Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการทำโครงงาน (แก้ไข)

คู่มือการทำโครงงาน (แก้ไข)

Published by jackymavin_555, 2022-07-22 06:23:04

Description: คู่มือการทำโครงงาน (แก้ไข)

Search

Read the Text Version

48 6. สารบัญ - คำว่า “สารบญั ” ตัวหนังสอื สดี ำแบบหนา ใชแ้ บบตวั อักษรเป็น TH SarabunPSK ขนาด 20 pt ส่วนขอ้ ความอื่น ขนาด 16 pt แบบปกติ ยกเวน้ ชอื่ บทที่ ใช้แบบหนา 7. สารบญั ตาราง - คำว่า “สารบัญตาราง” ตัวหนังสือสีดำแบบหนา ใช้แบบตัวอักษรเปน็ TH SarabunPSK ขนาด 20 pt สว่ นข้อความอน่ื ขนาด 16 pt แบบปกติ 8. สารบัญภาพ - คำวา่ “สารบญั ภาพ” ตัวหนังสือสีดำแบบหนา ใช้แบบตวั อกั ษรเป็น TH SarabunPSK ขนาด 20 pt สว่ นขอ้ ความอนื่ ขนาด 16 pt แบบปกติ 9. รายการสญั ลกั ษณ์และคำย่อ (ถ้ามี) - คำว่า “รายการสัญลักษณ์และคำย่อ” ตัวหนังสือสีดำแบบหนา ใช้แบบตัวอักษรเป็น TH SarabunPSK ขนาด 20 pt สว่ นขอ้ ความอนื่ ขนาด 16 pt แบบปกติ ขอ้ กำหนดพเิ ศษ - การต้งั คา่ หน้ากระดาษ Top 3.75 cm หรอื 1.5 นวิ้ Bottom 2.50 cm หรือ 1 นิ้ว Left 3.75 cm หรอื 1.5 นวิ้ Right 2.50 cm หรือ 1 น้วิ - ชอ่ื บทท่ี ตวั หนังสอื สีดำแบบหนา ใช้แบบตัวอักษรเป็น TH SarabunPSK ขนาด 20 pt - รายละเอียดเนื้อหาแต่ละบท ในส่วนหัวข้อหลัก ตัวหนังสือสีดำแบบหนา ใช้แบบตัวอักษรเปน็ TH SarabunPSK ขนาด 18 pt หัวข้อยอ่ ย ตวั หนงั สือสีดำแบบหนา ใช้แบบตัวอกั ษรเปน็ TH SarabunPSK ขนาด 16 pt ส่วนขอ้ ความอนื่ ขนาด 16 pt แบบปกติ - การแสดงขอ้ มลู เปน็ ตาราง ใหเ้ ขียนชื่อ ตารางที่ …. (TH SarabunPSK ขนาด 16 pt แบบหนา) ไว้ดา้ นบนของตารางนั้น ๆ - การแสดงข้อมลู เป็นภาพ ใหเ้ ขียนชอ่ื รูปภาพท่ี…. (TH SarabunPSK ขนาด 16 pt แบบหนา) ไว้ ดา้ นลา่ งของรูปนน้ั ๆ - ตงั้ แต่บทที่ 1 ถึงประวตั ิผเู้ ขียน ใหใ้ ส่เลขหน้า ทีต่ ำแหนง่ ชดิ ขอบขวา ด้านบนของกระดาษ ใน รปู แบบ เลขหน้า 1,2,3,… (ไม่แสดงเลขหน้าในหน้าแรกของบทที่ , บรรณานกุ รม, ภาคผนวก, ประวตั ิ ผู้เขยี น) ใชแ้ บบตัวอกั ษรเปน็ TH SarabunPSK ขนาด 16 pt แบบปกติ

49 10. บทที่ 1 บทนำ 1.1 ความเปน็ มาของปัญหา กล่าวถงึ ที่มาของโครงงานซง่ึ เกิดจากความสนใจ มแี นวคิดอย่างไรหรอื ได้มกี ารพัฒนาระบบงานเดิม ท่มี ี อยแู่ ลว้ ใหด้ ขี ้นึ กวา่ อยา่ งไร มกี ารเขียนความยาวไม่เกิน 1 หน้ากระดาษ A4 โดยอาจแบง่ การเขยี น ออกเป็น 3 ยอ่ หน้า คอื ย่อหนา้ ท่ี 1 ให้อธบิ ายถงึ ความเป็นมาของเรอ่ื งทท่ี ำโครงงาน ย่อหนา้ ที่ 2 ให้อธิบายถึงปญั หาที่เกดิ ขึน้ ในปจั จุบนั ทส่ี ืบเน่ืองมาจากยอ่ หนา้ ที่ 1 ย่อหนา้ ท่ี 3 ให้อธบิ าย โครงงานท่จี ะทำว่าสามารถแก้ไขปญั หาท่กี ล่าวถงึ ในย่อหนา้ ที่ 2 ไดอ้ ยา่ งไร 1.2 วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงงาน เขียนเปน็ ขอ้ ๆ โดยเขียนขนึ้ ต้นดว้ ย “เพอ่ื ” โดยเขยี นในเชงิ พฤติกรรม หมายความว่า สามารถวัด ได้ ตวั อยา่ งเช่น 1.2.1 เพื่อพัฒนาเว็บไซตส์ ง่ เสรมิ การท่องเท่ยี วเมืองพทั ยา 1.2.2 เพ่ือประชาสมั พนั ธ์แหลง่ ท่องเทยี่ วของเมืองพัทยาใหเ้ ป็นทร่ี จู้ กั มากยงิ่ ขึน้ 1.2.3 เพอ่ื เพมิ่ ชอ่ งทางในการค้นหาข้อมูลเกย่ี วกบั แหลง่ ท่องเทย่ี วเมืองพัทยา 1.2.4 เพ่ือใหผ้ ู้เข้าชมสามารถนำขอ้ มลู ไปใช้ประกอบการตดั สนิ ใจในการมาทอ่ งเท่ียวใน เมอื งพทั ยา 1.3 ขอบเขตของการศึกษา ขอบเขตของโครงงาน คอื ความต้องการของผ้จู ัดทำ ว่าต้องการใหโ้ ครงงานทำอะไรได้บ้าง โดยตอ้ ง ระบุให้ชัดเจน ซึ่งจะเป็นขอ้ ตกลงระหว่างผูจ้ ัดทำและคณะกรรมการประเมินการสอบโครงงาน อาจารย์ท่ี ปรึกษาโครงงาน อาจารย์ประจำวิชา ผู้จัดทำจะต้องทำให้สำเร็จตามขอบเขต โดยคณะกรรมการประเมิน การสอบโครงงานจะตรวจใหค้ ะแนนตามขอบเขตที่กลา่ วไวท้ ุกขอ้ จงึ จะมผี ล ผ่าน หรอื ถ้าทำไม่ได้อย่างไร จะต้องบอกเหตผุ ลไดว้ ่า ทำไม่ไดเ้ พราะอะไร และมแี นวทางในการแกไ้ ขอยา่ งไร 1.4 สมมตุ ิฐานของโครงงาน ข้อมูลทเี่ ป็นผลลัพธห์ รอื สิง่ ทีค่ าดคะเนทจี่ ะเป็นคำตอบไวล้ ่วงหน้า ตวั อย่างเชน่ 1.4.1 นกั ศกึ ษามคี วามพึงพอใจเกยี่ วกบั ผลติ ภัณฑ์ส่ิงค้าเครอื่ งทอผ้า อยใู่ นระดบั ความพึงพอใจ ระดบั มากทส่ี ดุ 1.5 ประโยชนท์ ี่คาดว่าจะไดร้ ับ โครงงานที่จัดทำขึ้นมามีประโยชน์อย่างไรกับสมาชิกผู้จัดทำและผู้ที่ศึกษา สามารถนำไปใช้ใน ชวี ิตประจำวนั ไดอ้ ย่างไร โดยเขยี นเปน็ ข้อๆ และสอดคล้องกับวตั ถปุ ระสงค์ของโครงงาน ตัวอย่างเช่น . 1.5.1 ผ้เู ข้าชมเว็บไซต์ไดร้ ับรู้ข้อมลู เกีย่ วกับแหล่งท่องเที่ยวของเมอื งพทั ยา 1.5.2 ผเู้ ขา้ ชมเวบ็ ไซตไ์ ดร้ ู้ถึงท่ีตัง้ ของแหล่งท่องเท่ยี วของเมืองพัทยา

50 1.5.3 ผเู้ ข้าชมเวบ็ ไซตส์ ามารถนำข้อมูลไปใชป้ ระกอบการตัดสินใจในการมาท่องเที่ยวเมืองพัทยา 1.5.4 มีจำนวนนกั ทอ่ งเทีย่ วมาทอ่ งเท่ยี วในเมอื งพทั ยามากยิง่ ข้ึน 1.6 นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ เป็นการเขยี นอธบิ ายความหมายของคำ กลมุ่ คำ ข้อความ หรอื ตัวแปรที่ศกึ ษาเพอื่ ส่ือความหมาย ให้เข้าใจตรงกันระหว่างผู้วิจัยกับผู้อ่าน การนิยามศัพท์เฉพาะถือ เป็นส่วนหนึ่งในการนิยามหรือการชี้ เฉพาะเจาะจงปญั หาการวิจัย ตัวอย่างเชน่ ตัวแปร แรงจูงใจใฝ่สมั ฤทธิ์ เชาว์ปญั ญาทาง อารมณ์ ความพึง พอใจในการบรกิ าร เจตคตติ ่อสินค้า เป็นตน้ 1.7 กรอบแนวความคดิ กรอบของการวิจัยทีเ่ ปน็ ผลสรปุ จากการศึกษาและทดลองทฤษฎีที่เก่ียวข้องกับหัวข้อการวิจัย ซึ่ง ประกอบด้วยตวั แปรต้นและตัวแปรตาม การระบคุ วามสัมพันธ์ระหวา่ งตวั แปร ซงึ่ ผูเ้ สนอจะสรุปเป็นแนวคิด ของตัวเอง สำหรับการดำเนินการวิจัยของตน ผู้วิจัยจะต้องมีกรอบพื้นฐานทางทฤษฎีทีเ่ กีย่ ข้องกบั ปัญหา และมมี โนภาพ (Concept) ในเรอ่ื งเหล่านั้น เพ่อื นำมาประมวลเปน็ กรอบการวิจยั เพื่อพัฒนาการกำหนดตัว แปรและรูปแบบความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งตวั แปรตา่ ง ๆ เพอ่ื พัฒนาเปน็ แบบจำลอง 11. บทท่ี 2 เอกสารและทฤษฎที ่เี กีย่ วข้อง ( เอกสารและทฤษฎี ของเนื้อหา โครงงานที่เกี่ยวข้อง ระดับ ปวช. 5 เล่ม/เรื่อง ระดับ ปวส. 7 เล่ม/เรอื่ ง ) การศกึ ษาโครงงาน เรอ่ื ง............... ผู้จดั ทำโครงงานไดศ้ กึ ษาเอกสารและทฤษฎที ี่เกี่ยวขอ้ ง ดงั นี้ 2.1…… 2.2…… 2.3…… 2.n…… 12. บทที่ 3 วิธกี ารดำเนินงาน ในการดำเนินการศึกษาครั้งนี้ คณะผู้จัดทำโครงงานได้ศึกษาข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับชื่อเรื่อง .................... และได้ดำเนินการตามขัน้ ตอน ดังนี้ 3.1 การศึกษาขอ้ มูลเบ้อื งตน้ ควรอ้างขอ้ มูลเบื้องต้นที่ดำเนินการศึกษาค้นคว้า เชน่ เคร่ืองจกั ร เครอ่ื งมอื ปัจจบุ ัน เปน็ แบบขนาด ท่เี ปน็ ส่งิ ประดษิ ฐ์หรือนวตั กรรม การทดลองหรือการพัฒนา การสำรวจหรอื ทฤษฎี เป็นตน้ จะเกิดประโยชน์ อย่างไร 1……………. 2……………. 3…………….

51 3.2 วัสดุ อปุ กรณ์ เครื่องมอื ท่ใี ช้ในการสร้างช้ินงาน สิง่ ประดิษฐ์ หรอื เครื่องมือ เครือ่ งมือและอุปกรณ์ท่ีคาดว่าจำเป็นต้องใช้ มีอะไรบา้ ง ดังตัวอยา่ ง เชน่ 1. เคร่ืองคอมพิวเตอร์ จำนวน 1 เครอื่ ง 2. เครอื่ งปรนิ้ เตอร์ จำนวน 1 เครอ่ื ง 3. กระดาษ A4 จำนวน 3 รีม 4. แฟรชไดรฟ์ จำนวน 2 อนั 5. ซดี ี จำนวน 1 แผน่ 6. เข้าเลม่ จำนวน 1 เลม่ 3.3 การออกแบบร่างของการสร้างเครื่องมือ ( แบบรา่ ง/แบบสเก็ต ภาพทจี่ ะสรา้ งเปน็ เคร่ืองมอื หรือชน้ิ งาน ) ( ถา้ มี ) 3.4 วิธกี ารสรา้ งชิ้นงาน / เครือ่ งมือตามแบบร่าง (ถา้ มี ) อธบิ ายวิธกี ารสรา้ งชิ้นงาน / เครอ่ื งมอื ตามแบบรา่ ง ตามกระบวนการในการสร้างเร่มิ ต้ังแตต่ ัดเหลก็ ตามขนาดที่ได้ออกบแบบไว้จนกระทั่งสร้างเป็นรูปร่างที่สมบูรณ์และสามารถใช้งานได้ โดยบอกออกเปน็ ขอ้ ๆ 1........... 2.......... 3.......... 3.5 ประชากรและกลุม่ ตวั อย่าง ประชากร (Population) หมายถึง กลุ่มของสิ่งต่างๆทั้งหมดที่ผู้วิจัยสนใจ อาจจะเป็นสิ่งมีชีวิต หรอื ไมม่ ชี ีวติ กไ็ ด้ ประชากรในทางสถิตอิ าจจะหมายถงึ บคุ คล กลมุ่ บุคคล องค์กรตา่ งๆ สัตว์ สิ่งของ กลุ่มตัวอย่าง (Sample) หมายถึง กลุ่มย่อยของประชากรเฉพาะการวจิ ัยที่มีความเป็นตวั แทนที่ดี หรอื มลี ักษณะท่คี ล้ายคลึงกบั ประชากร และมีปรมิ าณท่ีมากเพียงพอเพอ่ื ประโยชนใ์ น การอา้ งองิ ข้อมูลจาก กลมุ่ ตัวอยา่ งส่ปู ระชากร 3.6 เครื่องมือทีใ่ ช้ในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู อธิบายเครื่องมือที่ใช้การเก็บรวบรวมข้อมูล เช่น ออกแบบตารางบันทึกการทดลองของการหา ประสิทธิภาพชืน้ งานหรือเครอื่ งมือ แบบสอบถาม แบบสำรวจ เปน็ ต้น 3.7 แผนการดำเนินโครงงาน กล่าวถึงขัน้ ตอนในการทำงานต้ังแต่การนำเสนอหัวข้อโครงงาน จนถึง การจัดนิทรรศการ “ งาน วิชาการ” ของโครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ เช่น ศึกษาหัวข้อโครงงานและรวบรวมข้อมลู นำเสนอหัวข้อ โครงงาน ออกแบบและพัฒนา ทดลอง ปรับปรุง แก้ไข จัดทำรูปเล่มโครงงาน นำเสนอโครงงาน การจัด นิทรรศการ “ งานวิชาการ” ของโครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ เป็นต้น ออกแบบตารางกิจกรรมหรือ ขั้นตอนการเกบ็ รวบรวมข้อมูล รวมถึงระบุเวลาในการทำงานตั้งแตร่ ายวิชาโครงงาน 1 จนสิ้นสุดการเรียน รายวิชาโครงงาน 2 เช่น

52 กจิ กรรม/ ภาคเรียนท่ี 2 ภาคเรยี นที่ 1 หมาย เหตุ ลำดบั ขนั้ ตอนการ พ.ย ธ.ค ม.ค ก.พ ม.ี ค เม.ย พ.ค มิ.ย ก.ค ส.ค ดำเนินการ 1 ศกึ ษาขอ้ มลู 2 เสนอชอ่ื งาน โครงงาน 3 เสนอเคา้ โครง รา่ ง บทที่ 1-3 และหาข้อมลู เพ่อื สร้าง เคร่ืองมือ 4 ดำเนินการ ทดลองและเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 5 วเิ คราะหข์ อ้ มูล 6 สรปุ และ อภิปรายผลของ ขอ้ มูล 7 สอบนำเสนอ โครงงาน บทที่ 1-5 8 แสดงผลงานใน งานวชิ าการของ โครงงานวิชาชีพ 9 จัดทำรปู เล่ม รายงานฉบบั สมบรู ณ์ของ โครงงาน

53 3.8 งบประมาณทใ่ี ช้ในการจัดทำโครงงาน กล่าวถึงงบประมาณโดย ประมาณการหรอื คาดคะเนเอาไว้ล่วงหน้าท่ีจะต้องใชจ้ ่ายในกจิ การอะไร ตามรายละเอียดของ เครอ่ื งมือและอปุ กรณใ์ นหัวขอ้ 3.2 3.9 สถิตทิ ่ีใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มลู ของโครงงาน สถติ ทิ ่ีใชใ้ นการวิเคราะห์ข้อมูล ไดแ้ ก่ ค่าร้อยละ คา่ เฉล่ียเลขคณิต ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน เป็นต้น พร้อมอธบิ าย ความหมายและสตู รคดิ คำนวณของขอ้ มลู 1. ค่ารอ้ ยละ 2. ค่าเฉล่ยี เลขคณติ 3. คา่ เบ่ียงเบนมาตรฐาน 13. บทที่ 4 ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู การศกึ ษา เรื่อง ..............................................นำเสนอผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ตามลำดบั ดงั นี้ ตารางที่ 4.1............ ตารางท่ี 4.2............ ตารางท่ี 4.3............. 14. บทท่ี 5 สรุปอภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ อธิบายผลจากการทำโครงงานเกี่ยวกับเรื่อง โดยมีวัตถุประสงค์ของโครงงานเพื่อศึกษาเกี่ยวกับ รายละเอียดดังต่อไปนี้ 5.1 สรุปผลของการจดั ทำโครงงาน อธิบายสรปุ จากผลการทดลองที่ได้ในบทที่ 4 ตามความเป็นจรงิ (อาจสอดคล้องกับ ขอบเขตของ โครงงานหรือไม่กไ็ ด)้ 5.2 อภปิ รายผลการจดั ทำโครงงาน อธิบายผลจากข้อสรุปของการจัดทำโครงงานในข้อ 5.1 ตามความเป็นจริงให้สอดคล้องกับ วัตถุประสงคข์ องโครงงาน 5.3 ปญั หาในการทำโครงงาน เขียนปญั หาออกมาเปน็ รายข้อ โดยเนน้ วา่ ต้องเปน็ ปัญหาในการทำโครงงานเท่าน้ัน เช่น เร่อื ง การ นำไปใช้งาน การออกแบบ การพัฒนา เป็นตน้ ไมใ่ ช่ปญั หาเร่ืองการจดั การ 5.4 แนวทางในการแกไ้ ข เขียนแนวทางท่ีเราใชแ้ ก้ไขปญั หาจรงิ กับส่ิงทีเ่ กิดกบั การทำโครงงานของเราเปน็ รายข้อแล้ว วิธีท่ี เขียนมาน้ตี ้องใช้แก้ไขไดม้ าแลว้ 5.5 ขอ้ เสนอแนะในการพัฒนา เ ข ี ย น เ ป ็ น ร า ย ข ้ อ ท ี ่ ส ม า ช ิ ก ผ ู ้ จ ั ด ท ำ เ ห ็ น ส ม ค วร อ ย า ก จ ะ เ ส น อ ใ น ก า ร พ ั ฒ น า โ ค ร ง ง า น ใ ห ้ มี ประสทิ ธิภาพมากขึ้น

54 15. บรรณานกุ รม การเขียนบรรณานกุ รมจะต้องมีแหล่งขอ้ มูล 5 แหล่งขอ้ มูลขึน้ ไป โดยมีหลักการเขยี นดงั นี้ 1. เขยี นไว้ในสว่ นทา้ ยของรายงาน 2. เขียนเรียงลำดบั อักษรชือ่ ผูแ้ ตง่ ถา้ มผี แู้ ต่งต้งั แต่ 2 คนขน้ึ ไปใหพ้ จิ ารณาชอ่ื ผแู้ ตง่ คนแรก เป็นหลัก 3. กรณีที่มที ั้งบรรณานุกรมภาษาไทยและภาษาองั กฤษ ให้เขียนบรรณานุกรมภาษาไทย ก่อน 4. ชื่อผู้แต่งมีพยัญชนะต้นเหมือนกัน ให้พิจารณาพยัญชนะตัวถัดไปตามลำดับใน พจนานุกรม 5. บรรทัดแรกของบรรณานุกรมจัดชิดด้านซ้ายของกระดาษ ถ้ายังไม่จบเมื่อขึ้นบรรทดั ใหม่ตอ้ งยอ่ หนา้ เขา้ มา 7 ชว่ งตัวอักษรของบรรทัดแรก ใหเ้ ขยี นตรงกับชว่ งตวั อกั ษรที่ 8 การอา้ งองิ หลักฐานประกอบการค้นคว้า ในการทำวิทยานพิ นธท์ บ่ี ณั ฑิตวิทยาลัยกำหนดไว้มี 2 แบบ คือ 1. การอา้ งอิงแบบแทรกในเนอื้ หาระบบนาม - ปี 2. การอ้างอิงแบบแยกจากเนอื้ หา อยู่ตอนลา่ งของหนา้ เรียกว่า เชงิ อรรถ 1. การอา้ งองิ แบบแทรกไวใ้ นเน้ือหาระบบนาม - ปี การอ้างอิงแบบแทรกในเนอื้ หา เป็นการบอกแหล่งทม่ี าของวตั ถทุ อี่ า้ งอิงแทรกลงไปในเนื้อหาโดย ระบไุ วใ้ นวงเล็บ มรี ปู แบบดงั นี้ (ช่อื /ชื่อสกลุ /ปีทพ่ี ิมพ,์ /เลขหน้า) (อทุ ยั หิรัญโต 2520, 201) (Webber 1985, 3) การอา้ งองิ เอกสารท้งั เลม่ เช่นผลการสำรวจ ผลการวจิ ยั ในลักษณะเปน็ แนวคิด โดยส่วนรวมของ เอกสารเรอ่ื งน้ัน ๆ ท้งั เลม่ ใหร้ ะบุเฉพาะช่อื ผูแ้ ตง่ และปที ่ีพมิ พ์ โดยไม่ต้องระบุเลขหนา้ การบันทกึ ส่วนผู้แตง่ ผูแ้ ตง่ คนไทย ใชช้ ่อื และชอื่ สกลุ หากเป็นชาวต่างชาตถิ ้ามีการกล่าวถึงผู้แต่ง ในเน้ือหา ใหส้ ะกดชือ่ เป็นภาษาไทย และอา้ งองิ ในวงเล็บเฉพาะชอ่ื สกุลเป็นภาษาอังกฤษ หากต้องการคง ชื่อผูแ้ ต่งชาวตา่ งชาติกส็ ามารถระบุชื่อตัว และชื่อสกุล เมื่อกล่าวเป็นครั้งแรก และระบุเฉพาะชือ่ สกลุ เมื่อ กลา่ วถงึ ครงั้ ตอ่ ไป รายละเอียดของรปู แบบการอา้ งองิ มีดงั น้ี 1. ผ้แู ตง่ คนเดยี ว ....(ทศพล กนกนุวัตร์ 2533, 20) ทศพล กนกนุวตั ร์ (2532, 25-37) กล่าวว่า.... ....Robbin (1976, 95)

55 รอ๊ บบิน(Robbin 1976, 75)กลา่ ววา่ .... Stephen Robbin (1976, 75) กลา่ วว่า.... 2. ผู้แต่ง 2-3 คน ....(ณรงค์วิทย์ แสนทอง และสทิ ธิศกั ดิ์ พฤกษ์ปติ กิ ุล 2550, 38) ณรงค์วทิ ย์ แสนทอง และสทิ ธศิ กั ด์ิ พฤกษป์ ติ กิ ุล (2520, 38).... ....(ดวงมณี โกมารทัต, วีรวรรณ พลู พิพัฒน์ และแพร กรี ะสนุ ทรพงษ์ 2524, 39-44) วิชทิช และชลู เลอร์(Wittich and Schuller 1953, 75)…. Wittich and Schuller (1953, 75)…. 3. ผู้แต่งมากกว่า 3 คน ระบุชื่อผู้แต่งคนแรกตามด้วยคำว่า “และคณะ”หรือ”และคนอื่นๆ” ภาษาองั กฤษใช้ “et al.” หรือ “and others” เช่น ....(ดวงมณี โกมารทัต และคนอืน่ ๆ 2528, 22-23,30) ....(คุณหญงิ แม้นมาส ชวลิต และคนอื่นๆ 2528, 43) ....(William et al. 1986, 15) วลิ เล่ยี ม และคนอ่ืนๆ(William and others 1986, 15)…. 4. ผ้แู ต่งทม่ี ีฐานันดรศกั ด์ิ บรรดาศักด์ิ สมณศกั ด์ิ และยศ รวมท้งั ชอ่ื ชาวต่างชาตทิ ่มี ีกำกบั ชือ่ แสดง ลำดบั ชน้ั ตระกลู Sr. (Senior) หรอื Jr. (Junior) ให้คงไว้เชน่ ม.ร.ว.คกึ ฤทธิ์ ปราโมช. สมเดจ็ พระพุทธโฆษาจารย์ พลตรีจำลอง ศรีเมือง Robert Penn, Jr. 5. ตำแหน่งบรหิ าร ตำแหนง่ ทางวชิ าการ แพทย์ และวฒุ กิ ารศกึ ษา ไม่ต้องระบุ 6. ช่ือผู้แตง่ คนไทยที่มงี านเขียนเป็นภาษาตา่ งประเทศให้ใช้ชอื่ ตัว ตามดว้ ยชอื่ สกุลเช่นเดียวกับที่ เขยี นเปน็ ภาษาไทย พทิ ยภัณฑ์ พัฒนผลไพบูลย์(Pitayapan Pattanaphonpaiboon 1993) ในกรณที ่ีงานเขียนนำมาจากฐานขอ้ มูลซึ่งใชช้ ่อื สกุลนำหน้าชอ่ื ตวั ใหร้ ะบุเฉพาะชอื่ สกลุ เช่น พนิดา พาณชิ กลุ (Panichakunl1989) 7. ผู้แต่งที่เป็นสถาบนั หรือองค์กรทีม่ ีระดับของหน่วยงานหลายระดับ ให้ใช้เฉพาะชื่อหน่วยงาน ระดบั สงู กว่าในการอา้ งองิ และต้องสอดคลอ้ งกับการลงบรรณานกุ รม ดงั ตัวอยา่ ง ภาควชิ าภาษาองั กฤษ คณะมนษุ ยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั รามคำแหง ใหใ้ ชด้ ังน้ี (มหาวทิ ยาลัยรามคำแหง 2533) กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ใหใ้ ชด้ ังนี้ (กระทรวงมหาดไทย 2536)

56 8. การอา้ งอิงเอกสารหลายเรอ่ื งของผแู้ ตง่ คนเดยี วกนั พมิ พต์ ่างปีกนั แตอ่ ้างถงึ พร้อมกนั ใหใ้ สช่ ่ือผู้ แต่งเพยี งครัง้ เดยี ว และเรียงลำดับเอกสารนั้น ๆ ตามลำดับปีพิมพ์ โดยใช้เคร่อื งหมาย (;) คนั่ เช่น (เสาวณยี ์ ทรงสุทร 2521, 23; 2524, 15) (Kelly 1964, 10; 1975, 9) 9. การอ้างองิ เอกสารหลายเรื่องของผู้แต่งคนเดียวกัน พิมพ์ในปีเดียวกัน ให้ใส่อักษร ก, ข, ค,.... หรือ a, b, c, …หลังปที พ่ี มิ พต์ ามลำดับการอ้างองิ ในบรรณานุกรม ซึง่ จัดลำดบั ตามชอ่ื เรอ่ื ง เช่น (คุณหญงิ จนิ ตนา ยศสุนทร 2521 ก, 55) (คุณหญงิ จินตนา ยศสุนทร 2521 ข, 23) (คุณหญงิ จินตนา ยศสุนทร 2521 ก, 2521 ข) (Nilson 1991 a) (Nilson 1991 b) (Nilson 1991 a, 1991 b) กรณีทรี่ ะบุเลขหน้าใหใ้ ช้เครือ่ งหมาย (;) ค่ันระหว่างเอกสารแต่ละงาน (คุณหญงิ จินตนา ยศสนุ ทร 2521 ก, 55; 2521 ข, 23) (Nilson 1991 a, 10; 1991 b, 41; 1991 c, 9) เอกสารที่ใส่อักษร ก หรือ a หลังปีพิมพ์ คืองานที่เรียงลำดับในบรรณานุกรม ก่อนเอกสารที่ใส่ อักษร ข หรอื b หลังปีพมิ พ์และให้ใส่อกั ษร กขค...หรอื abc…หลังปีพิมพ์ในบรรณานุกรมดว้ ย 10. การอ้างองิ เอกสารหลายเรื่องของผู้แตง่ หลายคนให้เรียงลำดับตามปีพิมพ์จากน้อยไปหามาก คน่ั เอกสารแต่ละชอ่ื ดว้ ยเครื่องหมายอัฒภาค (;) เช่น (ดำรง สจั จะนนท์ 2508, 25; ชุมพร สาลติ ุล 2530, 39; ธงชัย วิเชยี ร 2535, 34-35) (Pressman 1979, 75; Mazmanian 1981, 30; Ripley 1982, 8) 11. งานที่ต้องระบุเล่มที่และเลขหน้า ให้ใช้เครือ่ งหมายทวิภาค (:) คั่นระหวา่ งเล่มที่กับเลขหน้า และใชเ้ ครือ่ งหมายอฒั ภาค (;) คั่นระหว่างเลม่ ที่ เช่น (Carter 1987, 1:38; 4:6-64) 12. เอกสารท่ไี มป่ รากฎช่ือผแู้ ต่ง มีวธิ ีการอ้างอิงดังนี้ 12.1 ให้ลงช่อื หนงั สอื หรอื ช่อื บทความในตำแหน่งชอ่ื ผแู้ ต่ง ข้นึ อยู่กับประเภทของเอกสาร ที่นำมาอ้างองิ ถา้ เปน็ ช่อื หนงั สือให้ขีดเส้นใตห้ รอื ใชต้ ัวหนา เชน่ (อิเหนา 2467, 15) (พระราชบญั ญัตริ ะเบียบข้าราชการพลเรอื น พ.ศ. 2518, 8) (A guide to our federal lands 1984, 8) การลงช่ือหนังสือหรอื ชื่อบทความในตำแหนง่ ชือ่ ผู้แต่งในบรรณานกุ รม จะต้องเป็นชือ่ เดียวกันกบั การอา้ งองิ ในเนื้อหา

57 12.2 ไม่ปรากฎชอื่ ผแู้ ต่งมีแต่ผูท้ ำหนา้ ท่บี รรณาธกิ าร ผูร้ วบรวม หรอื ผู้จัดพิมพ์ ให้ใช้ชื่อ ผู้ทำหนา้ ทด่ี งั กล่าว ในตำแหนง่ ชือ่ ผู้แตง่ เช่น (ชตุ ิมา สจั จานนั ท์ (บรรณาธิการ) 2536, 10-12) 13. หนังสอื แปล ระบุช่ือผเู้ ขยี นท่ีเป็นเจา้ ของเรอ่ื ง (ถา้ ไม่ทราบจงึ ระบุช่อื ผแู้ ปล) เช่น การอา้ งอิงท่ี ระบชุ ่ือผเู้ ขียน (ช้อทแลนด์ 2516) (อนัญญา สิทธิอำนวย (ผูแ้ ปล) 2542, 19) (Henderson and Parson (Trans) 1966, 340) 14. บทวิจารณใ์ ห้ใส่ชือ่ ผวู้ ิจารณ์ (วรี ะพงษ์ รามางกูร 2517) (Dokceki 1972, 18-20) 15. การอ้างอิงบทความในสารานุกรมหรือพจนานุกรม ไม่นิยมทำบรรณานุกรม แต่จะอ้างอิง ภายในเน้ือหาแบบนาม-ปี หรือแบบเชิงอรรถ โดยไมต่ อ้ งให้รายละเอยี ดเกี่ยวกับการพมิ พ์ สำหรับปที พี่ มิ พใ์ ห้ ใช้ปีลิขสิทธิ์ หรือใช้ครั้งท่ีพิมพ์แทนปีที่พิมพ์ก็ได้ ระบุคำว่า “S.V” (Sub Verso หมายถึง Under the word) ภาษาไทยใชค้ ำวา่ “ภายใต้คำ” หรอื ถ้ามชี ่ือผเู้ ขยี นบทความจะระบไุ วก้ ไ็ ด้ เชน่ (สารานกุ รมไทยฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน, 2542, ภายใต้คำ “ไซโคลน”) (Columbia Encyclopedia, 5th.ed.,S.V. “Cold war”) 16. การสมั ภาษณ์ การสนทนา หรอื จดหมาย ใหร้ ะบุช่อื และช่ือสกลุ ผใู้ หข้ อ้ มูลและปีที่ให้ข้อมลู ....(คุณรัญจวน อินทรกำแหง, 2519) คณุ รญั จวน อนิ ทรกำแหง (2519).... 17. วสั ดไุ ม่ตีพิมพ์ใหล้ งรายการชอ่ื ผู้แต่งหรือช่อื เร่อื ง และปที ี่ผลิต เชน่ (การเลีย้ งไก่ไข่ ม.ป.ป.) (Individual involvement 1982) 18. โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ลงชื่อโปรแกรมและลักษณะเฉพาะ ถ้ามีชื่อผู้รับผิดชอบให้ระบุช่ือ ผู้รับผิดชอบ (ภาษาองั กฤษระบเุ ฉพาะชือ่ สกุล) และลกั ษณะเฉพาะ (Lotus 1-2-3 Rel.2, computer software) (Rosenberg et al., computer software)

58 2. การอา้ งอิงแบบแยกจากเน้ือหา อย่ตู อนล่างของหน้า เรียกวา่ เชิงอรรถ เชิงอรรถมวี ิธกี ารเขยี น 3 รปู แบบดังน้ี 2.1 เชิงอรรถอา้ งอิง คือการบอกแหลง่ ที่มาของข้อความท่คี ัดลอกหรอื เกบ็ แนวคิด ในปจั จุบันนิยม ใชแ้ บบการอ้างอิงแทรกในเนอ้ื หาระบบนาม-ปี องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติเชื่อมั่นในหนังสือและ ส่ิงพมิ พต์ า่ ง ๆ ว่าเปน็ สือ่ ความรู้ สง่ เสรมิ ความคดิ ทางวทิ ยาศาสตรอ์ นรุ ักษแ์ ละพฒั นาวัฒนธรรม หนังสือช่วยให้เข้าใจกันและกัน และช่วยสร้างสันติภาพในโลก กล่าวโดยสรุปหนังสือคือส่ือ สันติภาพ1.... 1แม้นมาส ชวลิต, “วิธีสร้างความสนใจในการอ่าน, “ในรวมบทความการศึกษานอกโรงเรยี น (กรงุ เทพฯ: กรมการศึกษานอกโรงเรียน, 2531 หน้า195. 2.2 เชงิ อรรถเสริมความ คือ การอธิบายเพิ่มเติม หรือขยายความในส่วนที่เกี่ยวข้อง ให้อธิบายในส่วนท้ายของหน้า โดยใช้ เครื่องหมายดอกจัน (*) เหนือบรรทดั ทา้ ยขอ้ ความที่ตอ้ งการขยายความ และเพมิ่ จำนวนดอกจนั ตามลำดับ เชงิ อรรถเสริมความกรณที ่ีมมี ากกวา่ 1 เชงิ อรรถ เชน่ **,*** หรือหมายเลข 1 2......... ขันหมากซึ่งฝ่ายชายจัดหาไปน้ันมี 2 อย่าง คือ ขันหมากเอกและขันหมากโท ขันหมาก เอกใสห่ มาก พลู มเี ตยี บ*ใสอ่ ้อย มะพรา้ วอ่อน… *เตียบ คือตะลุ่มแต่ปากผายมฝี าครอบเป็นภาชนะใสส่ ำรบั กับขา้ วของผู้ดีสมัยก่อน

59 2.3 เชิงอรรถโยง คอื การโยงให้ผู้อ่านไปดหู รอื ดูเพม่ิ ท่เี รอ่ื งอ่นื …ได้พบว่าการใช้รูปแบบของการสื่อสารโฆษณาประชาสัมพันธ์เชิงรุกที่ใกล้เคียงกับ แนวคิดทางการตลาดของวางการธรุ กจิ ดงั เชน กรณวี ัดพระธรรมกายที่มที งั้ การสร้างระบบบรหิ าร จดั การองค์การ การใชส้ อื่ โฆษณาประชาสมั พนั ธท์ ุกรูปแบบ รวมถึงมกี จิ กรรมการสือ่ สารกับสงั คม มวลชนโดยเฉพาะอย่างย่ิงกลุ่มเปา้ หมายทเ่ี ปน็ ชนช้ันกลางและนิสติ นักศึกษา จึงปฏิเสธไมไ่ ด้เลยวา่ จะต้องใช้งบประมาณจำนวนไม่น้อย กล่าวได้ว่าเป็นการก่อกระแส “พุทธพาณิช”3 ขึ้นใน สงั คมไทยทเ่ี ป็นรูปธรรมอกี แบบหน่งึ ... 3สนใจโปรดอ่านงานของศรีศักดิ์ วัลลิโกคม และนิธิ เอียวศรีวงศ์ ในประเด็นวิพากษ์ “ พุทธ พาณชิ ย”์ รวมถึงงานศกึ ษาเกยี่ วกับ “กรณวี ัดพระธรรมกาย” การเขยี นเชงิ อรรถเมอ่ื อ้างเอกสารซำ้ เมอ่ื อา้ งซ้ำงานท่เี คยอา้ งในเชิงอรรถอา้ งอิงครงั้ แรกแล้ว ถา้ มกี ารอ้างเอกสารเรอื่ งนน้ั ซ้ำอีกให้เขียน ดงั นี้ 1. การอ้างเอกสารซ้ำโดยไม่มเี อกสารอื่นมาคืน ให้ใช้คำว่า “เรื่องเดียวกัน” หรือ “Ibid” ย่อมา จากภาษาลาติน “Ibidem” (in the same place) และถ้าอา้ งเอกสารตา่ งหนา้ กนั ใหร้ ะบุเลขหน้าด้วย 2. การอ้างเอกสารซำ้ กรณีท่ีมีเอกสารอื่นมาคัน่ ให้ระบชุ ื่อ ชื่อสกุลผู้แต่ง (เอกสารภาษาอังกฤษ ระบุเฉพาะชื่อสกุล) ต่อมาด้วยคำว่า “เรื่องเดิม” หรือ “op.eit” ย่อมาจากภาษาลาติน “opera eitato” (the work eited) 3. การอ้างอิงหน้าเดียวกันให้ใช้คำว่า “เรื่องเดียวกัน, หน้าเดียวกัน” หรือ “loe.eit” ย่อมาจาก ภาษาลาติน “loeo eitato” (the place eited) ใหเ้ หมือนกัน “เรอื่ งเดมิ ” แต่เปน็ การอ้างหนา้ เดียวกัน ซง่ึ ไม่ตอ้ งระบุเลขหน้า การอา้ งเอกสารซำ้ แบบไม่มเี อกสารอ่ืนมาคนั่ หรอื มีเอกสารอืน่ มาคนั่ ปัจจุบันมวี ิธอี า้ งที่ป้องกัน คอื ระบชุ ื่อผู้แต่ง และเลขหนา้ ทอ่ี า้ งถงึ ตัวอยา่ ง เอกสารภาษาไทย 1กติ ตพิ งศ์ อรุ พพี ัฒนพงศ์, บทบัญญัติ 10 ประการในการวางแผนภาษีอากร (กรุงเทพมหานคร: สำนักพมิ พ์การเงินการธนาคาร, 2536), หน้า 13. 2เรือ่ งเดียวกนั , หนา้ 57. หรือ 2กติ ติพงศ์ อุรพีพฒั นพงศ,์ หน้า 57.

60 3ศิริพงษ์ ศุภกิจจานุสรณ์, “คำอธิบายอนุสัญญาภาษีซ้อน, “ใน เอกสารประกอบการบรรยาย กฎหมายภาษอี ากรระหวา่ งประเทศ (กรุงเทพมหานคร: มหาวทิ ยาลยั รามคำแหง, 2537), หน้า 25. 4กติ ตพิ งษ์ อรุ พพี ฒั นพงศ์, เรอ่ื งเดิม, หน้า 21. หรือ 4กิตติพงษ์ อุรพีพัฒนพงศ,์ หน้า 35. 5ศิริพงษ์ ศุภกจิ จานุสรณ,์ เรื่องเดียวกัน หนา้ เดียวกนั . เอกสารภาษาอังกฤษ “Mawin E. Shaw and Jack M. Wright, Scale for the Measurement of Altitude (New York: Me Graw Hill, 1967), 23. 2Ibid, 125. หรือ 3Timothy Chandler and Peter Feuille, “Municipal Unions and Privatization, “Public Administration Review 51 (January February): 20. 4Shaw and Wright, op.eit., 200 5Ibid., 58 6Chandler and Feuille, loe.eit. การอ้างองิ เชิงอรรถ เป็นการระบุเอกสารและแหล่งที่ใช้อ้างองิ ในการเรียบเรียงวิทยานิพนธไ์ ว้ท้ายหน้า มีแบบแผนใน การเขยี นเชงิ อรรถดงั นี้ 1. การใหห้ มายเลขเชิงอรรถในเน้อื หา 1.1 ลงหมายเลขเชงิ อรรถอยู่เหนือบรรทัด ในตำแหน่งทีต่ ้องการอ้างอิง โดยไม่ต้องเว้น ชอ่ งว่างระหว่างตวั เลขกับตวั อักษร 1.2 ไมต่ อ้ งใสเ่ คร่ืองหมายใด ๆ กำกบั หมายเลขเชิงอรรถ 1.3 การเรียงลำดับตัวเลขในเชิงอรรถ ให้ตั้งต้นนับหนึ่งใหม่เมื่อขึ้นหน้าใหม่ในกรณีท่ี วทิ ยานพิ นธ์ มคี วามยาวไม่มากนกั อาจเรยี งลำดับตงั้ แต่ 1 ต่อเนื่องไปจนจบบท 2. ตำแหน่งของเชิงอรรถอา้ งองิ ท้ายหนา้ 2.1 พิมพเ์ ชงิ อรรถไว้ลา่ งสดุ ของแต่ละหน้าทม่ี กี ารอา้ งองิ และค่ันเน้ือหากับเชิงอรรถโดย ขดี เส้นจากขอบกระดาษด้านซ้ายยาวประมาณ 2 นว้ิ ในบรรทดั จากเนอ้ื หาบรรทดั สดุ ท้าย 2.2 พมิ พ์เชงิ อรรถแรกในบรรทดั แรกถดั จากเสน้ ค่ัน 2.3 บรรทัดแรกของเชงิ อรรถแตล่ ะเชงิ อรรถ ย่อหน้า 5 ระยะอกั ษรพิมพ์ (หรือ 0.5 น้ิว) เริม่ พิมพห์ มายเลขเชงิ อรรถตวั อกั ษรท่ี 6 2.4 พิมพ์หมายเลขเชิงอรรถเหนือบรรทัด ก่อนอักษรตัวแรกของข้อความในแต่ละ เชิงอรรถ โดยไมม่ ีเคร่อื งหมายและการเว้นระยะระหวา่ งตัวเลขกบั ตวั อกั ษรตวั แรก

61 2.5 เชงิ อรรถทมี่ คี วามยาวเกิน 1 บรรทัด บรรทดั ต่อมาใหพ้ ิมพช์ ิดขอบกระดาษด้านซ้าย ทุกบรรทัดจนจบรายการ 2.6 ไม่ต้องเว้นบรรทดั ระหว่างเชิงอรรถแต่ละเชิงอรรถในหนา้ เดยี วกนั 2.7 บรรทดั สดุ ท้ายของเชิงอรรถในแต่ละหนา้ อย่หู ่างจากริมกระดาษดา้ นลา่ ง 1น้วิ รปู แบบของบรรณานกุ รม 1. การพิมพ์บรรณานุกรม 1.1 พิมพ์ว่า “บรรณานุกรม “หรือ “BIBLIOGRAPHY” ไว้ตรงกลางหน้าห่างจากริม กระดาษดา้ นบน 2 น้วิ 1.2 รายการอ้างองิ รายการแรก เวน้ ระยะหา่ งจากคำว่า “บรรณานกุ รม” 1 บรรทัดพิมพ์ 1.3 การพิมพ์บรรทัดแรกของเอกสารอ้างอิงแต่ละรายการให้พิมพ์ชิดขอบกระดาษ ด้านซ้าย บรรทดั ต่อมาให้ย่อหนา้ 5 ระยะอกั ษรพิมพ์ (หรือ 0.5 นิ้ว) โดยเริ่มพิมพต์ ัวอกั ษรที่ 6 1.4 การเวน้ ระยะระหว่างบรรทดั ในรายการอา้ งอิงแตล่ ะรายการ และการข้นึ รายการใหม่ ใหเ้ ว้นระยะเท่ากนั 2. การจดั ลำดับรายการอ้างองิ 2.1 จัดเรื่องรายการอ้างอิงตามลำดับอักษรชื่อผู้แต่งตามพจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑิตยสถานหากชื่อตัวซำ้ กนั จงึ เรยี งลำดับตามอักษรช่ือสกลุ สำหรับเอกสารภาษาอังกฤษ การเรียงลำดับชื่อผู้แต่งในบรรณานุกรมเรียมตามชื่อสกุล ตามด้วยช่อื ตวั โดยใช้จลุ ภาค (,) คนั่ 2.2 เอกสารทีไ่ ม่ปรากฏช่ือผู้แต่ง ให้ลำดับด้วยอักษรชอ่ื หนงั สือ หรอื ช่อื บทความ ข้ึนอยู่ กับประเภทของเอกสาร 2.3 ขอ้ ความทเ่ี ปน็ สว่ นแรกของรายการอา้ งอิง ทเี่ ป็นช่อื เร่อื ง สญั ลกั ษณ์ ตวั เลขให้ถือตาม เสียงอ่านเป็นสำคัญ เชน่ 100 ปขี องสนุ ทรภู่ อา่ นวา่ ร้อยปีของสุนทรภู่ ใหใ้ ช้อกั ษร ร ในการเรียงลำดับ 2.4 การเรียงลำดับรายการอ้างอิง เอกสารหลายเรื่องของผู้แต่งคนเดียวกัน ให้เรียง ตามลำดับปพี ิมพ์ โดยขึน้ ด้วยปีทพ่ี ิมพก์ ่อนสดุ ตามลำดับจนถงึ ปที ่ีพมิ พห์ ลังสดุ และเอกสารลำดบั ที่ 2 เป็น ต้นไปของผู้แต่งคนเดียวกัน ให้ใช้เส้นตรงยาว 6-8 ระยะอักษรพิมพ์ ในตำแหน่งชื่อผู้แต่งตามด้วย เคร่อื งหมายมหัพภาค (.) เช่น พิมลพรรณ ประเสริฐราช เรพเพอร์. 2519. การบริการตอบคำถามเพื่อช่วยการค้นคว้า. กรุงเทพฯ มหาวิทยาลยั รามคำแหง. . 2532. คู่มือช่วยค้นคว้าประเภทแนะแหลง่ สารสนเทศ ใน การบริการและเผยแพร่สารสนเทศ หน่วยท่ี 3. นนทบุรี: มหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมธริ าช.

62 2.5 การอา้ งอิงเอกสารหลายเร่ืองของผแู้ ตง่ คนเดียวกนั พิมพใ์ นปีเดียวกนั ใหใ้ ส่อกั ษร ก ข ค หรอื a,b,c หลังปพี ิมพ์ โดยระบใุ หต้ รงกับส่วนทอ่ี า้ งอิงในเนอ้ื หา เช่น จนิ ตนา ยศสุนทร, คุณหญิง. 2521ก. ประวตั ิวรรณคดฝี รง่ั เศส. กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลัยรามคำแหง . 2521ข. แปลฝร่งั เศส. กรงุ เทพ: มหาวทิ ยาลยั รามคำแหง. 3. การเวน้ ระยะหลังเครอ่ื งหมายวรรคตอน 3.1 การเวน้ ระยะการพิมพห์ ลังเครือ่ งหมายวรรคตอนในรายการอา้ งอิง มดี งั นี้ หลังเครื่องหมายมหัพภาค (.) เครื่องหมายจุลภาค (,) เครื่องหมายอัฒภาค ( ;) และ เครือ่ งหมายทวภิ าค (:) เว้น 1 ระยะอกั ษรตัวพมิ พ์ 3.2 กรณีที่เป็นคำย่อ ไม่ต้องเว้นระยะเครื่องหมายมหัพภาค (.) เช่น พ.ศ. กศ.ม. M.A. Ph.D. 3.3 ชื่อชาวต่างชาติ ถ้าระบุชื่อตวั และชื่อกลางเป็นอักษรย่อ ให้เว้น 1 ระยะอักษรพมิ พ์ หลงั เครื่องหมายมหพั ภาค (.) ท่กี ำกบั อักษรย่อช่ือตัว เช่น Johnson, N. K. 3.4 การพิมพ์เลขหน้าต่อเน่ือง ซึ่งเชื่อมดว้ ยเครื่องหมายยติภังค์ (-) ไม่ต้องเว้นระยะ เชน่ 20-21 4. การเขยี นสว่ นประกอบอ้างอิง 4.1 ชอ่ื ผ้แู ตง่ - ชอื่ ผ้แู ตง่ ท่ีมีฐานันดรศักดิ์ บรรดาศกั ด์ิ สมณศักดิ์ หรอื ยศ เช่น ม.ร.ว., พระ, พลตรี ให้ นำคำหนา้ เหลา่ นี้ไปไวห้ ลงั ชื่อสกุล โดยใช้เคร่ืองหมาย (,) คั่น เสนยี ์ ปราโมช, ม.ร.ว. บริหารเทพธานี, พระ จำลอง ศรเี มอื ง, พลตรี - ช่อื ผแู้ ตง่ ชาวตา่ งชาติ ท่มี คี ำย่อ Sr. (Senior) หรือ Jr. (Junior) หรอื เลขโรมนั ตามหลัง ให้ระบคุ ำเหล่านไี้ ว้หลงั ช่อื Penn, Robert, Jr. Brownell, Arthur, P.III - ไม่ต้องระบุคำนำหน้าชือ่ นาย นาง นางสาว ตำแหน่งบริหาร ตำแหน่งวิชาการ และ วฒุ ิการศึกษา - ผู้แต่งคนเดียว และคนแรก (กรณีมีผูแ้ ต่งมากว่า 1 คน) ในเอกสารภาษาอังกฤษให้ ขน้ึ ต้นดว้ ยชอื่ สกุล ตามด้วยชอื่ ตัว และชอ่ื กลาง โดยใช้เครือ่ งหมาย (,) คนั่ ชื่อสกลุ กับชอ่ื ตวั Arnove, Robert F. - ผู้แต่ง 2 คน หนังสือภาษาไทยลงชื่อผู้แต่งที่ระบุเป็นคนแรกก่อน เชื่อมด้วยคำว่า “และ” แลว้ ลงชอ่ื ผู้แตง่ คนท่ี 2 เช่น

63 ยพุ า สายมาก และชตุ มิ า สจั จานนท์ Arnove, Robert F., and David Fachs. - ผแู้ ต่ง 3 คน หนงั สือภาษาไทย ลงชือ่ ผแู้ ต่งคนแรก ค่ันดว้ ยเคร่ืองหมาย (,) คนท่ีสอง เชอ่ื มดว้ ยคำวา่ “และ” แล้วจึงลงชื่อผแู้ ต่งคนที่ 3 เช่น ยพุ า สายมาลา, ชตุ ิมา สัจจานนท์ และสุพัฒน์ สอ่ งแสงจันทร์ Arnove, Robert F., David Sachs and William A. Katz. - ผู้แต่งคนไทย ซ่ึงมงี านเขยี นเป็นภาษาต่างประเทศแต่พมิ พใ์ นประเทศไทย ให้ลงช่ือตัว กอ่ นแลว้ ตามด้วยช่ือสกลุ เชน่ เดยี วกับท่เี ขยี นเปน็ ภาษาไทย ถ้าพิมพ์ในตา่ งประเทศหรือนำมาจากฐานขอ้ มลู ซีง่ ใช้ช่ือสกุลนำหน้าชื่อตวั กใ็ ห้ระบตุ ามฐานข้อมลู - ผแู้ ตง่ ใชน้ ามแฝงและทราบนามจริง ใหล้ งนามจรงิ ไวใ้ นวงเล็บเหลีย่ ม เช่น ทมยนั ตี [วมิ ล เจียมเจรญิ ]. 2550. โสมส่องแสง. กรงุ เทพ: ณ บา้ นวรรณกรรม. - ผู้แต่งใชน้ ามแฝง และไมท่ ราบนามจรงิ เชน่ กง่ิ ฉัตร (นามแฝง). 2539. ดวงใจพิสทุ ธ์ิ. กรุงเทพฯ: ณ บา้ นวรรณกรรม. - ผูแ้ ต่งทเ่ี ปน็ สถาบัน องค์กร หรือสมาคม ใหร้ ะบตุ ามท่ีปรากฎในเอกสาร เชน่ มหาวิทยาลัย คณะเภสัชศาสตร์ ภาควิชาเภสัชวิทยา กระทรวงศึกษาธิการ, กรมวิชาการ ธนาคารแห่ง ประเทศไทย 4.2. ปีทพ่ี ิมพ์ - ระบปุ ที ่พี ิมพ์ ตอ่ จากช่อื ผ้แู ต่ง - ถา้ ไมป่ รากฎปีที่พมิ พ์ ใชต้ วั ยอ่ ม.ป.ป. (ไมป่ รากฎปที พี่ มิ พ์) หรือ n.d. (no date) 4.3 ชอ่ื หนงั สือ - พมิ พ์ชื่อหนังสอื ตามทป่ี รากฎในหน้าปกใน ใช้ตวั อักษรหนา หรือตวั เอน ให้เป็นแบบ เดยี วกนั ทัง้ หมด ยกเว้นเอกสารท่ีไม่พมิ พเ์ ผยแพร่ใชต้ ัวพมิ พ์ธรรมดา - หนังสอื ท่ีมีช่ือเรื่อง (Subtitle) ซึ่งเป็นคำอธบิ ายชื่อหนังสอื ให้ชัดเจนขึ้น ให้เขียนตอ่ จากชอ่ื หนงั สือ คั่นดว้ ยเครอื่ งหมายวรรคตอนตามท่ปี รากฎในหนา้ ปกใน ถา้ ไม่มีเครือ่ งหมายวรรคตอนกำกบั ใหค้ ั่นดว้ ยเครอ่ื งหมาย (:) ทั้งเอกสารภาษาไทย และภาษาองั กฤษ เชน่ สมบูรณ์ พรรณภพ.ม.ป.ป. สรุปคำบรรยายวชิ าศึกษา 171: การศกึ ษาไทย. กรุงเทพฯ: คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรว์ โิ รฒประสานมิตร. - การพิมพ์ชื่อหนังสือ หรือชื่อบทความที่เป็นภาษาต่างประเทศ ให้ใช้อักษรตัวพิมพ์ ใหญ่ ขนึ้ ต้นคำแรกของชอ่ื หนังสอื และช่อื รอง นอกนน้ั ใหใ้ ช้อกั ษรตัวพิมพเ์ ล็ก ยกเวน้ ช่ือเฉพาะ ช่ือวารสาร ช่อื นิตยสารและหนังสือพมิ พ์ ให้ใช้ตัวพิมพใ์ หญ่ขึน้ ตน้ คำแรก เชน่ Mclaughlin, Milbrey W. 1975. Evaluation and reform: The elementary and secondary

64 education act of 1965. Lexington, Mass.: D.C. Heath. 4.4 ครงั้ ที่พมิ พ์ หนังสือที่พิมพ์ครั้งที่ 2 เป็นต้นไป หรือกรณีท่ีมีการปรับปรุงแก้ไขครั้งที่พิมพใ์ หมใ่ ห้ระบุ ครัง้ ทพี่ มิ พต์ อ่ จากช่อื เรือ่ งภาษาไทยใช้ช่ือเตม็ ตามหนา้ ปกใน ภาษาอังกฤษใชต้ วั ยอ่ เชน่ พมิ พ์ครงั้ ท่ี 2 หรือ 2d ed. (second edition) พมิ พค์ รั้งที่ 3 หรือ 3d ed. (Third edition) การแกไ้ ขปรับปรงุ 2d ed., rev. (second edition, revised) rev. 2d ed. (revised second edition) 4.5 สถานทพี่ ิมพ์ (เมอื งทพ่ี ิมพ)์ และสำนักพมิ พ์ (ผ้จู ดั พิมพ)์ - หนังสอื ท่ัวไป ให้ระบสุ ถานทีพ่ มิ พ์ และสำนักพิมพต์ อ่ จากช่อื หนงั สอื หรอื ครั้งที่พิมพ์ (ถ้าม)ี ใช้เครื่องหมาย (:) คน่ั ระหวา่ งสถานทพี่ มิ พ์ และสำนกั พิมพ์ - สถานที่พิมพ์ไม่เป็นที่รู้จักแพร่หลายให้ระบุชื่อรัฐ หรือชื่อประเทศที่สำนักพิมพ์นนั้ ต้งั อยู่ - ชื่อสำนักพิมพ์ในภาษาอังกฤษ ให้ตัดคำที่ระบุประเภทของกิจการออก เช่น Inc., Ltd., Co., Publishing Company. Publishers, Book, House, Press สำหรับสำนักพิมพ์ที่เป็นสมาคม และสถาบันใหร้ ะบุคำเต็ม เชน่ Cambridge University Press, Public School Publishing. ซึ่งสำนักพิมพ์ในเอกสารภาษาไทย ให้คำว่า”สำนักพิมพ์” และ “โรงพิมพ์” ไว้ตามที่ปรากฎใน เอกสารนนั้ ๆ ส่วนข้อมูลอน่ื ๆ ทีไ่ มส่ ำคญั ไม่ต้องระบุ เช่น บริษัทหรือหา้ งหุ้นสว่ นจำกดั - ถา้ ไม่ปรากฎสถานทีพ่ มิ พ์ สำนกั พมิ พใ์ หใ้ ช้ตัวย่อ ม.ป.ท. (ไมป่ รากฎท่พี มิ พ์) หรือn.p. (no place) - สิ่งพิมพ์ที่จัดทำขึ้นในนามของหน่วยงานต่าง ๆ เช่น กระทรวง ทบวง กรม องค์กร หรือสมาคม ให้ลงช่ือหน่วยงานนั้น ๆ ในส่วนของผแู้ ตง่ และผู้จัดพมิ พ์ ถ้าเปน็ หน่วยงานหลายระดบั ให้ลงช่ือ หน่วยงานในระดับสูงกวา่ ในตำแหนง่ ชื่อผแู้ ตง่ และหนว่ ยงานย่อย ซงึ่ เป็นเจา้ ของผลงานใหร้ ะบุชื่อในส่วนผู้ จดั พิมพ์ เชน่ กระทรวงคมนาคม. 2534. ผลงานประจำปี 2534. กรงุ เทพมหานคร: กระทรวงคมนาคม. กรมสามัญศกึ ษา 2533. คู่มือการจัดบริการโสตทัศนศึกษา. กรุงเทพมหานคร: หน่วยศึกษานิเทศก์ กรม สามัญศกึ ษา.

65 รปู แบบการเขียนเอกสารอา้ งอิงประเภทตา่ ง ๆ ระบบนาม – ปี 1. หนงั สอื ทว่ั ไป ช่ือผแู้ ตง่ ./ปที ีพ่ มิ พ.์ /ชื่อหนงั สือ./พมิ พค์ รั้งท่ี (ครง้ั ท2่ี เป็นตน้ ไป)./สถานทพ่ี ิมพ์:/สำนกั พมิ พ์. 1.1 ผแู้ ต่ง 1 คน สุขุม นวลสกุล. 2530. การเมืองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ มหาวิทยาลยั รามคำแหง. Sharp, William F. 1985. Investment. 3d ed. New Jersey: Prentice-Hall. 1.2 ผแู้ ตง่ 2 คน ชัยยศ สันติวงษ์ และชนะใจ เดชวิทยาพร. 2538. การจัดการเงินสด. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ แมคกรอ-ฮิล อินเตอร์เนชน่ั แนล. Brigham, Eugene F., and Louis C. Gapenski. 1997. Financial management: Theory and practice. 8th ed. Florida: The Dryden Press. 1.3 ผ้แู ตง่ 3 คน ชัยยศ สันติวงษ์, ชนะใจ เดชวิทยาพร และปรีชา พาที. 2538. การจัดการเงินสด. กรุงเทพมหานคร: สำนกั พมิ พ์แมคกรอ-ฮิล อินเตอรเ์ นชัน่ แนล. Budd, Richard W., Robert K. Thorp, and Lewis Donohew. 1965. Content analysis of communication. New York: Macmillan. 1.4 ผแู้ ตง่ มากกว่า 3 คน Budd, Richard W. and others. 1991. Consumer law: Case and materials. 2d ed. NewYork: Macmillan. 1.5 หนังสือทม่ี ชี ือ่ ชุดและลำดับทีใ่ นชดุ เสฐียร โกเศส [พระยาอนุมานราชธน]. 2509. ประเพณีเนื่องในการแต่งงาน และประเพณีเนื่องในการ ปลกู เรอื น. หนงั สือชุดประเพณไี ทย, อันดบั ที่ 2. พระนคร: สมาคมสงั คมศาสตรแ์ ห่งประเทศไทย 1.6 เอกสารที่ไม่ปรากฎชอ่ื ผู้แต่ง - ลงชอ่ื หนงั สือในตำแหนง่ ชือ่ ผู้แต่ง คำพพิ ากษาศาลฏีกา ประจำพทุ ธศกั ราช 2523. 2523. กรุงเทพมหานคร: เนติบัณฑติ ยสภา - ลงชอ่ื บทความในตำแหนง่ ช่ือผ้แู ตง่ พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2518. 2518. ราชกิจจานุเบกษา 92 (6 กมุ ภาพนั ธ์): 50.

66 - ไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง มีแต่ผู้ทำหน้าที่เป็นบรรณาธิการ ผู้รวบรวม ผู้จัดพิมพ์ให้ใช้ผู้ทำหน้าท่ี ดงั กล่าวในตำแหน่งชอื่ ผแู้ ต่ง สุลักษณ์ ศิวรกั ษ์, ผ้รู วบรวม. 2525. อยู่อย่างไรในสมยั ศตวรรษที่ 3 แหง่ กรุงรัตนโกสินทร,์ รวมปาฐกถา ใน ร.ศ. 199. กรุงเทพมหานคร: เคล็ดไทย. 1.7 ส่งิ พิมพท์ จี่ ดั ทำข้นึ ในนามของหน่วยงานตา่ ง ๆ ธนาคารกรุงเทพจำกัด. 2521. อุตสาหกรรมประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: ฝา่ ยวิจยั และวางแผน ธนาคาร กรุงเทพจำกดั . มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. บัณฑิตวิทยาลัย. 2540. คู่มือเรียบเรียงปริญญานิพนธ์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์วชิ ยั พาณชิ ยแ์ ละการพิมพ.์ 2. หนงั สอื แปล ชื่อผูแ้ ต่ง./ปพี ิมพ.์ /ชื่อเรอื่ ง./แปลโดย ชือ่ ผ้แู ปล./สถานทพ่ี มิ พ์:/สำนักพมิ พ์. เบอรเ์ นทท์, แฟรนซลิ เอช. (2530). ลอร์ดน้อยฟอนเตลิ้ รอย. แปลโดยเนอ่ื งนอ้ ย ศรัทธา. พมิ พ์คร้งั ท่ี 2. กรุงเทพฯ: การพิมพส์ ตรสี าร. 3. บทความในหนงั สือ รายงานการประชุมสัมมนา และหนังสอื รายปี ช่อื ผู้เขยี นบทความ./ปีพมิ พ.์ /ชอื่ บทความ./ใน ชอื่ เร่อื ง,/บรรณาธกิ ารโดย.../เลขหน้า./ พิมพค์ ร้ังท่ี./สถานทพี่ มิ พ์:/สำนกั พมิ พ์. แม้นมาส ชวลิต, คุณหญิง. 2526. การกา้ วสู่ระบบคอมพิวเตอร์ของห้องสมุด. ใน เอกสารการสัมมนาทาง วิชาการเรื่องก้าวแรกของการใช้คอมพิวเตอร์ของห้องสมุด, หน้า1-7. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์. 4. บทความในวารสาร นิตยสาร ช่อื ผู้เขยี นบทความ./ปีพมิ พ.์ /ช่อื บทความ./ชอ่ื วารสาร/ปีท่อี อก,/ฉบับท่ีออก(เดอื นหรือ กำหนดออก):/เลขหน้า. ทวปี อภสิ ิทธิ. 2538. ศูนย์การเรยี นชมุ ชน. วารสารการศึกษาตลอดชีวติ 17, 15(กรกฎาคม): 68-69.

67 5. บทความในหนงั สอื พิมพ์ ช่อื ผเู้ ขยี นบทความ./ปีพมิ พ.์ /ชื่อบทความ./ชอ่ื หนังสือพมิ พ์./วัน เดือน,/เลขหน้า. ไตรรัตน์ สุนทรประภสั สร. 2540. อนาคตจนี -อเมริกา. เดลินิวส์. 8 พฤศจิกายน, 6. 6. วทิ ยานพิ นธ์ ชอื่ ผเู้ ขียนวทิ ยานิพนธ์./ปพี มิ พ์./ช่อื วิทยานพิ นธ์./ระดับวทิ ยานิพนธ์,/ชอ่ื สถาบัน. สมุ ิตรา เชาวน์เมธากจิ . 2544. การศึกษาความสัมพันธร์ ะหวา่ งทวมิ าตรฐานทางเพศของครูกับการเป็นผู้ ฝกึ ทักษะชวี ิตเพอ่ื การป้องกันเอดส์สำหรับนกั เรียน. วทิ ยานิพนธส์ งั คมสงเคราะหศ์ าสตรมหาบัณฑติ , มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์. 7. รายงานการวิจยั ชื่อผวู้ ิจยั ./ปพี มิ พ.์ /ชื่อรายงานการวจิ ยั ./ชือ่ หนว่ ยงานท่ีให้ทนุ ทำการวจิ ัย./เลขทีข่ อ. รายงาน (ถ้าม)ี ./สถานท่พี ิมพ:์ /สำนกั พิมพ์. บุบผา การีเวท. 2529. รายงานการวิจัยเรื่องสาเหตุการเปลีย่ นแปลงแก้ไขข้อมูลการ ลงทะเบียนเรียน ของนักศึกษา มหาวิทยาลยั รามคำแหง: ศึกษาเฉพาะกรณีการ บอกเลิก-บอกเพิม่ . สำนักบริการ ทางวชิ าการ และทดสอบประเมนิ ผล มหาวทิ ยาลัยรามคำแหง กรุงเทพฯ: ม.ป.ท. 8. การบันทึกจากปาฐกถา การบรรยาย และเอกสารประกอบการบรรยาย การประชมุ สมั มนา ชื่อผบู้ รรยาย./ปีทบ่ี รรยาย./หวั ขอ้ การบรรยาย./ชอ่ื การประชุม และสถาบันท่ดี ำเนนิ การ (ถ้ามี)./สถานท,ี่ /วนั เดอื น. ชวลิต หมื่นนุช. 2538. แนวทางและปัญหาการดำเนนิ งานของบัณฑิตวิทยาลยั ในมหาวิทยาลัยของรฐั และเอกชน. เอกสารประกอบการสัมมนา เรื่อง ทิศทางการดำเนินงานของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั รามคำแหง. โรงแรมอนิ เตอรเ์ พลส์ กรุงเทพฯ, 25 กรกฎาคม.

68 9. อา้ งองิ แหล่งสอื่ โสตทัศน์และส่ืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ 9.1 สื่อโสตทัศน์และสือ่ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ 9.ช1ือ่ ผซู้แดีรตาีร่งยอ.ลม/ปะเีพอมิ ียพด์.ข/อชงื่อวเสัร่ือดงนุ .น้ั/[ๆป.ระเภทของส่อื ]./สถานที่ผลิต:/หนว่ ยงานทผ่ี ลิต./ การท่องเท่ียวแห่งประเทศไทย. 2544. การท่องเทยี่ วเชงิ นเิ วศ.[ซีดีรอม]. กรงุ เทพฯ: การท่องเทย่ี วฯ. 1 แผ่น. eGuide Regional online directory. 2545. [CD-ROM]. Bangkok: eGuide(Thailand). 1 disc. 9.2 แฟ้มขอ้ มูล Canal System. 1998. [Computer File]. Edwardsville, Ks: Medissim. 9.3 สาระสงั เขปจากฐานข้อมูลซดี ีรอม ชือ่ ผู้แต่ง./ปพี มิ พ์./ชือ่ เรือ่ งวิทยานพิ นธ์./[ประเภทของสอื่ ]./Abstract from:/แหลง่ ทมี่ า ของสารสนเทศ. Kanitpong P. and Panich V. 1998. Hepotic penicilliosisin patients without skin lesions. [CD-ROM]. Abstract form: Current: Clinical Medicine 1997-98: ZN239-0035. 9.4 การอา้ งองิ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ชื่อผไู้ ดร้ บั ลิขสทิ ธ(์ิ ถา้ มี)./ปีพิมพ.์ /ช่ือโปรแกรมหรอื ชอ่ื คอมพวิ เตอร์./[ประเภทของสอื่ ]./ สถานทีผ่ ลิต:/ชอ่ื ผผู้ ลติ หรอื ผู้แทนจำหนา่ ย. บริษัทไอสแควรจ์ ำกัด. 2546. สร้างและตกแต่งภาพกราฟฟิกดว้ ย Adobe Photoshop 7. [CD-ROM]. กรงุ เทพฯ: บริษทั ไอสแควรจ์ ำกดั . 9.5 การอ้างองิ เอกสารจากอนิ เตอรเ์ นต็ ชอ่ื ผแู้ ต่ง./ปพี มิ พ์./ชื่อบทความ./[ประเภทของส่ือ]./สบื ค้นเมือ่ /วัน/เดอื น,/ปี,จากแหลง่ ข้อมลู

69 ศรีสมร คงพันธุ์. 2542. สมุนไพรกับอาหารไทย. [Online]. สืบค้นเมื่อ 13 พฤษภาคม, 2542, จาก http://ite.nectce.or.th/%7Eelib. 16. ภาคผนวก ภาคผนวก ก งบประมาณ รายรับ – รายจ่าย ภาคผนวก ข แบบสอบถาม ภาคผนวก ค ประมวลภาพแบบสอบถามท่ใี ชใ้ นทำโครงงาน 17. ประวตั ผิ ู้จัดทำโครงงาน ชื่อ-สกลุ รหสั ประจำตวั ระดับช้นั วนั เดอื น ปีเกดิ สถานทีเ่ กดิ E-mail สถานทต่ี ดิ ต่อ/ทอี่ ยปู่ ัจจบุ นั ประวัติการศกึ ษา * จัดทำรูปเล่ม 1 เล่ม พร้อมแนบไฟลในแผน่ซีดี 1 แผ่นหรืออัปโหลดไฟล์ส่งใน Google Drive พรอ้ มตดิ รปู นกั เรยี น นกั ศกึ ษา ขนาด 1 น้ิว เมือ่ นักเรยี น นักศกึ ษาทำโครงงานพัฒนาทักษะวชิ าชีพเสรจ็ แลว้ ตอ้ งยื่นขอสอบจบตอ่ คณะกรรมการประเมินการสอบโครงงาน ซ่งึ จะใช้แบบประเมิน ดังตวั อย่าง

70 ตวั อยา่ ง วิทยาลยั เทคโนโลยบี างละมุงอนิ เตอร์-เทค แบบฟอร์มการประเมนิ โครงงานพฒั นาทักษะวชิ าชพี ระดบั ปวช./ ปวส. ............................................................................................................................. .......................................... ชื่อโครงการ................................................................................................................................................... วนั ที่...............................................................หอ้ ง................................เวลา..............................................น. ท่ี รายการประเมิน ระดบั คะแนนการประเมิน หมายเหตุ 54321 ดา้ นคุณลกั ษณะทัว่ ไป 1 ปฏบิ ตั ิโครงงานตามทเ่ี สนอหวั ข้อ 2 โครงงานเหมาะสมกบั ระดบั ความรู้ 3 ความเหมาะสมและความสมบูรณข์ อง รูปร่าง ลกั ษณะโครงงาน 4 ความสามารถในการนำไปใช้งานดา้ นนวตั กรรม / ส่อื การเรยี น 5 ความรู้ ความเขา้ ใจ เก่ียวกับโครงงานทที่ ำ 6 ความสามารถในการนำเสนอและตอบคำถาม 7 ความสามารถในการแก้ไขปญั หา ขณะดำเนินงาน 8 อธิบายและทดลองโครงงานไดจ้ ริง 9 ความสามารถในการแสดงข้อเสนอแนะเก่ียวกบั โครงงาน 10 ความตัง้ ใจและความพรอ้ มของสมาชกิ หรือตัวผู้จัดทำโครงงาน 11 การจัดทำรปู เล่ม ความถกู ต้องตามขนั้ ตอน ด้านทักษะ ความสามารถในการทำโครงงาน 12 มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเกยี่ วกับความสำคัญ 13 รูจ้ ักคดิ วเิ คราะหเ์ กยี่ วกบั สภาพแวดล้อมของตนเองในการเลอื กทำโครงงาน 14 มคี วามรู้ความเข้าใจประโยชน์ของโครงงานทเ่ี ลือก 15 มีความรคู้ วามเข้าใจ วธิ กี ารและแหล่งวทิ ยาการที่จะสนบั สนุนการทำงาน 16 วิเคราะห์และวางแผนปฏิบัติงานไดถ้ ูกตอ้ งเหมาะสมและปลอดภัย 17 ปฏบิ ตั ิตามแผนและรู้จักแก้ปญั หาปรับปรุงการทำงานใหดขี้ ึ้นอยู่เสมอ 18 ทำงานด้วยความต้ังใจ ทำงานร่วมกบั ผอู้ นื่ ได้และมีคุณธรรมในการทำงาน รวม รวมคะแนนท้ังสิน้ (90) คดิ เปน็ ร้อยละ ผลการประเมิน ผ่าน ไม่ผา่ น บนั ทกึ เพ่ิมเตมิ ............................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื ..................................................................ผปู้ ระเมิน (..................................................................)

71 ส่วนที่ 3 ตวั อยา่ งรูปเลม่ การเขียนรายงานผลการจดั ทำโครงงาน

72 ตวั อยา่ ง ปกนอก สูง 4.12 cm กว้าง 4.12 cm เคาะ Enter 2 ครัง้ font 16 TH SarabunPSK ขนาด 20 pt ตัวหนา การพฒั นาเว็บไซต์ส่งเสรมิ การท่องเที่ยวเมืองพทั ยา Development of Pattaya Tourism Promote Website เคาะ Enter 6 คร้ัง font 16 TH SarabunPSK ขนาด 20 pt ตัวหนา นายจริ กิตต์ แซ่ต้งั นายตะวัน แก้วสุวรรณ นายพชร จันทรศ์ ร เคาะ Enter 6 ครัง้ font 16 TH SarabunPSK ขนาด 20 pt ตวั หนา โครงงานน้เี ป็นสว่ นหนึ่งของการศึกษาตามหลักสตู ร ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ/ช้นั สูง ประเภทวิชา อตุ สาหกรรม สาขาวิชา ไฟฟา้ กำลัง รหัสโครงการ 20105-8502 ปกี ารศึกษา 2564 TH SarabunPSK ขนาด 20 pt ตัวหนา เคาะ Enter 2 ครง้ั font 16 วิชาชีพ ลขิ สิทธ์ขิ องวทิ ยาลยั เทคโนโลยบี างละมงุ อนิ เตอร์-เทค

73 ตัวอย่าง ใบรองปกใน

74 ตัวอยา่ ง ปกใน สงู 4.12 cm กว้าง 4.12 cm เคาะ Enter 2 ครัง้ font 16 TH SarabunPSK ขนาด 20 pt ตัวหนา การพัฒนาเวบ็ ไซต์ส่งเสรมิ การท่องเที่ยวเมืองพัทยา Development of Pattaya Tourism Promote Website เคาะ Enter 6 ครั้ง font 16 นายจิรกติ ต์ TH SarabunPSK ขนาด 20 pt ตัวหนา นายตะวนั นายพชร แซต่ ้งั แกว้ สวุ รรณ จันทรศ์ ร เคาะ Enter 6 ครง้ั font 16 TH SarabunPSK ขนาด 20 pt ตวั หนา โครงงานนเ้ี ป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ/ช้นั สูง ประเภทวชิ า อตุ สาหกรรม สาขาวิชา ไฟฟา้ กำลงั รหสั โครงการ 20105-8502 ปีการศึกษา 2564 TH SarabunPSK ขนาด 20 pt ตวั หนา เคาะ Enter 2 ครงั้ font 16 วิชาชีพ ลิขสิทธข์ิ องวิทยาลยั เทคโนโลยบี างละมุงอนิ เตอร์-เทค

75 ตวั อย่าง ใบรบั รองโครงงาน สงู 4.12 cm กว้าง 4.12 cm TH SarabunPSK ขนาด 20 pt ตัวหนา เคาะ Enter 1 ครงั้ font 16 ใบรบั รองโครงงาน วทิ ยาลัยเทคโนโลยีบางละมงุ อนิ เตอร์-เทค ชอื่ เรอื่ ง การพฒั นาเวบ็ ไซตส์ งเ่ สริมการทอ่ งเที่ยวเมอื งพทั ยา เคาะ Enter 1 คร้งั font 16 โดย Development of Pattaya Tourism Promote Website สาขาวิชา อาจารยท์ ปี่ รกึ ษา นายจริ กิตต์ แซต่ ง้ั ตวั อกั ษรของรายละเอียดขอ้ ความ TH SarabunPSK ขนาด 16 pt ตวั ปกติ นายตะวนั แก้วสุวรรณ นายพชร จนั ทร์ศร ไฟฟ้ากำลงั นายจีรายุ นาหวา่ น อาจารยค์ วบคุม นายณัฏฐพัฒน์ มรธุ พงษส์ าธร นายมงคล ไชยวงศ์ คณะกรรมการสอบโครงงาน ลายมอื ชอื่ นางสาวจันจริ า พรรัตนากร นายจรี ายุ นาหวา่ น นายณฏั ฐพฒั น์ มรธุ พงษส์ าธร นายมงคล ไชยวงศ์ วิทยาลยั เทคโนโลยบี างละมุงอนิ เตอร-์ เทค ได้อนมุ ัติให้นับเปน็ สว่ นหน่ึงของการศกึ ษา ตามหลักสตู ร ประกาศนียบตั รวิชาชีพชน้ั สงู ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชาไฟฟ้ากำลงั .................................................. .................................................. (นายจีรายุ นาหว่าน) (นายกฤศ วรรณภกั ดี) หวั หนา้ สาขาวิชาไฟฟ้ากำลงั หวั หนา้ งานวจิ ัยและนวัตกรรม ................................................. (นายสุชาติ วงศ์พิพนั ธ์) ผอู้ ำนวยการวิทยาลยั เทคโนโลยบี างละมงุ อนิ เตอร์-เทค

76 ช่ือเรือ่ ง ตวั อยา่ ง บทคดั ยอ่ การพฒั นาเวบ็ ไซตส์ งเ่ สรมิ การทอ่ งเท่ียวเมืองพัทยา ผจู้ ัดทำโครงงาน Development of Pattaya Tourism Promote Website ระดบั สาขาวชิ า นายจิรกิตต์ แซต่ งั้ TH SarabunPSK ขนาด 16 pt ตวั หนา จำนวนหนา้ นายตะวนั แก้วสวุ รรณ (หวั ขอ้ ) รายละเอยี ดข้อความ ตัวปกติ ปกี ารศึกษา นายพชร จนั ทร์ศร อาจารย์ทีป่ รึกษา ประกาศนียบัตรวชิ าชพี ไฟฟา้ กำลัง 89 หนา้ 2564 นายจรี ายุ นาหว่าน เคาะ Enter 2 ครั้ง font 16 TH SarabunPSK ขนาด 20 pt ตัวหนา บทคัดยอ่ เคาะ Enter 2 ครั้ง font 16 - การเขยี นบทคัดยอ่ จะแบ่งออกเปน็ 2 ย่อหนา้ คือ ย่อหน้าท่ี 1 ให้กลา่ ววา่ โครงงานทจ่ี ดั ทำข้ึนมานีม้ ีวัตถปุ ระสงค์เพือ่ อะไร (โดยการผนวกข้อความ ส่วน ของบทที่ 1 หวั ขอ้ ที่ 1.2 วัตถปุ ระสงค์ของโครงงาน ทสี่ มาชกิ ผจู้ ัดทำเขยี นไวเ้ ป็นขอ้ ๆ) โครงงานน้ีไดน้ ำ กลุ่มตัวอย่าง เครือ่ งมือทใ่ี ช้ รวมทงั้ ใช้ค่าสถิติใดในการทดสอบและ วิเคราะหผ์ ลการทดลองโครงงานดังกล่าว ยอ่ หน้าที่ 2 ให้กลา่ วถึงการสรปุ ผลโครงงาน (นำขอ้ มลู ในบทท่ี 5 หวั ขอ้ ที่ 5.1 สรปุ ผลโครงงาน ที่ สมาชิกผจู้ ัดทำเขียนไว้มาใส่ไดเ้ ลย) TH SarabunPSK ขนาด 16 pt ตัวปกติ

77 TH SarabunPSK กิตติกรรมประกาศ ตัวอย่าง กิตติกรรมประกาศ ขนาด 20 pt ตัวหนา เคาะ Enter 2 ครงั้ font 16 การจัดทำโครงงาน เร่อื ง ................................................................................................. คณะผจู้ ดั ทำโครงงาน ขอขอบพระคณุ อาจารย์สุชาติ วงศพ์ พิ นั ธ์ ผู้อำนวยการวทิ ยาลยั เทคโนโลยีบางละมุง อนิ เตอร์ – เทค ...................................อาจารย์ทีป่ รึกษาโครงงาน อาจารยม์ งคล ไชยวงศ์ และ อาจารย์ ณัฏฐพัฒน์ มรุธพงษ์สาธร อาจารย์ผู้สอนวิชาโครงงาน ที่ได้ให้คำปรึกษาแนะนำแนวทาง ตรวจแก้ไข ขอ้ บกพรอ่ ง ตลอดจนอำนวยความสะดวกด้านสถานที่ ในการจัดทำโครงงานในครัง้ นี้ ขอขอบคณุ ผมู้ ีพระคุณอย่างสูงย่ิงตอ่ คณะผู้จดั ทำโครงงาน ไดแ้ ก่ ................................... (สถานประกอบการทไี่ ปเก็บข้อมลู ) และขอกราบขอบพระคุณบดิ า มารดา ตลอดจนเพ่ือนผู้จัดทำโครงการท่ี คอยใหก้ ำลังใจเสมอมาไว้ ณ ที่นี้ TH SarabunPSK นายจิรกิตต์ แซ่ตั้ง ขนาด 16 pt ตัวปกติ นายตะวัน แกว้ สวุ รรณ นายพชร จนั ทร์ศร TH SarabunPSK ขนาด 16 pt ตัวปกติ

78 TH SarabunPSK ตัวอยา่ ง สารบญั ขนาด 20 pt ตัวหนา สารบญั TH SarabunPSK เคาะ Enter 2 ครง้ั font 16 ขนาด 16 pt ตวั หนา บทคัดยอ่ TH SarabunPSK หนา้ กติ ติกรรมประกาศ ขนาด 16 pt ตัวปกติ ก ของรายละเอยี ดข้อความ ข สารบญั สารบัญตาราง ค ง สารบัญภาพ จ รายการสัญลกั ษณ์และคำย่อ (กรณถี า้ มี) ช บทท่ี 1 บทนำ เคาะ Enter 1 ครงั้ font 16 ( 1tab )1.1 ความเปน็ มาของปญั หา 1 1 1.2 วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงงาน หัวข้อบทท่ี TH SarabunPSK 1 1.3 ขอบเขตการศกึ ษา 2 ขนาด 16 pt ตัวหนา 2 1.4 สมมตฐิ านโครงงาน รายละเอียดขอ้ ความ ตวั ปกติ 3 1.5 ประโยชน์ที่คาดวา่ จะไดร้ บั 4 1.6 นยิ ามศัพท์เฉพาะ 6 9 1.7 กรอบแนวความคิด 12 เคาะ Enter 1 ครัง้ font 16 บทท่ี 2 เอกสารและทฤษฎีท่เี กี่ยวขอ้ ง ( 1tab )2.1 ความรู้เก่ียวกับการสรา้ งเวบ็ ไซต์ 2.2 ความรเู้ กยี่ วกบั โปรแกรมทใ่ี ชใ้ นการพัฒนาเว็บไซต์ 2.3 โครงงานทเ่ี กีย่ วข้อง เคาะ Enter 1 คร้งั font 16 15 บทท่ี 3 วิธีการดำเนนิ งาน ( 1tab )3.1 การศกึ ษาข้อมลู เบ้อื งต้น 16 17 3.2 วสั ดุ อปุ กรณ์ เคร่ืองมือ 18 3.3 การออกแบบร่างของการสร้างเครอื่ งมอื (ถ้าม)ี 3.4 วธิ กี ารสร้างช้นิ งาน เครอื่ งมอื ตามแบบร่าง (ถา้ ม)ี

TH SarabunPSK สารบัญ (ตอ่ ) TH SarabunPSK 79 ขนาด 20 pt ตัวหนา ขนาด 16 pt ตวั หนา หนา้ เคาะ Enter 2 ครั้ง font 16 19 19 3.5 ประชากรและกลุม่ ตวั อย่าง หัวข้อบทท่ี TH SarabunPSK 20 3.6 เครอ่ื งมอื ท่ใี ชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มูล 21 ขนาด 16 pt ตวั หนา 22 3.7 แผนการดำเนนิ โครงงาน รายละเอยี ดข้อความ ตัวปกติ 3.8 งบประมาณท่ใี ช้ในการทำโครงงาน 24 3.9 สถติ ิทใี่ ช้ในการวเิ คราะห์ข้อมลู 26 บทท่ี 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล เคาะ Enter 1 คร้ัง font 16 28 ( 1tab )4.1 ผลการวเิ คราะหข์ องมลู 30 31 เคาะ Enter 1 ครง้ั font 16 31 บทท่ี 5 สรุปอภปิ รายผลและขอ้ เสนอแนะ ( 1tab )5.1 สรปุ ผลของการทำโครงงาน 34 35 5.2 อภิปรายผลการจัดทำโครงงาน 36 5.3 ปญั หาในการทำโครงงาน 5.4 แนวทางในการแกไ้ ข 5.5 ข้อเสนอแนะในการพฒั นา บรรณานกุ รม เคาะ Enter 1 ครั้ง font 16 ภาคผนวก เคาะ Enter 1 ครง้ั font 16 ( 1tab )ภาคผนวก ก งบประมาณ รายรบั – รายจา่ ย ภาคผนวก ข แบบสอบถาม ภาคผนวก ค ประมวลภาพแบบสอบถามท่ใี ชใ้ นทำโครงงาน ประวัตผิ ู้จัดทำโครงงาน เคาะ Enter 1 ครั้ง font 16

80 TH SarabunPSK ตัวอย่าง ใบสารบญั ตาราง ขนาด 20 pt ตวั หนา สารบัญตาราง เคาะ Enter 2 ครงั้ font 16 TH SarabunPSK หนา้ ตารางที่ ขนาด 16 pt ตัวหนา 25 4.1 แสดง............ TH SarabunPSK ขนาด 16 pt ตวั หนา 26 4.2 แสดง............ 27 4.3 แสดง........... ขอ้ ความ TH SarabunPSK ขนาด 16 pt ตัวปกติ โดยที่ 4.1 หมายถึง 4 คอื เลขประจำบทที่ 1 คือ ลำดบั ตาราง

81 TH SarabunPSK ตัวอยา่ ง สารบัญภาพ ขนาด 20 pt ตวั หนา สารบัญภาพ ภาพ เคาะ Enter 2 คร้งั font 16 TH SarabunPSK หน้า ขนาด 16 pt ตัวหนา 2.1 แสดง............. 10 2.2 แสดง............. 11 2.3 แสดง............ TH SarabunPSK ขนาด 16 pt ตัวหนา 12 ข้อความ TH SarabunPSK ขนาด 16 pt ตัวปกติ โดยที่ 2.1 หมายถึง 2 คอื เลขประจำบทท่ี 1 คอื ลำดับภาพ

82 ตัวอยา่ ง รายการสัญลักษณแ์ ละคำยอ่ (ถ้าม)ี รายการสัญลักษณ์และคำยอ่ เคาะ Enter 2 คร้ัง font 16 TH SarabunPSK ขนาด 20 pt ตวั หนา

83 ตวั อย่าง บทท่ี 1 หน้าที่ 1 ของบทที่ 1 ไม่ต้องแสดงเลขหนา้ บทที่ 1 TH SarabunPSK บทนำ ขนาด 20 pt ตัวหนา เคาะ Enter 2 ครั้ง font 16 1.1 ความเป็นมาของปญั หา ( 1tab )……………………………………………………. เคาะ Enter 1 ครั้ง font 16 1.2 วตั ถุประสงคข์ องโครงงาน ( 1tab )1.2.1 ....................... 1.3 ขอบเขตการศกึ ษา เคาะ Enter 1 ครง้ั font 16 ( 1tab )1.3.1 ................. หัวข้อหลกั TH SarabunPSK ขนาด 18 pt ตัวหนา 1.4 สมมติฐานโครงงาน หัวขอ้ ย่อย 16 pt 1 tab ตวั หนา ( 1tab )1.4.1 .................. รายละเอยี ดข้อความ 16 pt ตัวปกติ 1 tab หัวข้อยอ่ ย 1.5 ประโยชน์ทคี่ าดวา่ จะได้รบั 1. เน้ือหา................ ( 1tab )1.5.1 ……………. 1.1 เน้อื หา.............. 1.1.1. เน้ือหา.............. 1.6 นิยามศัพท์เฉพาะ ( 1tab )1.6.1 ……………. 1.7 กรอบแนวความคดิ

84 ตัวอยา่ ง บทท่ี 2 หนา้ ท่ี 1 ของบทท่ี 2 ไม่ต้องแสดงเลขหนา้ เคาะ Enter 2 คร้ัง font 16 บทท่ี 2 เอกสารและทฤษฎที ี่เกยี่ วข้อง TH SarabunPSK ขนาด 20 pt ตัวหนา ( 1tab )ในการศกึ ษาทฤษฎีและหลกั การทเ่ี กยี่ วขอ้ งกับ.....(หัวขอ้ โครงงาน)....การพฒั นาเวบ็ ไซตส์ ่งเสรมิ การ ท่องเที่ยวเมอื งพัทยา...... ผู้จดั ทำไดแ้ บ่งทฤษฎีและหลักการท่ีเกยี่ วขอ้ งออกเป็นหัวขอ้ ดังตอ่ ไปน้ี ( 1tab )2.1 ความรเู้ กยี่ วกับการสร้างเวบ็ ไซต์ 2.2 ความรู้เกีย่ วกบั โปรแกรมทใ่ี ช้ในการพัฒนาเว็บไซต์ 2.3 โครงงานท่เี กี่ยวข้อง TH SarabunPSK ขนาด 16 pt ตัวปกติ 2.1 ความรู้เกย่ี วกบั การสรา้ งเว็บไซต์ เคาะ Enter 1 ครัง้ font 16 ( 1tab ).... TH SarabunPSK ขนาด 18 pt ตัวหนา 2.2 ความรูเ้ กยี่ วกับโปรแกรมทใ่ี ชใ้ นการพฒั นาเว็บไซต์ ( 1tab ).... หัวข้อหลกั TH SarabunPSK ขนาด 18 pt ตัวหนา หวั ข้อย่อย 16 pt 1 tab ตวั หนา รายละเอียดข้อความ 16 pt ตวั ปกติ 1 tab หัวข้อย่อย 1. เน้อื หา................ 1.1 เน้อื หา.............. 1.1.1. เนอ้ื หา..............

85 ตัวอยา่ ง บทท่ี 3 หนา้ ที่ 1 ของบทที่ 3 ไม่ตอ้ งแสดงเลขหนา้ เคาะ Enter 2 ครัง้ font 16 บทที่ 3 วธิ ีการดำเนนิ การ TH SarabunPSK ขนาด 20 pt ตวั หนา ( 1tab )ในการดำเนินการศึกษาครั้งนี้ คณะผู้จัดทำโครงงานได้ศึกษาข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับชื่อเรื่อง .................... และได้ดำเนินการตามขัน้ ตอน ดังนี้ 3.1 การศึกษาขอ้ มลู เบือ้ งต้น เคาะ Enter 1 คร้งั font 16 ( 1tab ).... 3.2 วสั ดุ อปุ กรณ์ เคร่อื งมือ TH SarabunPSK ขนาด 18 pt ตวั หนา ( 1tab ).... 3.3 การออกแบบร่างของการสร้างเครือ่ งมอื ( ถ้ามี ) ( 1tab ).... 3.4 วธิ กี ารสรา้ งชน้ิ งาน / เคร่อื งมอื ตามแบบร่าง (ถ้ามี ) ( 1tab ).... หัวข้อหลกั TH SarabunPSK ขนาด 18 pt ตัวหนา 3.5 ประชากรและกล่มุ ตัวอยา่ ง หวั ข้อย่อย 16 pt 1 tab ตัวหนา ( 1tab ).... รายละเอียดขอ้ ความ 16 pt ตวั ปกติ 3.6 เครอ่ื งมอื ที่ใชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมูล 1 tab หัวข้อยอ่ ย ( 1tab ).... 1. เนอ้ื หา................ 3.7 แผนการดำเนินโครงงาน 1.1 เนอื้ หา.............. ( 1tab ).... 1.1.1. เนอ้ื หา.............. 3.8 งบประมาณทใี่ ช้ในการจดั ทำโครงงาน ( 1tab ).... 3.9 สถติ ิท่ใี ชใ้ นการวเิ คราะหข์ ้อมูลของโครงงาน ( 1tab )....

86 ตวั อยา่ ง บทท่ี 4 หน้าท่ี 1 ของบทท่ี 4 ไมต่ ้องแสดงเลขหน้า เคาะ Enter 2 คร้ัง font 16 บทท่ี 4 TH SarabunPSK ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล ขนาด 20 pt ตัวหนา การศึกษา หัวข้อเรื่อง .......................................................................... นำเสนอผลการวิเคราะห์ ขอ้ มูลตามลำดับ ดงั นี้ TH SarabunPSK ขนาด 16 pt ตัวปกติ ตารางท่ี 4.1 ……….. ตารางที่ 4.2 ……..… ตารางที่ 4.3 ………. TH SarabunPSK ขนาด 16 pt ตัวหนา

87 ตัวอย่าง บทที่ 5 หนา้ ที่ 1 ของบทที่ 5 ไม่ต้องแสดงเลขหน้า TH SarabunPSK บทท่ี 5 ขนาด 20 pt ตวั หนา สรปุ อภิปรายผลและขอ้ เสนอแนะ เคาะ Enter 2 ครงั้ font 16 5.1 สรุปผลของการจัดทำโครงงาน ( 1tab ).... 5.2 อภิปรายผลการจดั ทำโครงงาน หัวข้อหลกั TH SarabunPSK ขนาด 18 pt ตวั หนา ( 1tab ).... หัวข้อยอ่ ย 16 pt 1 tab ตัวหนา 5.3 ปัญหาในการทำโครงงาน รายละเอียดข้อความ 16 pt ตวั ปกติ ( 1tab ).... 1 tab หัวขอ้ ยอ่ ย 5.4 แนวทางในการแก้ไข 1. เน้ือหา................ ( 1tab ).... 1.1 เน้ือหา.............. 1.1.1. เนอ้ื หา.............. 5.5 ขอ้ เสนอแนะในการพฒั นา ( 1tab )....

88 ตวั อยา่ ง บรรณานกุ รม บรรณานุกรม หนา้ ที่ 1 ของบรรณานกุ รม เคาะ Enter 2 ครง้ั font 16 ไม่ต้องแสดงเลขหนา้ TH SarabunPSK ขนาด 20 pt ตวั หนา พิมลพรรณ พทิ ยานกุ ลู . วิธสี บื คน้ วสั ดุสารสนเทศ. [ออนไลน].์ เข้าถึงไดจ้ าก : http://www.lib.buu.ac.th. (วันท่คี น้ ข้อมลู : 16 กันยายน 2546). เรวตั ิ ยศสขุ . (2546,กุมภาพนั ธ์ -มนี าคม). \"ผลติ ภัณฑใ์ ต้วงแขนอันตราย.\" ฉลาดซื้อ. [ออนไลน]์ . 6(6) เข้าถงึ ไดจ้ าก : http:// www.kalathai.com/think/view_hot. ? article_id = 16. (วนั ทคี่ น้ ขอ้ มลู : 20 มถิ นุ ายน 2547).

ตวั อยา่ ง ภาคผนวก 89 ไม่ต้องแสดงเลขหน้า TH SarabunPSK ขนาด 20 pt ตัวหนา ตรงก่ึงกลางหนา้ กระดาษ ภาคผนวก

90 ไมต่ อ้ งแสดงเลขหนา้ TH SarabunPSK ขนาด 20 pt ตัวหนา ตรงก่ึงกลางหนา้ กระดาษ ภาคผนวก ก งบประมาณ รายรับ – รายจา่ ย

ตัวอย่าง ใบรายงานงบประมาณ 91 สงู 4.12 cm กว้าง 4.12 cm เคาะ Enter 2 ครง้ั font 16 รายงานงบประมาณรายรบั -รายจา่ ย ศกึ ษาความพึงพอใจของผู้ใช้บริการการขนส่งพัสดใุ นอำเภอบางละมงุ เคาะ Enter 2 คร้ัง font 16 จงั หวัดชลบรุ ี TH SarabunPSK ขนาด 20 pt รายการรับ ตัวหนา งบประมาณภายนอก 2,600 บาท รายจ่าย คา่ กระดาษดับเบิล้ A ขนาด A4 2 รมี ( เพอื่ ทำโครงการ ) 400 บาท ค่าปริน้ /ทำรูปเลม่ 600 บาท คา่ ถา่ ยเอกสารตวั อย่างวิจัย TH SarabunPSK 500 บาท ขนาด 16 pt ตวั ปกติ ค่านำ้ มนั รถ 300 บาท คา่ จัดช้ินงานแสดงโครงงาน 700 บาท คา่ ถา่ ยเอกสารแผน่ พบั 100 บาท 2,600 บาท รายรบั ต่ำไป/รายจา่ ยสงู ไป เคาะ Enter 2 ครง้ั font 16 2,600 บาท

92 ไม่ตอ้ งแสดงเลขหนา้ TH SarabunPSK ขนาด 20 pt ตัวหนา ตรงก่ึงกลางหน้ากระดาษ ภาคผนวก ข แบบสอบถามและสถิติท่ีใช้

93 ไม่ตอ้ งแสดงเลขหนา้ TH SarabunPSK ขนาด 20 pt ตัวหนา ตรงก่ึงกลางหน้ากระดาษ ภาคผนวก ค ประมวลภาพของการเก็บข้อมูลในการวิจัย

94 ไม่ต้องแสดงเลขหนา้ TH SarabunPSK ขนาด 20 pt ตัวหนา ตรงกึ่งกลางหน้ากระดาษ ภาคผนวก ง ประวัติผ้จู ัดทำโครงงาน

95 ตัวอยา่ ง ประวตั ผิ ูจ้ ัดทำโครงงาน ไมต่ ้องแสดงเลขหนา้ ประวตั ิผูจ้ ัดทำโครงงาน ช่อื -สกุล : TH SarabunPSK ขนาด 20 pt ตัวหนา รหัสประจำตวั : TH SarabunPSK ขนาด 16 pt ตัวหนา ภาพถา่ ย (หัวขอ้ ) รายละเอียดขอ้ ความ ตัวปกติ รปู นักศึกษา ระดบั ชั้น : : วนั เดอื น ปเี กิด : สถานทเ่ี กิด : E-mail : สถานท่ตี ดิ ตอ่ /ทอ่ี ยปู่ จั จุบนั ประวตั กิ ารศกึ ษา : รูปถา่ ยชดุ นกั ศกึ ษา ระดับมธั ยมศึกษา ตอนตน้ : ขนาด 1 น้ิว ระดบั ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ระดบั ประกาศนยี บตั รวิชาชีพชน้ั สงู : (****กรณีประวัตผิ ู้จัดทำโครงงาน มีมากกวา่ 1 คน ใหเ้ ขียนแยกหนา้ กัน โดยไม่ตอ้ งแสดงเลขหน้า)

96 ตัวอยา่ ง ใบรองปกสดุ ทา้ ย

97 รายการนำส่งเมื่อสิน้ สดุ การเรยี น รายวชิ า โครงงาน 2 ระดับ ปวช. / ปวส. ภาคปกตแิ ละภาคพิเศษ 1. รายงานฉบบั สมบูรณ์ ภาคปกติ/ภาคพิเศษ ระดับ ปวช. จำนวน 5 เลม่ ภาคปกติ/ภาคพเิ ศษ ระดบั ปวส. จำนวน 4 เล่ม 2. แผ่นขอ้ มลู (CD) ทบ่ี ันทกึ ขอ้ มลู แตล่ ะบททเ่ี ปน็ ไฟล์ word จำนวน 1 แผ่น 3. ชิน้ งานสิง่ ประดษิ ฐท์ ่ีทำการประดษิ ฐข์ นึ้ มา 4. เล่มรายงานฉบับสมบรู ณ์ หลงั จากผา่ นการนำเสนอโครงงานของบทที่ 1 – 5 ท่แี ก้ไขสมบูรณ์ ให้ จัดส่งรูปเล่มตามจำนวนที่ระบไุ ว้ ภายในระยะเวลา 10 วัน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook