บนั ทึกผลหลังกระบวนการเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................ ปัญหา / อปุ สรรค .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................ ขอ้ เสนอแนะ / แนวทางแกไ้ ข .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................ ลงช่ือ........................................ผสู้ อน (..........................................) วนั ท่ี.............เดือน..................พ.ศ.......... ๑๒

บนั ทกึ ข้อเสนอแนะของผบู้ ริหาร ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................... ลงช่ือ........................................... (......................................................) ตาแหน่ง......................................... วนั ที่.........เดือน..............พ.ศ.............. ๑๓

เพลงชา้ ง ชา้ ง ช้าง ช้าง นอ้ งเคยเหน็ ชา้ งหรือเปลา่ ชา้ งมนั ตวั โตไมเ่ บา จมกู ยาวยาว เรียกว่า งวง มเี ขย้ี วใตง้ วง เรียกวา่ งา มหี ู มีตา หางยาว ๑๔

บตั รคาศพั ท์ ๑๕

ใบความรู้ คาช้แี จง ใหน้ ักเรยี นฝกึ อา่ นสะกดคา หลาย ๆ รอบให้ คลอ่ ง อา่ นสะกดคา คา พยญั ชนะ สระ สะกดวา่ อ่านว่า ตา ต -า ตอ – อา ตา งา ง -า งอ – อา งา มา ม -า มอ – อา มา ขา ข -า ขอ – อา ขา มี ม -ีี มอ – อี มี ดู ด -ูี ดอ – อู ดู หู ห -ูี หอ – อู หู ฝึกอ่าน มาดู หูกา งาดี มขี า ตามา ๑๖

ใบงานการเขยี นสะกดคา คาช้แี จง จงประสมคาจากพยัญชนะทีก่ าหนดให้กับสระอา อี และสระ อู ง + า =.... ต + า =..... ม + -ีี =..... ป + -ีี =..... ร + -ูู=..... ง + -ีู =..... ๑๗

บรรณานุกรม นายธรี พงษ์ แสงสิทธิ์.(2550).การเรียนรู้โดยใชส้ มองเป็นฐาน (Brain based Learning: BBL).สบื ค้นจาก https://sob kroo.com / articledetail.asp?id=804. ประภสั รา โคตะขุน. (2551).การจัดการเรียนรู้โดยใชส้ มองเป็นฐาน (Brain based Learning : BBL).สืบคน้ จาก https://sites.google.com/site/prapasara/2-12. นาย บุญสง่ ขนั ทอง.(2553).การเรยี นร้โู ดยใชส้ มองเปน็ ฐาน ( Brain Based Learning : BBL ).สืบค้นจาก https://www.gotoknow.org/posts/334320 ๑๘

คณะผูจ้ ัดทา นางสาวณฐั ชยา ภมร รหัสนักศึกษา ๖๓๑๕๐๖๑๐๘ นางสาววราภรณ์ สมหวงั รหสั นักศึกษา ๖๓๑๕๐๖๑๒๑ นางสาวศศกิ านต์ หนาจตั รุ สั รหัสนักศึกษา ๖๓๑๕๐๖๑๒๓ นางสาวสชุ าวดี แพงไทย รหัสนกั ศึกษา ๖๓๑๕๐๖๑๒๖ นางสาวสุภสั ตรา ไชยไข รหัสนักศกึ ษา ๖๓๑๕๐๖๒๒๘ คณะครุศาสตร์ สาขาวชิ าภาษาไทย มหาวิทยาลัยราชภฏั ชยั ภมู ิ ๑๙


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook