คู่มอื ประกอบการอบรม การขบั เคลอื่ นกระบวนการ PLC (Professional Learning Community) “ชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชีพ” สู่สถานศึกษา สานักพัฒนาครแู ละบุคลากรการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
คานา การเปล่ียนแปลงในยุคศตวรรษที่ 21 ส่งผลต่อวิถีชีวตี ิของคนในสังคม ระบบการศึกษาจงึ จาเปน็ ต้องพฒั นา ตอบสนองต่อการเปลยี่ นแปลงท่ีเกิดข้ึนนี้ด้วย เดมิ การศกึ ษามงุ่ เน้นให้ผู้เรยี นมที กั ษะเพยี ง อา่ นออกเขียนได้เท่านั้น แต่สาหรับในศตวรรษท่ี 21 ต้องมุ่งเนน้ ให้ผเู้ รียนเกิดการปฏิบัติ และการสรา้ งแรง บนั ดาลใจไปพรอมกนั กลาวคือ จะไมเปนเพยี งผูรับ (Passive Learning) อีกตอไป แตผูเรียนตองฝกการเรยี นรู จากการลงมือปฏิบัติและการแสวงหาความรูดวยตนเอง (Active Learning) โดยมีครเู ปน “โคช” ท่ีคอย ออกแบบการเรยี นรู เพ่ือช่วยผู้เรยี นให้บรรลุผลได ประการสาคญั คือ ครูในศตวรรษท่ี 21 จะตองไมตั้งตนเปน “ผู้รู้” แตตองแสวงหาความรูไปพรอมๆ กนั กับผู้เรยี นในขณะเดียวกนั ดงั นนั้ การเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ต้อง ก้าวข้าม “สาระวชิ า” ไปสูก่ ารเรียนรู้ “ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21” (21st Century Skills) ซงึ่ ครจู ะเปน็ ผสู้ อน ไมไ่ ดแ้ ตต่ ้องให้นักเรยี นเป็นผ้เู รียนรดู้ ว้ ยตนเอง โดยครจู ะออกแบบการเรียนร้ฝู กึ ฝนใหต้ นเองเปน็ โค้ช (Coach) และอานวยความสะดวก (Facilitator) ในการเรยี นรู้แบบใช้ปัญหาเปน็ ฐาน (Problem-Based Learning : PBL) ของนักเรียนสิ่งทีเ่ ป็นตัวชว่ ยของครใู นการจัดการเรียนรคู้ ือชุมชนการเรียนรู้ครูเพื่อศิษย์ (Professional Learning Communities : PLC) ซง่ึ เกิดจากการรวมตวั กันของครูเพื่อแลกเปล่ียนประสบการณก์ ารทาหนา้ ที่ ของครูแต่ละคนน่ันเอง คู่มือประกอบการอบรมคณะกรรมการขับเคล่ือนกระบวนการ PLC (Professional Learning Community) “ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ” สู่สถานศึกษา ระดับสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา มี วตั ถุประสงค์สาคญั เพ่ือให้ผูเ้ ข้ารับการอบรมได้รบั ทราบนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การขับเคลื่อน PLC สู่สถานศึกษารับรู้การขับเคล่ือนกระบวนการ PLC และนาสู่การปฏิบัติในสถานศึกษาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ขอขอบคุณคณะทางานที่ได้ออกแบบการนากระบวนการ PLC ไปใช้ในสถานศึกษาไว้ ณ โอกาสนี้ และหวังวา่ เอกสารนีค้ งเปน็ ประโยชนอ์ ย่างยง่ิ ต่อการศกึ ษา สานกั พฒั นาครูและบคุ ลากรการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน
สารบญั เรื่อง หน้า คานา ก สารบญั ข 1 สว่ นท่ี 1 ความเปน็ มาและความสาคญั 4 สว่ นท่ี 2 15 กระบวนการชมุ ชนการเรยี นร้ทู างวชิ าชีพ PLC สู่สถานศึกษา 17 สว่ นที่ 3 19 การขับเคลอ่ื นกระบวนการ PLC (Professional Learning Community) ระดบั สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน ระดบั สานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษา ระดบั สถานศึกษา ภาคผนวก 21 ภาคผนวก ก ความรเู้ รอ่ื งชุมชนการเรียนร้ทู างวชิ าชีพ 31 กลยุทธใ์ นการจดั การและใช้ชมุ ชนการเรียนทางรู้วชิ าชีพ (PLC) อย่างย่งั ยนื กรณศี ึกษาสถานศกึ ษาทีน่ ากระบวนการ PLC ไปใช้ 33 - โรงเรียนอนบุ าลวัดคลองใหญ่ 37 - โรงเรียนเขาสมิงวทิ ยาคม”จงจินรจุ ริ วงศ์ อุปถัมภ์” 42 การนากระบวนการ PLC ไปสูก่ ารปฏิบัตใิ นสถานศึกษา 47 ขั้นตอนการนา PLC ไปสกู่ ารปฏิบตั ใิ นสถานศกึ ษา 49 การออกแบบการนิเทศตดิ ตามและประเมนิ ผล 54 ภาคผนวก ข ใบงาน 58 ภาคผนวก ค คาส่ังคณะทางาน 63 บรรณานกุ รม
สว่ นที่ 1 บทนา ความเป็นมาและความสาคญั ชุมชนการเรยี นร้ทู างวชิ าชพี (Professional Learning Community) เป็นกระบวนการ สร้างการเปล่ียนแปลงโดยเรียนรู้จากการปฏิบัติงานของกลุ่มบุคคลท่ีมารวมตัวกันเพ่ือทางานร่วมกัน และสนับสนุนซึ่งกันและกัน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน ร่วมกัน วางเป้าหมายการเรียนรู้ของผู้เรียน และตรวจสอบ สะท้อนผลการปฏิบัติงานท้ังในส่วนบุคคลและ ผลทเี่ กิดขน้ึ โดยรวมผา่ นกระบวนการแลกเปลยี่ นเรียนรู้ การวิพากษ์วิจารณ์ การทางานร่วมกัน การ ร่วมมือรวมพลัง โดยมุ่งเน้นและส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม โดยมีการดาเนินการ อยา่ งน้อย 5 ประการ ดังน้ี 1) มีเป้าหมายร่วมกันในการจัดการเรียนรู้/การพัฒนาผู้เรียนให้พัฒนา อย่างเต็มศักยภาพ 2) มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้จากหน้างาน/สถานการณ์จริงของชั้นเรียน 3) ทุก ฝา่ ยเกีย่ วขอ้ งรว่ มเรยี นรู้และรวมพลัง/หนุนเสริมให้เกิดการสร้างความเปล่ียนแปลงตามเป้าหมาย 4) มีการวิพากย์ สะท้อนผลการทางานพัฒนาผู้เรียน และ 5) มีการสร้าง HOPE ให้ทีมงาน อันประกอบด้วย (1) honesty & humanity เป็นการยึดข้อมูลจริงท่ีเกิดข้ึนและให้การเคารพกัน อย่างจรงิ ใจ (2) option & openness เป็นการเลือกสรรสิ่งท่ีดีท่ีสุดให้ผู้เรียนและพร้อมเปิดเผย/ เปดิ ใจเรียนรจู้ ากผู้อน่ื (3) patience & persistence เป็นการพัฒนาความอดทนและความมุ่งม่ัน ทุ่มเทพยายยามจนเกิดผลชัดเจน (4) efficacy & enthusiasm เป็นการสร้างความเชื่อม่ันในผล ของวิธีการจัดการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับผู้เรียนว่าจะทาให้ผู้เรียนเรียนรู้ และกระตือรือร้นที่จะพัฒนา ตนเองอยา่ งเตม็ ท่ี (เรวดี ชัยเชาวรัตน์, 2558) คุณลักษณะสาคัญที่ทาให้เกิดชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ โรงเรียนใดมี PLC นั้น นอกจากจะตอ้ งประกอบดว้ ยสมาชกิ ซึ่งเปน็ กล่มุ บุคคลดงั ทกี่ ล่าวไปแลว้ นั้น การรวมตวั กันของสมาชิก ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพยังต้องประกอบด้วยคุณลักษณะสาคัญ โดยมีการกล่าวถึงคุณลักษณะ สาคัญท่ีจะทาให้เกดิ PLC ไว้อย่างหลากหลาย อย่างไรก็ตามสามารถสรุปคุณลักษณะสาคัญท่ีทาให้ เกิด PLC ได้ 5 ประการ คือ 1) การมีบรรทัดฐานและค่านิยมร่วมกัน (Shared values and vision) 2) การร่วมกันรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ของนักเรียน (Collective responsibility for students learning) 3) การสืบสอบเพ่ือสะท้อนผลเชิงวิชาชีพ (Reflective professional inquiry) 4) การรว่ มมอื รวมพลัง (Collaboration) และ 5) การสนับสนุนการจัดลาดับโครงสร้าง และความสัมพันธ์ของบุคลากร (Supportive conditions structural arrangements and collegial relationships) (Hord, Roussin & Sommers, 2009) นพ.ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้มอบนโยบาย ให้กับคณะกรรมการดาเนินงานในการประชุมเชิงปฏิบัติการเตรียมการอบรม “PLC (Professional Learning Community) ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ” ในวันที่ 2 มีนาคม 2560 ว่า “ขณะนี้ กระทรวงศึกษาธิการ มีแนวทางส่งเสริมให้มีการอบรม PLC (Professional Learning Community) หรือ \"ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ\" ให้กับครูและผู้บริหารสถานศึกษาท่ัวประเทศ ซึ่งแนวคิดของการอบรม PLC คือ การนาคนมาอยู่รวมกัน เกิดการเรียนรู้และแบ่งปันความรู้กัน ระหว่างผู้เข้าร่วมอบรม จนกระท่ังเกิดการสะท้อนความคิดในด้านต่าง ๆ ท่ีจะเป็นแนวทางการ พฒั นา อย่างไรก็ตามเพื่อไม่ให้เป็นการเพ่ิมภาระให้กับครูและไม่ให้เกิดการใช้เวลาในการอบรม PLC
คู่มือการอบรมการขบั เคล่อื นกระบวนการ PLC (Professional Learning Community) “ชุมชนการเรยี นรทู้ างวิชาชพี ” สสู่ ถานศกึ ษา ระดบั สานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา มาก จนกระทั่งครูไม่มีเวลาสอนเด็กในชั้นเรียน จึงจะกาหนดให้ครูสามารถนาช่ัวโมงการอบรม PLC ไปรวมกบั จานวนชั่วโมงการสอนหนังสือท่ีจะใช้เป็นเกณฑ์ในการเล่ือนวิทยฐานะ ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ที่จะประกาศใช้ในเร็ว ๆ นี้ได้ด้วย นอกจากน้ีการอบรม PLC ถือเป็นการพัฒนาบุคลากรโดยเริ่ม จากล่างขึ้นบน (Bottom Up) อย่างแท้จริง แทนที่จะส่ังการจากส่วนบนลงมา ซ่ึงสิ่งสาคัญที่สุด ของการอบรม PLC อยทู่ ่กี ารเรยี นรู้ (Learning) กล่าวคือ ผู้เข้าอบรม ต้องรู้ว่าวันน้ีได้เรียนรู้และ แบ่งปนั ความรูอ้ ะไรบา้ ง และจะทาอยา่ งไรใหค้ วามรูจ้ ากการอบรมส่งผลถงึ คุณภาพการศึกษาของเด็ก ไมใ่ ช่คานงึ ถงึ วทิ ยฐานะเพียงอย่างเดียว แตว่ ิทยฐานะเป็นเพียงรางวัลตอบแทนว่าครูมีความเก่งแค่ไหน ซ่ึงการอบรม PLC ต้องมีเกณฑ์ตัวช้ีวัดที่ชัดเจน โดยจะมีผู้ประเมินการอบรม เช่น อาจจะให้ ศกึ ษานเิ ทศกส์ มุ่ ตรวจการจดั อบรมตามหลักสูตรต่าง ๆ” ซึง่ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิการยังได้ กล่าวด้วยว่า บางคนเป็นครูท่ีสอนเก่งแต่อาจยังไม่มีผลงานก็ได้ อีกท้ังตามกฎหมายที่เก่ียวข้องกับ การบริหารงานบุคคลของ ก.ค.ศ. ก็ไม่มีข้อใดระบุให้ครูต้องจัดทาผลงานทางวิชาการที่มีลักษณะ เหมือนวิทยานิพนธ์เพื่อขอเลื่อนวิทยฐานะ ดังน้ัน หากจะพิจารณาว่าครูคนใดเก่ง ก็ต้องไปดูว่า นักเรียนเก่งได้อย่างไร ครูจึงจาเป็นจะต้องมีประสบการณ์ และมีชั่วโมงการสอนท่ีอยู่ในเกณฑ์ที่ได้ มาตรฐาน พร้อมกับมีการพัฒนาอบรมดว้ ยตนเองตามหลกั สูตร สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน โดยสานักพัฒนาครูและบุคลากรการศึกษา ข้ันพ้ืนฐาน ได้ดาเนินการอบรมปฏิบัติการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC (Professional Learning Community) “ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ” สู่สถานศึกษา สาหรับศึกษานิเทศก์ จานวนท้ังส้ิน 687 คน ซึ่งผลการอบรมนั้นพบว่า ศึกษานิเทศก์ส่วนใหญ่มีความรู้ความเข้าใจ สามารถนาไปขยาย ผลให้บุคคลที่เก่ียวข้อง และสามารถออกแบบการนิเทศ กากับ ติดตาม ส่งเสริมสนับสนุนให้ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูนากระบวนการ PLC (Professional Learning Community) ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ไปสู่การปฏิบัติในสถานศึกษาได้ ดังน้ัน เพ่ือให้การขยายผล มีประสิทธิภาพสูงสุดลงสู่สถานศึกษาได้อย่างเป็นรูปธรรม สานักงานคณะกรรมการการศึกษา ข้ันพ้ืนฐาน จึงขอให้สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาดาเนินการแต่งต้ังคณะกรรมการขับเคลื่อน กระบวนการ PLC (Professional Learning Community) “ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ” สู่ สถานศึกษาในระดับสานกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาขนึ้ และให้สง่ ตวั แทนเขตพื้นท่ีการศึกษาละ ๖ คน เข้ารับการอบรมเชิงปฏิบัติการขับเคล่ือนกระบวนการ PLC (Professional Learning Community) “ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ” สู่สถานศึกษา ณ โรงแรมชลพฤกษ์รีสอร์ท อาเภอ บ้านนา จังหวัดนครนายก ในระหว่างวันท่ี 26 เมษายน - 3 พฤษภาคม พ.ศ.2560 แบ่งการ อบรมเป็น ๔ รุ่น รุ่นละ ๒ วัน ท้ังน้ีเพื่อให้คณะกรรมการขับเคล่ือนฯ มีความรู้ความเข้าใจ สามารถขยายผลแก่บุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องในหน่วยงาน และร่วมกันวางแผนการขับเคล่ือน กระบวนการ PLC (Professional Learning Community) ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ไปสู่ การปฏิบัตใิ นสถานศกึ ษาได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพและพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาอย่างยั่งยนื ต่อไป วตั ถปุ ระสงค์ Learning 1. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เข้าใจเกี่ยวกับ PLC (Professional Community) ชุมชนการเรียนรูท้ างวิชาชีพ 2
คู่มอื การอบรมการขบั เคลื่อนกระบวนการ PLC (Professional Learning Community) “ชุมชนการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ” สสู่ ถานศึกษา ระดบั สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา 2. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถวางแผนการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC (Professional Learning Community) ชุมชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี ไปสูก่ ารปฏิบัติในสานักงาน เขตพืน้ ท่ีการศกึ ษา และสถานศกึ ษาได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ล 3
คู่มอื การอบรมคณะกรรมการขบั เคลอื่ นกระบวนการ PLC (Professional Learning Community) “ชมุ ชนการเรียนรูท้ างวิชาชพี ” สสู่ ถานศกึ ษา ระดบั สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา สว่ นที่ 2 กระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ PLC สู่สถานศึกษา ทิศทางการศึกษาไทยในอนาคต “พระราชกระแสฯ ด้านการศึกษาของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ร.9” 1. นักเรยี น 1.1 “ครูต้องสอนให้เด็กนักเรียนมีน้าใจ เช่น คนเรียนเก่งช่วยติวเพ่ือนท่ีเรียนล้าหลังมิใช่ สอนให้เดก็ คดิ แต่จะแข่งขัน (Compete) กับเพื่อน เพ่ือให้คนเก่งได้ลาดับดี ๆ เช่น สอบได้ที่หนึ่งของ ชน้ั แต่ต้องใหเ้ ด็กแขง่ ขนั กับตนเอง” (11 ม.ิ ย.55) 1.2 “ครูไมจ่ าเป็นตอ้ งมีความรู้ทางเทคโนโลยีมาก แต่ต้องมุ่งปลกู ฝงั ความดีให้นักเรียน ชัน้ ตน้ ตอ้ งอบรมบ่มนสิ ัยให้เปน็ พลเมืองดี เด็กโตก็ต้องทาเช่นกนั ” (6 ม.ิ ย.55) 1.3 “เราตอ้ งฝึกหัดให้นกั เรียนรูจ้ ักทางานรว่ มกัน เป็นกลุม่ เป็นหมคู่ ณะมากขึ้น จะได้มี ความสามคั ครี ู้จักดูแลชว่ ยเหลอื ซ่ึงกันและกนั เอื้อเฟ้ือเผ่ือแผ่ความรู้และประสบการณ์แก่กนั ” (5 ก.ค.55) 1.4 “ทาเป็นตัวอยา่ งให้นักเรียนเป็นคนดี นักเรียนรักครู ครูรกั นกั เรียน” (9 ก.ค.55) 2. ครู 2.1 “เร่อื งครูมคี วามสาคญั ไมน่ อ้ ยกวา่ นกั เรียน ปัญหาหนึ่ง คือ การขาดครู เพราะจานวน ไม่พอและครยู า้ ยบ่อย ดังนั้น ก่อนคัดเลือกเด็กที่จะพัฒนาต้องพัฒนาครูก่อนให้พร้อมท่ีจะสอนเด็กให้ ไดผ้ ลตามทีต่ อ้ งการ จงึ จะตอ้ งคดั เลอื กครแู ละพัฒนาครู ตอ้ งต้งั ฐานะในสงั คมของครูให้เหมาะสมและ ปลูกจิตสานึกโดยใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง วิธีการคือ การให้ทุนและอบรม กล่าวคือ ต้องมี ความรทู้ างวิชาการในสาขาที่เหมาะสมท่จี ะสอน ต้องอบรมวิธีการสอนให้มีประสิทธิภาพ มีความเป็น ครูท่ีแท้จริง คือ มีความรักความเมตตาต่อเด็ก ควรเป็นครูท้องท่ีเพื่อจะได้มีความผูกพันและคิดที่จะ พัฒนาทอ้ งถนิ่ ที่เกดิ ของตนไม่คิดยา้ ยไปยา้ ยมา” (11 มิ.ย.55) 2.2 “ตอ้ งปรบั ปรุงครู...ครูจะอายุ 40-50 ปี กต็ อ้ งเรียนใหม่ ต้องปฏิวตั ิครอู ย่างจริงจงั ” (6 มิ.ย.55) 2.3 “ปัญหาปัจจุบันคือ ครูมุ่งเขียนงานวิทยานิพนธ์ เขียนตาราส่งผู้บริหารเพ่ือให้ได้ ตาแหน่งและเงินเดือนสูงขึ้น แล้วบางทีก็ย้ายไปที่ใหม่ ส่วนครูท่ีมุ่งการสอนหนังสือกลับไม่ได้อะไร ตอบแทน ระบบไม่ยุติธรรม เราต้องเปลี่ยนระเบียบตรงจุดนี้ การสอนหนังสือต้องถือว่าเป็นความดี ความชอบ หากคนใดสอนดี ซงึ่ ส่วนมาก คือ มีคณุ ภาพและปริมาณ ตอ้ งมี reward” (5 ก.ค.55) 2.4 “ครูบางส่วนเวลาสอนนักเรียนจะสอนไม่หมดแต่เก็บไว้บางส่วน หากนักเรียน ต้องการรู้ทัง้ หมดวชิ า กต็ ้องเสยี เงินไปสมัครเรียนพิเศษกับครูท่านนั้น จะเป็นการสอนในโรงเรียนหรือ สว่ นตัวกต็ าม” (5 ก.ค.55) 4
คู่มือการอบรมคณะกรรมการขบั เคลือ่ นกระบวนการ PLC (Professional Learning Community) “ชมุ ชนการเรยี นร้ทู างวิชาชพี ” สสู่ ถานศึกษา ระดบั สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษา พระบรมราโชวาท รัชกาลที่ 9 : ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่นิสิตและนักศึกษาวิทยาลัย วิชาการศกึ ษา วันพฤหัสบดที ี่ 15 ธันวาคม 2503 “...ผู้ท่ีเป็นครูอาจารย์นั้น ใช่ว่าจะมีแต่ความรู้ในทางวิชาการ และในทางการสอนเท่านั้น ก็หาไม่ จะต้องรู้จักอบรมเด็กทั้งในด้านศีลธรรมจรรยาและวัฒนธรรมรวมทั้งให้มีความสานึก รับผิดชอบ ในหน้าที่ และในฐานะที่จะเป็นพลเมืองดีของชาติต่อไปข้างหน้า การให้ความรู้หรือที่ เรียกว่าการสอนน้ัน ต่างกับการอบรมการสอนคือการให้ความรู้แก่ผู้เรียน ส่วนการอบรมเป็นการฝึก จติ ใจของผู้เรียนใหซ้ มึ ซาบติดเป็นนิสัย ขอให้ท่านท้ังหลายจงอย่าสอนแต่อย่างเดียว ให้อบรมให้ได้รับ ความร้ดู งั กลา่ วมาแล้วดว้ ย...” “เราจะให้อะไรกับครู จะดูแลครู/ดูแลนักเรียนได้อย่างไร งบประมาณที่มีอยู่จะใช้อย่างไรให้ ค้มุ คา่ ที่สดุ ” การพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา โดยถือภารกจิ และพ้ืนทป่ี ฏบิ ตั ิงานเป็นฐาน ดว้ ยระบบ TEPE Online 5
คมู่ อื การอบรมคณะกรรมการขบั เคลื่อนกระบวนการ PLC (Professional Learning Community) “ชมุ ชนการเรียนรทู้ างวชิ าชีพ” สสู่ ถานศกึ ษา ระดบั สานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษา การพัฒนาครูใหม่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน Model การพฒั นาครูใหม่ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน 6
คู่มือการอบรมคณะกรรมการขับเคลอ่ื นกระบวนการ PLC (Professional Learning Community) “ชมุ ชนการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ” สสู่ ถานศกึ ษา ระดบั สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษา Professional Learning Community : PLC 1. PLC หมายถึง การรวมตัว ร่วมใจ ร่วมพลัง ร่วมทา และร่วมเรียนรู้ร่วมกันของครู ผู้บริหาร และ นักการศึกษา บนพื้นฐานวัฒนธรรมความสัมพันธ์แบบกัลยาณมิตร สู่คุณภาพการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้น ความสาเรจ็ หรอื ประสทิ ธิผลของผู้เรยี นเป็นสาคญั และความสุขของการทางานร่วมกันของสมาชิกในชุมชน ยา้ PLC เป็นเคร่อื งมอื ในการพัฒนา ไม่ใช่ หัวเรอ่ื งในการสอน 2. วัตถปุ ระสงค์ของ PLC 1. เพื่อเป็นเครือ่ งมอื ทชี่ ว่ ยให้การแลกเปลีย่ นเรียนร้มู ีประสิทธภิ าพ 2. เพอ่ื ใหเ้ กดิ การร่วมมือ รวมพลังของทุกฝุายในการพัฒนาการเรยี นการสอนส่คู ณุ ภาพของ ผเู้ รียน 3. เพอ่ื ใหเ้ กดิ การพฒั นาวชิ าชีพครูดว้ ยการพฒั นาผูเ้ รยี น PLC ถือว่าทุกคนคือคนเช่ียวชาญในงานนั้น จงึ เรียนรู้ร่วมกันได้ ความเช่อื ของ PLC 1. ยอมรบั ว่าการสอนและการปฏบิ ัติงานของครู มผี ลตอ่ การเรยี นรู้ของผเู้ รียน 2. ยอมรับหลักการท่ีว่า การเรียนร้ขู องครู คอื การเรยี นรขู้ องผ้เู รยี น 3. ยอมรบั ว่า ครมู คี วามแตกต่างกนั 4. ยอมรับวา่ การสอนบางครั้งต้องอาศยั ความรว่ มมือ ร่วมใจ และสมั พนั ธภาพแบบกัลยาณมติ ร 3. องค์ประกอบสาคญั ของ PLC 1. ต้องมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน หมายถึง มีเปูาหมาย ทิศทางเดียวกัน มุ่งสู่การพัฒนาการเรียน การสอน สู่คุณภาพผู้เรยี น 7
ค่มู อื การอบรมคณะกรรมการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC (Professional Learning Community) “ชมุ ชนการเรยี นรูท้ างวชิ าชีพ” สสู่ ถานศึกษา ระดบั สานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา 2. ร่วมแรง ร่วมใจ และร่วมมือ หมายถึง ต้องเปิดใจ รับฟัง เสนอวิธีการ นาสู่การปฏิบัติและ ประเมินร่วมกัน Open เปดิ ใจรับและให้ Care และ Share 3. ภาวะผนู้ ารว่ ม หมายถงึ การทาPLC ต้องมีผูน้ าและผู้ตามในการแลกเปล่ียนเรียนรู้ 4. กัลยาณมติ ร หมายถึง เป็นเพ่อื นรว่ มวิชาชีพ เตมิ เตม็ ส่วนทข่ี าดของแตล่ ะคน 5. ตอ้ งปรับเปลีย่ นวฒั นธรรมองค์กร หมายถงึ ต้องเนน้ การทางานท่ีเปดิ โอกาสการทางาน ทชี่ ่วยเหลอื กนั มากกวา่ การสัง่ การ มีชวั่ โมงพูดคยุ 6. การเรยี นรู้และพัฒนาวิชาชพี หมายถึง การเรยี นรู้การปฏิบัติงานและตรงกับภาระงานคอื การสอน สคู่ ณุ ภาพผู้เรียน PLC มวี ิธกี ารทางาน (กระบวนการ) 1. ต้องมีการรวมกลุ่ม และกลมุ่ น้นั ต้องมลี ักษณะคล้ายๆกัน เชน่ 1.1 จดั กล่มุ ครูท่ีมลี ักษณะใกลเ้ คยี งกนั - กลุ่มครูที่สอนวชิ า/กลุ่มสาระเดยี วกนั ในระดบั ช้ันเดียวกนั - กลมุ่ ครูท่สี อนวิชา/กล่มุ สาระเดียวกนั ในช่วงชน้ั เดยี วกัน - กลุ่มครูตามลักษณะงาน 1.2 จานวนสมาชกิ 6-8 คน (ผู้บรหิ าร/ศกึ ษานเิ ทศก์ หมนุ เวียนเขา้ รว่ ม ทกุ กลุม่ ) 1.3 ระยะเวลา 2-3 ชม.ต่อสัปดาห์ ตลอดหนึ่งปีการศึกษา กาหนดเป็นชัว่ โมงชดั เจนจะดีมาก 1.4 จดั ชั่วโมงอยใู่ นภาระการสอนของคร/ู ภาระงาน เพื่อไม่ให้ครูถือวา่ เปน็ ภาระเพ่ิมข้นึ 1.5. การจดั PLC โดยใช้ ICT ในการเขา้ กล่มุ ระหวา่ งการดาเนนิ การ 2. บทบาทของบคุ คลในการทา PLC 2.1 ผูอ้ านวยความสะดวก - รักษาระดับการมีส่วนร่วมของสมาชิก - ควบคมุ ประเด็นการพูดคุย - ย่ัวยุใหเ้ กดิ การแลกเปลยี่ นเรียนรู้โดยใหท้ กุ คนแสดงความคดิ เหน็ 2.2 สมาชกิ - เปดิ ใจรบั ฟงั และเสนอความคิดเห็นอย่างสรา้ งสรรค์ - รบั แนวทางไปปฏบิ ัตแิ ละนาผลมาเสนอ พร้อมต่อยอด 2.3 ผบู้ ันทกึ สรุปประเดน็ การสนทนาและแนวทางแก้ปัญหา พร้อมบนั ทึก Logbook 3. กลุ่มรว่ มกนั คิด “ปัญหาการเรยี นรู้ของนักเรียน”หาปญั หาสาคญั ท่สี ุด สิ่งท่ตี ้องระวัง คือ การไม่ช่วยกนั คน้ หาปญั หาที่แท้จรงิ ผลกั ปญั หาออกจากตวั 4. หาสาเหตุสาคัญท่ีทาให้เกิดปัญหา จากน้ันกลุ่มอภิปรายหาสาเหตุท่ีแท้จริง เน้น ไปทก่ี ารสอนของครูเป็นอันดับแรก ที่ถือว่าเป็นสาเหตทุ แ่ี ทจ้ ริง เช่น นักเรียนอ่านไม่ออก เป็นปัญหาสาคัญ รว่ มกัน ไมใ่ ชส่ าเหตวุ า่ พ่อแมแ่ ยกทาง 5. หาแนวทางแก้ไข “ปัญหาการเรียนรู้ของนักเรียน” ท่ีสาคัญน้ัน จะแก้ไขอย่างไรดูสาเหตุของ ปญั หา แนวทางแก้ปญั หาอาจใช้ประสบการณ์ของครูท่ีทาให้เกิดความสาเร็จ ผู้ทรงคุณวุฒิ งานวิจัย หรือ แหลง่ อื่นๆ ทมี่ ีการเสนอแนวทางไวแ้ ลว้ จากนน้ั สรปุ แนวทางการแก้ปญั หาสาคัญ 1 เรื่อง หรือ 2 เร่ืองตาม สภาพของโรงเรยี น 8
คู่มือการอบรมคณะกรรมการขับเคลือ่ นกระบวนการ PLC (Professional Learning Community) “ชมุ ชนการเรียนรู้ทางวิชาชพี ” สสู่ ถานศึกษา ระดบั สานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษา 6. นาแนวทางทีส่ รุปเพือ่ นาไปแกไ้ ขปญั หา มาช่วยกนั สร้างงาน สรา้ งแผนงาน เลือกการจัดการ เรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning : PBL) โดยมีสิ่งที่ต้องทาต่อ คือทาอย่างไร ทาเมอ่ื ไร ใชอ้ ยา่ งไร และตรวจสอบการทางานอย่างไร จะเสนอผลระหว่างทางานและสรุปผลเมื่อไร ตัวอย่าง วธิ กี ารทางาน (กระบวนการ) PLC ตัวอยา่ ง Timeline การจัดการเรียนรู้แบบบรู ณาการผ่านปัญหา/โครงงาน 9
คมู่ ือการอบรมคณะกรรมการขับเคล่อื นกระบวนการ PLC (Professional Learning Community) “ชมุ ชนการเรยี นรูท้ างวชิ าชพี ” สสู่ ถานศกึ ษา ระดบั สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา 7. นาแผนที่ร่วมกันคิดไปใช้ตามกาหนดการทางาน ต้องนาไปใช้อย่างจริงจัง และกล้าเสนอผล จะสาเรจ็ หรอื ไม่กต็ าม และพร้อมจะนาไปปรับปรุง ต้องนาผลมาเสนอตามช่วงเวลา ผลงานท่ีอาจนาเสนอ กันในชอ่ งทาง Line หรือ Facebook หรอื รปู แบบอื่นๆ 8. นาผลมาสรุปสุดท้ายว่าผลเป็นประการใด รว่ มกันสะท้อนผล และปรับปรุงงานให้ดีขึ้น ถ้าผล การทดลองเป็นไปตามวัตถุประสงค์ ก็เผยแพร่หรือปรับปรุงให้ย่ิงข้ึน ผลไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ก็ปรับปรุงทดลองใหม่ สงิ่ สาเร็จ คอื นวตั กรรม ท่ีสาคัญ คือ การทางานตั้งแต่ขั้นแรกถึงข้ันสุดท้าย ต้องมีการบันทึก (Logbook) ออกแบบ เอง ง่าย ส้ันหน่ึงหนา้ ก็พอ อาจนาเสนอทาง Line หรอื Facebook หรอื รูปแบบอ่ืนๆ 10
ค่มู อื การอบรมคณะกรรมการขับเคลอื่ นกระบวนการ PLC (Professional Learning Community) “ชุมชนการเรียนรทู้ างวชิ าชีพ” สสู่ ถานศกึ ษา ระดบั สานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษา ภาพตลอดแนวของ PLC 11
คู่มือการอบรมคณะกรรมการขับเคลอื่ นกระบวนการ PLC (Professional Learning Community) “ชุมชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี ” สสู่ ถานศกึ ษา ระดบั สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษา เทคนคิ หรือเคลด็ ลับ ทจ่ี าเป็นในการเสริมกระบวนการ PLC 1.ทกั ษะการฟงั 2. เร่ืองเล่าเรา้ พลงั 3. การวเิ คราะห์ปญั หาและแนวทางการแกป้ ัญหา 4. AAR 5. ระดับการพัฒนาของนกั เรียน 6. ICT (After Action Review : AAR) ทบทวนผลการปฏบิ ัตงิ าน 12
ค่มู อื การอบรมคณะกรรมการขบั เคล่อื นกระบวนการ PLC (Professional Learning Community) “ชุมชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ” สสู่ ถานศึกษา ระดบั สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษา รูปแบบการพฒั นานักเรยี น ในยุคปฏิรปู การเรียนรสู้ ผู่ ู้เรยี น 13
ค่มู อื การอบรมคณะกรรมการขบั เคล่ือนกระบวนการ PLC (Professional Learning Community) “ชุมชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ” สสู่ ถานศึกษา ระดบั สานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษา ปัจจยั ความสาเร็จของชุมชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี : แนวพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช 1. ภมู ิสังคม 2. ระเบดิ จากข้างใน 3. การมสี ่วนรวม 4. ประโยชนส์ ่วนรวม 5. องค์รวม 6. ทาตามลาดบั ข้ัน 7. ไม่ตดิ ตารา 8. ประหยัดเรียบงา่ ย ไดป้ ระโยชน์สงู สุด 14
ค่มู อื การอบรมคณะกรรมการขบั เคลอื่ นกระบวนการPLC (Professional Learning Community) “ชุมชนการเรยี นรู้ทางวิชาชพี ” สสู่ ถานศึกษา ระดบั สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา สว่ นที่ 3 การขับเคล่อื นกระบวนการ PLC (Professional Learning Community) สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ไดด้ าเนินการขับเคลอ่ื นกระบวนการ PLC Professional Learning Community) สสู่ ถานศกึ ษา มขี ้ันตอนการดาเนินงาน เป็น 3 ระดับ ดงั น้ี 1. ระดับสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 2. ระดับสานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษา 3. ระดับสถานศกึ ษา โดยมขี ้นั ตอนการดาเนินงาน ตามกิจกรรมและระยะเวลา ดงั นี้ 1. ระดบั สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน ข้ันตอน กิจกรรม ระยะเวลา 1. แตง่ ต้งั คณะกรรมการขบั เคลอื่ น คณะกรรมการประกอบดว้ ย PLC ส่สู ถานศกึ ษาระดบั สานกั งาน 1. ผบู้ รหิ ารระดับสูง คณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน 2. ผ้ทู รงคุณวฒุ ิ 3. สานกั พัฒนาครูและบคุ ลากรการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน 2. กาหนดรูปแบบกระบวนการ 2.1 ประชมุ สนทนากลมุ่ (Focus Group) ระหว่างวนั ท่ี 3-5 PLC ของ สานักงานคณะกรรมการ ผอู้ านวยการสถานศึกษา ศึกษานเิ ทศก์ และครู กมุ ภาพนั ธ์ 2560 การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน เพือ่ ออกแบบสารวจความตอ้ งการพัฒนาตนเองของ ขา้ ราชการครู พรอ้ มทัง้ ดาเนินกจิ กรรม PLC 2.2 ประชุมกาหนดรูปแบบกระบวนการ PLC ของ ระหว่างวนั ที่ 2-4 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยการ มนี าคม 2560 สังเคราะห์กระบวนการ PLC จากนักวิชาการ หนว่ ยงานราชการ และมหาวทิ ยาลัย 3. ประชุมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร 3.1 ประชุมเชิงปฏิบัติการ การขบั เคลอื่ นกระบวนการ วันท่ี 28 กมุ ภาพันธ์ กระบวนการ PLC PLC ให้กับผู้อานวยการสานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา 2560 3.2 อบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร การขบั เคลื่อนกระบวนการ ระหวา่ งวนั ท่ี 31 PLC สสู่ ถานศกึ ษา สาหรบั ศึกษานเิ ทศก์ มนี าคม – 6 เมษายน 2560 4. ออกแบบ และวางแผนแนว 4.1 กาหนดบทบาทหน้าที่คณะกรรมการขับเคล่ือน ทางการขบั เคลื่อนกระบวนการ กระบวนการ PLC ในระดับ สานักงานคณะกรรมการ PLC สสู่ ถานศึกษา ระดับสานกั งาน การศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา เขตพืน้ ทก่ี ารศึกษา และสถานศกึ ษา 4.2 กาหนดรปู แบบการรายงานผลด้วยระบบ Online 4.3 จัดทาคู่มือประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ขั บ เ ค ลื่ อ น ก ร ะ บ ว น ก า ร PLC สู่สถานศกึ ษาระดบั สานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา 15
ค่มู อื การอบรมคณะกรรมการขับเคลอ่ื นกระบวนการPLC (Professional Learning Community) “ชุมชนการเรียนรทู้ างวิชาชพี ” สสู่ ถานศึกษา ระดบั สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา ข้นั ตอน กิจกรรม ระยะเวลา 5. อบรมเชิงปฏิบตั กิ าร คณะกรรมการขับเคลือ่ น อบรมเชิงปฏิบัติการคณะกรรมการขับเคล่ือน ระหวา่ งวนั ท่ี 26 กระบวนการ PLC สู่สถานศึกษา ระดบั สานักงานเขตพน้ื ท่ี กระบวนการ PLC สู่สถานศึกษา ระดับสานักงานเขต เมษายน –3 การศกึ ษา 6. กากับ ตดิ ตามนเิ ทศและ พ้ืนท่ีการศกึ ษา เขตละ 6 คน พฤษภาคม 2560 ประเมนิ ผลการขับเคลื่อน กระบวนการ PLC 6.1 วางแผนและจัดทาเครื่องมือการติดตามและ ประเมนิ ผลการขบั เคลอ่ื นกระบวนการ PLC 7. สรปุ และรายงานผลการ 6.2 คณะกรรมการติดตามและประเมินผลระดับ ขับเคล่ือนกระบวนการ PLC สู่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ออก สถานศกึ ษา ระดบั สานักงานเขต ตดิ ตามและประเมนิ ผลการขับเคลอื่ นกระบวนการPLC พืน้ ท่ีการศกึ ษาและสถานศึกษา ในระดับสานักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาและสถานศึกษา 6.3 คณะกรรมการติดตามและประเมินผลระดับ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สรุป และรายงานผลการติดตามการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC ในระดับสานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษา 6.4 เร่งรัด ติดตาม และสนับสนุน สานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาและสถานศึกษาท่ีไม่ประสบความสาเร็จ ในการขบั เคลอื่ นกระบวนการ PLC สสู่ ถานศกึ ษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดย สานักพัฒนาครูและบุคลากรการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน สรุป และรายงานผลการขับเคล่ือนกระบวนการ PLC สู่สถานศึกษา ระดับสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและ สถานศกึ ษาเพือ่ รายงานผู้เก่ียวข้อง 8. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ 8.1 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน จัด ถอดบทเรียน และยกยอ่ งเชดิ ชู กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Show & Share) การ เกียรติการขับเคลื่อนกระบวนการ ขับเคลือ่ นกระบวนการ PLC สู่สถานศกึ ษา PLC สูส่ ถานศกึ ษา 8.2 ยกย่องเชิดชูเกียรติสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา ที่มีกระบวนการดาเนินการที่ดี สามารถเป็นแบบอย่างได้ และเผยแพร่ด้วยวิธีการ ทห่ี ลากหลาย 16
คู่มอื การอบรมคณะกรรมการขบั เคล่ือนกระบวนการPLC (Professional Learning Community) “ชมุ ชนการเรียนร้ทู างวิชาชีพ” สสู่ ถานศกึ ษา ระดบั สานักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษา 2. ระดบั สานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษา ขนั้ ตอน กจิ กรรม ระยะเวลา 1. แต่งตงั้ คณะกรรมการขบั เคล่อื น เมษายน 2560 กระบวนการ PLC ส่สู ถานศกึ ษา คณะกรรมการจานวนตามความเหมาะสม ระดบั เขตพน้ื ท่ีการศึกษา 1. ผูอ้ านวยการสานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษา พฤษภาคม 2560 2. รองผอู้ านวยการสานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษา 2. กาหนดแผนงานการขบั เคล่อื น 3. บุคลากรกลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผล พฤษภาคม - กระบวนการ PLC สู่ สถานศกึ ษา การศึกษา กรกฎาคม 2560 4. บคุ ลากรการกลุม่ นโยบายและแผน 3. การขับเคลื่อนกระบวนการ PLC 5. บุคลากรกล่มุ บรหิ ารงานบคุ คล 17 สูก่ ารปฏิบัตใิ นสานกั งานเขตพืน้ ที่ 6. ผู้บรหิ ารสถานศึกษา การศึกษาและสถานศึกษา 7. ครู ฯลฯ 4. กากับ ติดตามนิเทศและ จดั ทาแผนงานการขบั เคลื่อนกระบวนการ PLC สู่ ประเมินผล สถานศึกษา ประกอบดว้ ย 1. สร้างทมี งาน PLC ระดับกลุ่ม/เครือข่าย/ศูนย์/ สหวิทยาเขต ฯลฯ 2 สร้างความรู้ ความเข้าใจ และแนวทางการ ปฏิบัติให้กับบุคลากรในสานักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษาและสถานศึกษา 3. สร้างเครือข่ายกับหน่วยงานอื่น (มหาวิทยาลัย องค์กรและหนว่ ยงานตา่ งๆ) 4. กากับ ติดตาม นเิ ทศและประเมนิ ผล 5. ส่งเสริม สนับสนุน และประสานงาน การ พัฒนาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา 3.1 ขับเคล่ือนกระบวนการ PLC สู่การปฏิบัติใน สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาและสถานศึกษา พร้อมทั้งบันทึกลงใน Logbook ตามลาดับดังน้ี 1) ค้นหาปัญหา 2) หาสาเหตุ 3) แนวทางแก้ไข 4) ออกแบบกิจกรรมและ 5) นาสู่การปฏิบัติและ สะทอ้ นผล 3.2 สรุปรายงานผล และจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยน เรยี นรู้ 4.1 จัดทาแผนและเคร่ืองมือ กากับ ติดตาม นิเทศ และประเมินผลการขบั เคลื่อนกระบวนการ PLC สู่สถานศึกษา 4.2 คณะกรรมการขับเคล่ือนกระบวนการ PLC ระดับสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ดาเนินการ กากับ ติดตาม นิเทศ และประเมินผลการ
คมู่ ือการอบรมคณะกรรมการขบั เคลือ่ นกระบวนการPLC (Professional Learning Community) “ชุมชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชีพ” สสู่ ถานศกึ ษา ระดบั สานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษา ขน้ั ตอน กิจกรรม ระยะเวลา ขับเคล่ือนกระบวนการ PLC สู่สถานศึกษา ใน สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาและสถานศึกษา 4.3 เร่งรัด ติดตาม และสนับสนุน สถานศึกษาที่ ไม่ ป ระ ส บค ว า มส า เร็ จ ใน ก า รขั บ เค ลื่ อ น กระบวนการ PLC ส่สู ถานศึกษา 5. สรปุ และรายงานผลการ 5.1 คณะกรรมการขับเคลื่อนกระบวนการPLC สู่ ดาเนนิ การขบั เคลื่อนกระบวนการ สถานศึกษา ระดับสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา PLC ส่สู ถานศกึ ษา สรุปและรายงานผลดาเนินการ ขับเคล่ือน กระบวนการ PLC สู่สถานศึกษา 5.2 สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษารายงานผลการ ดาเนินการขับเคล่ือนกระบวนการ PLC สู่ สถานศึกษา ต่อ สานักงานคณะกร รมการ การศึกษาขนั้ พนื้ ฐานและผทู้ เี่ กย่ี วข้อง 6. กจิ กรรมแลกเปล่ียนเรยี นรู้ ถอด 6.1 สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา จัดกิจกรรม บทเรยี น และยกย่องเชิดชูเกยี รตกิ าร แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Show & Share) การ ขบั เคล่ือนกระบวนการ PLC สู่ ขบั เคล่ือนกระบวนการ PLC สู่สถานศึกษา สถานศึกษา 6.2 ยกย่องเชิดชูเกียรติสถานศึกษา ท่ีมี กระบว นการดาเนินการท่ีดีสามารถเป็น แบ บอ ย่า งไ ด้ แล ะเ ผย แพ ร่ด้ ว ย วิธี กา ร ท่ี หลากหลาย 18
คมู่ ือการอบรมคณะกรรมการขบั เคล่ือนกระบวนการPLC (Professional Learning Community) “ชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวิชาชพี ” สสู่ ถานศึกษา ระดบั สานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษา 3. ระดบั สถานศึกษา ขน้ั ตอน กจิ กรรม ระยะเวลา 1. แต่งต้งั คณะกรรมการขับเคลื่อน 19 กระบวนการ PLC คณะกรรมการจานวนตามความเหมาะสม ระดับสถานศึกษา 1. ผอู้ านวยการสถานศกึ ษา 2. รองผู้อานวยการสถานศกึ ษา 2. กาหนดแผนงานการขับเคลอื่ น 3. หัวหน้าหมวด / ฝ่าย กระบวนการ PLC ระดับสถานศึกษา 4. ครู 3. การขบั เคล่ือนกระบวนการ PLC ฯลฯ สกู่ ารปฏบิ ตั ใิ นสถานศึกษา จัดทาแผนงานการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC สู่ 4. กากบั ตดิ ตามนเิ ทศและ สถานศึกษา ประกอบด้วย ประเมนิ ผล 1. สร้างทีมงาน PLC ในสถานศึกษาที่สอดคล้องกับ บริบทของสถานศึกษา 2. สร้างความรู้ ความเข้าใจ และแนวทางการปฏิบัติ ให้กบั บคุ ลากรในสถานศกึ ษา (พาดู พาคิด พาทา) 3.สร้างเครือข่ายกับหน่วยงานอื่น (ระดับบุคคล ระดับองคก์ าร ระดับหน่วยงาน) 4. กากบั ติดตาม นเิ ทศ และประเมินผล 5. ส่งเสริม สนับสนุน และประสานงาน การพัฒนา ข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา 3.1 ขับเคล่ือนกระบวนการ PLC สู่การปฏิบัติใน สถานศึกษา พร้อมท้ังบันทึกลงใน Logbook ตามลาดับดังนี้ 1) ค้นหาปัญหา 2) หาสาเหตุ 3) แนวทางแก้ไข 4) ออกแบบกิจกรรมและ 5) นาสู่ การปฏิบตั แิ ละสะท้อนผล 3.2 สรุปรายงานผล และจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยน เรียนรู้ 4.1 จัดทาแผนและเครื่องมือ กากับ ติดตาม นิเทศ และประเมินผลการขับเคล่ือนกระบวนการ PLC สู่ สถานศึกษา 4.2 คณะกรรมการขับเคล่ือนกระบวนการPLC สู่ สถานศึกษา ระดับสถานศึกษา ดาเนินการกากับ ติดตาม นิเทศ และประเมินผลการขับเคลื่อน กระบวนการ PLCสูส่ ถานศึกษา 4.3 เรง่ รัด ติดตาม และสนับสนุน ข้าราชการครูและ บคุ ลากรทางการศึกษาทไี่ ม่ประ สบความสาเร็จในการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC สู่สถานศกึ ษา
คมู่ อื การอบรมคณะกรรมการขบั เคลอ่ื นกระบวนการPLC (Professional Learning Community) “ชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี ” สสู่ ถานศกึ ษา ระดบั สานกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษา ขน้ั ตอน กจิ กรรม ระยะเวลา 5. สรปุ รายงานผลการดาเนนิ การการ 5.1 ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ขบั เคลอ่ื นกระบวนการ PLC รายงานผลการดาเนินการตามกระบวนการ PLC สู่สถานศึกษา พร้อม Logbook เป็นรายบุคคลต่อ ผู้บริหารสถานศกึ ษา 5.2 คณะกรรมการขับเคลื่อนกระบวนการPLC สูส่ ถานศึกษา ระดบั สถานศกึ ษา สรุปและรายงานผล การดาเนินการติดตามการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC สสู่ ถานศกึ ษา ในสถานศกึ ษา 5.3 สถานศึกษารายงานผลการดาเนินการขับเคล่ือน กระบวนการ PLC สู่สถานศึกษา ต่อสานักงานเขต พื้นที่การศกึ ษาและผูท้ ี่เก่ยี วข้อง 6. กจิ กรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถอด 6.1 สถานศึกษาจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ บทเรียน และยกย่องเชิดชูเกยี รตกิ าร (Show & Share) การขับเคลื่อนกระบวนการ PLC ขบั เคลือ่ นกระบวนการ PLC สู่ สสู่ ถานศกึ ษา ทส่ี อดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา สถานศึกษา 6.2 ยกย่องเชิดชูเกียรติข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา ท่ีมีกระบวนการดาเนินการที่ดี สามารถเป็นแบบอย่างได้ และเผยแพร่ด้วยวิธีการ ท่ีหลากหลาย 20
ค่มู ือการอบรมคณะกรรมการขบั เคล่อื นกระบวนการPLC (Professional Learning Community) “ชุมชนการเรยี นร้ทู างวชิ าชพี ” สสู่ ถานศกึ ษา ระดบั สานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษา ภาคผนวก 21
ค่มู อื การอบรมคณะกรรมการขบั เคลอ่ื นกระบวนการPLC (Professional Learning Community) “ชมุ ชนการเรียนรทู้ างวิชาชพี ” สสู่ ถานศกึ ษา ระดบั สานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษา ภาคผนวก ก ความรู้ เรอ่ื ง ชุมชนการเรียนรทู้ างวิชาชีพ 22
ค่มู ือการอบรมคณะกรรมการขบั เคลอ่ื นกระบวนการPLC (Professional Learning Community) “ชมุ ชนการเรยี นร้ทู างวชิ าชีพ” สสู่ ถานศึกษา ระดบั สานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษา ความรู้ เรื่อง ชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี (Professional Learning Community : PLC) ********************************************************************************** 1. ความรคู้ วามเข้าใจเก่ียวกับชุมชนการเรียนรทู้ างวชิ าชีพ PLC (Professional Learning Community) มีพื้นฐานแนวคิดมาจากภาคธุรกิจเก่ียวกับ ความสามารถขององค์กรในการเรียนรู้ (Thompson, Gregg, & Niska, 2004) เป็นการนาแนวคิดองค์กรแห่ง การเรียนรู้มา ประยกุ ต์โดยอธิบายว่า การอุปมาท่ีเปรียบเทียบให้โรงเรียนเป็น”องค์กร” น้ันน่าจะไม่เหมาะสม และถูกต้อง แท้จริงแล้วโรงเรียน มีความเป็น “ชุมชน” มากกว่าความเป็นองค์กร ซึ่งความเป็น “องค์กร” กับ “ชุมชน” มีความแตกต่างกันท่ีความเป็นชุมชน จะยึดโยงภายในต่อกันด้วยค่านิยม แนวคิด และความผูกพัน ร่วมกันของทุกคนท่ีเป็นสมาชิก ซ่ึงเป็นแนวคิดตรงกันข้ามกับ “ความเป็นองค์กร” ที่มีความสัมพันธ์ระหว่าง สมาชิกในลักษณะท่ียึดตามระดับลดหลั่นกันลงมา มีกลไกการควบคุมและมีโครงสร้างแบบตึงตัวท่ีเต็มไปด้วย กฎระเบียบและวัฒนธรรมของการใช้อานาจเป็นหลัก ในขณะท่ี “ชุมชน” จะใช้อิทธิพลท่ีเกิดจากการมีค่านิยม และวตั ถปุ ระสงคร์ ่วมกัน เป็นความสมั พันธ์ระหว่างสมาชิกเชิงวิชาชีพมีความเป็นกัลยาณมิตรเชิงวิชาการ และ ยึดหลักต้องพ่ึงพาอาศัยซ่ึงกันและกัน แบบผนึกกาลังกันในการปฏิบัติงานท่ีมุ่งสู่พัฒนาการการเรียนรู้ของ ผู้เรยี นเป็นสาคัญ นอกจากนี้ “องคก์ ร” ยังทาให้เกิดคุณลักษณะบางอย่างขึ้น เช่นลดความเป็นกันเองต่อกันลง มคี วามเป็นราชการมากขน้ึ และถกู ควบคุมจากภายนอกให้ต้องรักษาสถานภาพเดิมของหน่วยงานไว้ จึงเห็นว่า ถ้ามองโรงเรียนในฐานะแบบองค์กรดังกล่าวแล้วก็จะทาให้โรงเรียนมีความเป็นแบบทางการที่สร้างความรู้สึก ห่างระหว่างบุคคลมากยิ่งข้ึนมีกลไกที่บังคับควบคุมมากมายและมักมีจุดเน้นในเร่ืองท่ีเป็นงานด้านเทคนิคเป็น หลักในทางตรงข้ามถ้ายอมรับว่าโรงเรียนมีฐานะแบบท่ีเป็นชุมชนแล้วบรรยากาศท่ีตามมาก็คือสมาชิกมีความ ผกู พนั ตอ่ กันดว้ ยวัตถุประสงค์ร่วมมีการสร้างสัมพันธภาพท่ีใกล้ชิดสนิทสนม และเกิดการร่วมสร้างบรรยากาศ ท่ีทุกคนแสดงออกถึงความห่วงหาอาทรต่อกันและช่วยดูและสวัสดิภาพร่วมกัน (Sergiovanni, 1994) โดยท่ี ใส่ใจร่วมกนั ถงึ การเรยี นรู้และความรับผิดชอบหลักรว่ มกันของชุมชนนั้นคือพฒั นาการการเรียนรู้ของผู้เรยี น ด้านความสาคัญของ PLC จากผลการวิจัยโดยของ Hord (1997) ท่ียืนยันว่าการดาเนินการใน รูปแบบ PLC นาไปสู่การเปลี่ยนแปลงเชิงคุณภาพทั้งด้านวิชาชีพและผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน จากการ สังเคราะห์รายงานการวิจัยเก่ียวกับโรงเรียนท่ีมี การจัดต้ัง PLC โดยใช้คาถามว่า โรงเรียนดังกล่าวมีผลลัพธ์ อะไรบ้างท่ีแตกต่างไปจากโรงเรียนทั่วไปที่ไม่มีชุมชนแห่งวิชาชีพ และ ถ้าแตกต่างแล้วจะมีผลดีต่อครูผู้สอน และตอ่ นักเรยี นอย่างไรบา้ ง ซ่งึ มผี ลสรปุ 2 ประเด็น ดังนี้ ประเด็นท่ี 1 ผลดีต่อครูผู้สอน พบว่า PLC ส่งผลต่อครูผู้สอน กล่าวคือ ลดความรู้สึกโดดเดี่ยวงาน สอนของครูเพม่ิ ความรูส้ ึกผกู พนั ตอ่ พันธะกิจและเป้าหมายของโรงเรียนมากข้ึนโดยเพ่ิมความกระตือรือร้นที่จะ ปฏิบัติให้บรรลุพันธะกิจอย่างแข็งขันจนเกิดความรู้สึกว่าต้องการร่วมกันเรียนรู้และรับผิดชอบต่อพัฒนาการ โดยรวมของนักเรียน ถือเป็น “พลังการเรียนรู้” ซ่ึงส่งผลให้การปฏิบัติการสอนในช้ันเรียนให้มีผลดียิ่งข้ึน กล่าวคือ มีการค้นพบความรู้และความเช่ือที่เกี่ยวกับวิธีการสอน และตัวผู้เรียนซึ่งท่ีเกิดจากการคอยสังเกต อย่างสนใจ รวมถึงความเข้าใจในด้านเน้ือหาสาระที่ต้องจัดการเรียนรู้ได้แตกฉานย่ิงข้ึนจนตระหนักถึงบทบาท และพฤติกรรมการสอนท่ีจะช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีที่สุด อีกทั้งการรับทราบข้อมูลสารสนเทศต่างๆ ที่จาเป็นต่อวิชาชีพได้อย่างกว้างขวางและรวดเร็วขึ้นส่งผลดีต่อการปรับปรุงพัฒนางานวิชาชีพได้ตลอดเวลา เป็นผลให้เกิดแรงบันดาลใจท่ีจะพัฒนาและอุทิศตนทางวิชาชีพเพื่อศิษย์ซึ่งเป็นท้ังคุณค่าและขวัญกาลังใจต่อ 23
คู่มอื การอบรมคณะกรรมการขบั เคลอื่ นกระบวนการPLC (Professional Learning Community) “ชมุ ชนการเรียนรทู้ างวิชาชพี ” สสู่ ถานศกึ ษา ระดบั สานกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษา การปฏิบัติงานให้ดีย่ิงข้ึนท่ีสาคัญ คือยังสามารถลดอัตราการลาหยุดงานน้อยลงเม่ือเปรียบเทียบกับโรงเรียน แบบเก่ายังพบว่ามีความก้าวหน้าในการปรับเปล่ียนวิธีการจัดการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับ ลักษณะผู้เรียนได้ อย่างเด่นชัด และรวดเร็วกว่าทพี่ บในโรงเรยี นแบบเก่ามคี วามผกู พนั ที่จะสรา้ งการเปลยี่ นแปลงใหม่ๆ ให้ปรากฏ อยา่ งเดน่ ชัดและยงั่ ยืน ประเด็นที่ 2 ผลดีต่อผู้เรียน พบว่า PLC ส่งผลต่อผู้เรียน กล่าวคือ สามารถลดอัตราการตกซ้าชั้น และจานวนชั้นเรียนที่ต้อง เลื่อนหรือชะลอการจัดการเรียนรู้ให้น้อยลง อัตราการขาดเรียนลดลง มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนในวิชาวิทยาศาสตร์ ประวัติศาสตร์ และวิชาการอ่านท่ีสูงขึ้นอย่างเด่นชัด เมื่อเทียบกับโรงเรียน แบบเก่า สุดท้าย คือ มีความแตกต่างด้านผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ระหว่างกลุ่มนักเรียนที่มีภูมิหลังไม่ เหมอื นกนั และลดลงชัดเจน กล่าวโดยสรุปคือ PLC มีพัฒนาการมาจากกลยุทธ์ระดับ องค์กรท่ีมุ่งเน้นให้องค์กรมีการปรับตัวต่อ กระแสการเปลี่ยนแปลง ของสงั คมทเ่ี กดิ ขึ้นอยา่ งรวดเร็ว โดยเริม่ พฒั นาจากแนวคิดองค์กรแห่งการเรียนรู้ และ ปรบั ประยุกต์ให้มีความสอดคล้องกบั บริบทของโรงเรยี นและการเรียนรู้ร่วมกันในทางวิชาชีพท่ีมีหน้างานสาคัญ คือ ความรับผิดชอบการเรียนรู้ของผู้เรียนร่วมกันเป็นสาคัญ จากการศึกษาหลายโรงเรียนในประเทศ สหรัฐอเมริกาดาเนินการ ในรูปแบบ PLC พบว่าเกิดผลดีทั้งวิชาชีพครูและผู้เรียน ที่มุ่งพัฒนาการของผู้เรียน เป็นสาคญั 1.1 ความหมายของชุมชนการเรียนร้ทู างวชิ าชีพ ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพหรือ PLC มีวรรณกรรมทางการศึกษาจากการวิจัยหรือโครงการศึกษา ต่างๆ สามารถ เรียบเรียงสรุปเป็นความหมายของ PLC คือ การรวมตัว รวมใจ รวมพลัง ร่วมมือกันของครู ผู้บริหาร และนักการศึกษาในโรงเรียน เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นสาคัญ ดังท่ี Sergiovanni (1994) ได้กล่าวว่า PLCเป็นสถานท่ีสาหรับ “ปฏิสัมพันธ์” ลด “ความโดดเดี่ยว” ของมวลสมาชิกวิชาชีพครูของ โรงเรียนในการทางาน เพ่ือปรับปรุงผลการเรียนของนักเรียนหรืองานวิชาการโรงเรียน ซึ่ง Hord (1997) มอง ในมุมมองเดียวกนั โดยมองการรวมตัวกันดังกล่าว มีนัยยะแสดงถึงการเป็นผู้นาร่วมกันของครู หรือเปิดโอกาส ให้ครเู ป็น “ประธาน” ในการเปลี่ยนแปลง (วิจารณ์ พานิช, 2555) การมีคุณค่าร่วมและวิสัยทัศน์ร่วมกันไปถึง การเรียนรู้ร่วมกันและการนาสิ่งท่ีเรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ อย่างสร้างสรรค์ร่วมกัน การรวมตัวในรูปแบบน้ีเป็น เหมือนแรงผลักดัน โดยอาศัยความต้องการและความสนใจของ สมาชิกใน PLC เพ่ือการเรียนรู้และพัฒนา วิชาชีพ สู่มาตรฐานการเรียนรู้ของนักเรียนเป็นหลัก (Senge, 1990) การพัฒนาวิชาชีพให้เป็น “ครูเพื่อศิษย์” (วิจารณ์ พานิช, 2555) โดยมองว่าเป็น “ศิษย์ของเรา” มากกว่ามองว่า “ศิษย์ของฉัน”และการ เปล่ียนแปลง คุณภาพการจัดการเรียนรู้ที่เริ่มจาก “การเรียนรู้ ของครู” เป็นตัวต้ังต้น เรียนรู้ที่จะมองเห็นการปรับปรุง เปลี่ยนแปลง พัฒนาการจัดการเรียนรู้ของตนเอง เพอื่ ผเู้ รยี น เป็นสาคัญ อย่างไรก็ตาม การรวมตัวการเรียนรู้ การเปลี่ยนแปลงใดๆ เป็นไปได้ยากที่จะทาเพียงลาพังหรือ เพียงนโยบายเพ่ือให้เกิด การขับเคล่ือนท้ังระบบโรงเรียน จึงจาเป็นต้องสร้างความเป็น PLC ที่สอดคล้องกับ ธรรมชาตทิ างวชิ าชีพรว่ มในโรงเรยี น ย่อมมคี วามเปน็ ชมุ ชนที่สมั พนั ธ์กนั อย่างแน่นแฟ้น (Senge, 1990) ชุมชน ท่ีสามารถขับเคล่ือนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางวิชาชีพได้น้ัน จึงจาเป็นต้องมีอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขทาง วิชาชีพ มีฉันทะ และศรัทธาในการทางาน “ครูเพ่ือศิษย์ร่วมกัน” บรรยากาศการอยู่ร่วมกันจึงเป็นบรรยากาศ “ชุมชนกัลยาณมิตร ทางวิชาการ” (สุรพล ธรรมร่มดี, ทัศนีย์ จันอินทร์, และ คงกฤช ไตรยวงศ์, 2553) ที่มี ลักษณะความเป็นชุมชน แห่งความเอื้ออาทรอยู่บนพ้ืนฐาน “อานาจเชิงวิชาชีพ” และ “อานาจเชิงคุณธรรม” 24
คมู่ ือการอบรมคณะกรรมการขบั เคลอื่ นกระบวนการPLC (Professional Learning Community) “ชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ” สสู่ ถานศึกษา ระดบั สานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษา (Sergiovanni, 1994) เป็นอานาจท่ีการสร้างพลังมวลชนเร่ิมจากภาวะผู้นาร่วมของครูเพ่ือขับเคลื่อนการ ปรบั ปรงุ และพัฒนาสถานศกึ ษา (Fullan, 2005) กล่าวโดยสรปุ PLC หมายถึง การรวมตัว ร่วมใจ ร่วมพลัง ร่วมทา และร่วมเรียนรู้ร่วมกันของครู ผู้บริหาร และนักการศึกษา บนพ้ืนฐานวัฒนธรรมความสัมพันธ์แบบกัลยาณมิตร ที่มีวิสัยทัศน์ คุณค่า เป้าหมาย และภารกิจร่วมกัน โดยทางานร่วมกันแบบทีมเรียนรู้ที่ครูเป็นผู้นาร่วมกัน และผู้บริหารแบบผู้ดูแล สนับสนุน สู่การเรียนรู้และพัฒนาวิชาชีพเปลี่ยนแปลงคุณภาพตนเอง สู่คุณภาพการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้น ความสาเร็จหรือประสทิ ธิผลของ ผเู้ รยี นเป็นสาคัญ และความสุขของการทางานรว่ มกันของสมาชกิ ในชมุ ชน 1.2 การแบง่ ระดบั ของชุมชนการเรียนร้ทู างวิชาชีพ PLC สามารถแบ่งระดับได้ 3 ระดับ คือ ระดับสถานศึกษา ระดับเครือข่าย และระดับชาติ โดย แตล่ ะลกั ษณะจะแบง่ ตามระดบั ของความเปน็ PLC ย่อย ดังน้ี 1) ระดับสถานศึกษา (School Level) คือ PLC ท่ีขับเคลื่อนในบริบทสถานศึกษา หรือ โรงเรยี น สามารถแบ่งได้ 3 ระดับยอ่ ย (Sergiovanni, 1994) คือ 1.1 ระดับนักเรียน (Student Level) ซ่ึงนักเรียนจะได้รับการส่งเสริมและร่วมมือให้เกิดการ เรียนรู้ข้ึน จากครูและเพื่อนนักเรียนอ่ืนให้ทากิจกรรมเพื่อแสวงหาคาตอบที่สมเหตุสมผล สาหรับตน นักเรียน จะได้รับการพัฒนาทกั ษะทสี่ าคัญ คือ ทกั ษะการเรียนรู้ 1.2 ระดับผู้ประกอบวิชาชีพ (Professional Level) ประกอบด้วยครูผู้สอนและผู้บริหารของ โรงเรียนโดยใชฐ้ านของ “ชมุ ชนแห่งวิชาชีพ” เชือ่ มโยงกับการเรียนรู้ของชุมชน จึงเรียกว่า “ชุมชนการเรียนรู้ ทางวชิ าชพี ” ซ่ึงเปน็ กลไกสาคัญอย่างย่ิงที่ทุกคนในโรงเรียนร่วมกันพิจารณา ทบทวนเร่ืองนโยบาย การปฏิบัติ และกระบวนการบริหารจัดการต่างๆ ของโรงเรียนใหม่อีกครั้ง โดยยึดหลักในการปรับปรุงแก้ไขส่ิงเหล่าน้ี เพื่อให้สามารถ บริการด้านการเรียนรู้แก่นักเรียนได้อย่างมีประสิทธิผล อีกทั้ง เพ่ือให้การปรับปรุงแก้ไข้ ดังกล่าว นามาสู่การสนับสนุนการปฏิบัติ งานวิชาชีพของครูผู้สอน และผู้บริหารให้มีคุณภาพและประสิทธิผล สูงยง่ิ ขึ้น มบี รรยากาศและสภาพแวดลอ้ มของการทางานที่ดีต่อกนั ของทุกฝา่ ย 1.3 ระดับการเรียนรู้ของชุมชน (Learning Community Level) ครอบคลุมถึงผู้ปกครอง สมาชิกชุมชนและผู้นาชุมชน โดยบุคคลกลุ่มนี้จาเป็นต้องมีส่วนเข้ามาร่วมสร้าง และผลักดัน วิสัยทัศน์ของ โรงเรียนให้บรรลุผลตามเป้าหมาย กล่าวคือ ผู้ปกครองนักเรียน ผู้อาวุโสในชุมชนตลอดจนสถาบันต่างๆ ของ ชุมชนเหล่าน้ี ต้องมีส่วนร่วมในการส่งเสริมเป้าหมายการเรียนรู้ของชุมชนและโรงเรียน กล่าวคือ ผู้ปกครอง มีส่วนร่วมทางการศึกษาได้โดยการให้การดูแลแนะนาการเรียนที่บ้านของนักเรียน รวมทั้งให้การสนับสนุน แก่ครูและผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการเรียนรู้ ให้แก่บุตรหลานของตน ผู้อาวุโสในชุมชนสามารถเป็น อาสาสมัคร ถ่ายทอดความรู้ 2) ระดับกลุ่มเครือข่าย (Network Level) คือ PLC ที่ขับเคล่ือนในลักษณะการรวมตัวกัน ของกลุ่มวิชาชีพจากองค์กร หรือหน่วยงานต่างๆ ที่มุ่งม่ันร่วมกันสร้างชุมชน เครือข่าย ภายใต้ วัตถุประสงค์ ร่วม คือ การแลกเปล่ียนเรียนรู้ ส่งเสริม สนับสนุน ให้กาลังใจ สร้างความสัมพันธ์และพัฒนาวิชาชีพร่วม กัน อาจมี เป้าหมายท่ีเปน็ แนวคิดร่วมกนั อยา่ งชดั เจน สามารถแบ่งได้ 2 ลักษณะ คือ 2.1 กลุ่มเครือข่ายความร่วมมือระหว่างสถาบัน คือ การตกลงร่วมมือกันในการพัฒนา วิชาชีพครูระหว่างสถาบัน โดยมองว่าการร่วมมือกันของสถาบันต่างๆ จะทาให้เกิดพลังการขับเคล่ือน การ แลกเปล่ียนเรยี นรทู้ างวิชาชพี การแลกเปล่ยี น หรอื รว่ มลงทนุ ด้านทรัพยากร และการเก้ือหนุนเป็นกัลยาณมิตร 25
คมู่ ือการอบรมคณะกรรมการขับเคลื่อนกระบวนการPLC (Professional Learning Community) “ชมุ ชนการเรยี นร้ทู างวชิ าชพี ” สสู่ ถานศึกษา ระดบั สานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษา คอยสะท้อนการเรียนรู้ซึ่งกันและกัน กรณีตัวอย่างเช่น กรณี ศึกษาการจัด PLC เป็นกลุ่มของโรงเรียนใน ประเทศสิงคโปร์ เพื่อร่วมพัฒนาแลกเปล่ยี นและสะทอ้ นรว่ มกันทางวิชาชพี เป็นต้น 2.2 กลุม่ เครือข่ายความร่วมมือของสมาชิกวิชาชีพครู คือ การจัดพื้นที่เปิดกว้างให้สมาชิก วิชาชีพครูท่ีมีอุดมการณ์ร่วมกันในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของตนเองเพื่อการเปล่ียนแปลง เชิงคุณภาพ ของผู้เรยี นเป็นหัวใจสาคญั สมาชิกท่รี วมตัวกัน ไม่มีเง่ือนไขเกี่ยวกับสังกัด แต่จะต้ังอยู่บนความมุ่งมั่น สมัครใจ ใช้อุดมการณ์ร่วมเป็นหลักในการรวมกันเป็น PLC กรณีตัวอย่าง เช่น PLC “ครูเพ่ือศิษย์” ของ มูลนิธิสดศรี สฤษด์ิวงศ์ (มสส.) ท่ีสร้างพ้ืนท่ีส่วนกลางสาหรับวิชาชีพครูให้จับมือร่วมกันเป็นภาคี ร่วมพัฒนา “ครเู พ่ือศิษย์” มุง่ สรา้ งสรรค์นวัตกรรมการจัดการเรยี นรูใ้ นแตล่ ะพนื้ ท่ีของประเทศไทย (วิจารณ์ พานิช, 2555) เปน็ ตน้ 3) ระดับชาติ (The National Level) คือ PLC ท่ีเกิดข้ึน โดยนโยบายของรัฐท่ีมุ่งจัด เครือข่าย PLC ของชาติเพื่อขับเคลื่อน การเปลี่ยนแปลงเชิงคุณภาพของวิชาชีพ โดยความร่วมมือของ สถานศึกษา และครู ท่ีผนึกกาลังร่วมกันพัฒนาวิชาชีพ ภายใต้ การสนับสนุนของรัฐ ดังกรณีตัวอย่าง นโยบาย วิสัยทัศน์เพ่ือ ความร่วมมือของกระทรวงศึกษาธิการประเทศสิงคโปร์ (MOE) (2009) รัฐจัดให้มี PLC ชาติ สิงคโปร์เพ่ือมุ่งหวังขับเคลื่อนแนวคิด “สอนให้น้อย เรียนรู้ให้มาก” (Teach Less, Learn more) ให้เกิด ผลสาเร็จ เป็นตน้ 1.3 องคป์ ระกอบของชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวิชาชพี ในบริบทสถานศกึ ษา PLC ในระดับสถานศึกษา หรือ ระดับผู้ประกอบวิชาชีพ นาเสนอเป็นองค์ประกอบของ PLC ที่มาจากข้อมูลท่ีรวบรวมและ วิเคราะห์จากเอกสารทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศนาเสนอเป็น 6 องค์ประกอบของ PLC ในบริบทสถานศึกษา ซ่ึงประกอบด้วย วิสัยทัศน์ร่วมทีมร่วมแรงร่วมใจ ภาวะผู้นาร่วม การเรียนรู้และการพัฒนาวิชาชีพ ชุมชนกัลยาณมิตร และโครงสร้างสนับสนุน ชุมชนนาเสนอจ าก การสงั เคราะหแ์ นวคดิ ตา่ งๆ และรายละเอียดตอ่ ไปนี้ องค์ประกอบที่ 1 วิสัยทัศน์ร่วม (Shared Vision) วิสัยทัศน์ร่วมเป็นการมองเห็นภาพ เปา้ หมาย ทศิ ทาง เส้นทาง และสิง่ ท่จี ะเกดิ ข้ึนจริง เป็นเสมือนเข็มทิศในการขับเคล่ือน PLC ที่มีทิศทางร่วมกัน โดยมีวสิ ยั ทศั นเ์ ชิงอุดมการณ์ทางวิชาชพี รว่ มกัน (Sergiovanni, 1994) คือพัฒนาการการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็น ภาพความสาเร็จที่มุ่งหวังในการนาทางร่วมกัน (Hord, 1997) อาจเป็นการมองเริ่มจากผู้นาหรือกลุ่มผู้นาที่มี วิสัยทัศน์ทาหน้าที่เหนี่ยวนาให้ผู้ร่วมงานเห็นวิสัยทัศน์นั้นร่วมกัน หรือการมองเห็นจากแต่ละปัจเจกท่ีมี วิสัยทศั นเ์ ห็นในสงิ่ เดียวกนั วสิ ัยทัศน์รว่ มมีลกั ษณะสาคญั 4 ประการ (4 Shared) มีรายละเอียดสาคัญ ดังนี้ 1) การเห็นภาพและทิศทางร่วม (Shared Vision) จากภาพความเช่ือมโยงให้เห็นภาพ ความสาเร็จร่วมกันถงึ ทิศทาง สาคญั ของการทางานแบบมอง “เหน็ ภาพเดียวกัน” (Hord, 1997; Hargreaves, 2003) 2) เป้าหมายร่วม (Shared Goals) เป็นทั้งเป้าหมาย ปลายทาง ระหว่างทาง และเป้าหมาย ชีวติ ของสมาชิกแตล่ ะคนที่ สัมพนั ธก์ นั กับเป้าหมายร่วมของชุมชนการเรียนรู้ฯ ซึ่งเป็นความเช่ือมโยงให้เห็นถึง ทิศทางและเปา้ หมายในการทางานร่วมกัน โดยเฉพาะเปา้ หมายสาคญั คือพฒั นาการการเรียนรขู้ องผ้เู รยี น (Hargreaves, 2003; Schmoker, 2004; DuFour, 2006) 3) คุณค่าร่วม (Shared Values) เป็นการเห็นทั้งภาพเป้าหมาย และท่ีสาคัญเม่ือเห็นภาพ ความเชื่อมโยงแล้ว ภาพดังกล่าวมีอิทธิพลกับการตระหนักถึงคุณค่าของตนเองและของ งานจนเชื่อมโยงเป็น 26
คู่มอื การอบรมคณะกรรมการขบั เคลื่อนกระบวนการPLC (Professional Learning Community) “ชมุ ชนการเรียนรทู้ างวิชาชีพ” สสู่ ถานศึกษา ระดบั สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษา ความหมายของงานท่ีเกิดจากการตระหนัก รู้ของสมาชิกใน PLC จนเกิดเป็นพันธะสัญญาร่วมกัน ร่วมกัน หลอมรวมเปน็ “คณุ ค่าร่วม” ซงึ่ เป็นขมุ พลังสาคัญท่จี ะเกิดพลัง ในการไหลรวมกันทางานในเชิงอุดมการณ์ทาง วิชาชพี ร่วมกนั (Hord, 1997; DuFour, 2006; Hargreaves, 2003) 4) ภารกิจร่วม (Shared Mission) เป็นพันธกิจแนวทางการปฏิบัติร่วมกันเพื่อให้บรรลุตาม เปา้ หมายรว่ ม รวมถงึ การ เรียนรู้ของครใู นทุกๆ ภารกิจ สิ่งสาคัญคือ การปฏิรูปการเรียนรู้ ท่ีมุ่งการเรียนรู้ของ ผ้เู รียนเปน็ หัวใจสาคัญ (Hord, 1997) โดยการเร่ิมจากการรบั ผิดชอบในการพัฒนาวิชาชีพเพื่อศิษย์ร่วมกันของ ครู (Louis & Kruse, 1995; Senge, 2000; DuFour, 2006) องค์ประกอบที่ 2 ทีมร่วมแรงร่วมใจ (Collaborative Teamwork) ทีมร่วมแรงร่วมใจ เป็น การพัฒนามาจากกลุ่มที่ทางาน ร่วมกันอย่างสร้างสรรค์ ลักษณะการทางานร่วมกันแบบมีวิสัยทัศน์ คุณค่า เป้าหมาย และพันธกิจร่วมกัน รวมกันด้วยใจ จนเกิดเจตจานงในการทางานร่วมกันอย่างสร้างสรรค์ เพื่อให้ บรรลุผลที่การเรียนรู้ของผู้เรียน (Louis, Kruse, & Marks, 1996) การเรียนรู้ของทีม และการเรียนรู้ของครู บนพ้ืนฐานงานที่มี ลักษณะต้องมีการคิดร่วมกัน วางแผนร่วมกัน ความเข้าใจร่วมกัน ข้อตกลงร่วมกัน การ ตดั สินใจร่วมกัน แนวปฏบิ ตั ิรว่ มกัน การประเมินผลร่วมกัน และการรับผิดชอบร่วมกัน จากสถานการณ์ ที่งาน จริงถือเป็นโจทย์ร่วม (Hargreaves, 2003; Stoll & Louis, 2007) ให้เห็นและรู้เหตุปัจจัย กลไกในการทางาน ซึ่งกันและกัน แบบละวางตัวตนให้มากที่สุด (There’s no I in team) (DuFour, 2006) จนเห็นและรู้ ความสามารถของแต่ละคนร่วมกัน เห็นและรับรู้ถึงความรู้สึกร่วมกันในการทางานจนเกิด ประสบการณ์หรือ ความสามารถในการทางาน และพลังในการร่วมเรียนรู้ ร่วมพัฒนาบนพื้นฐานของพันธะร่วมกันท่ีเน้นความ สมัครใจ และการส่ือสารที่มีคุณภาพบนพื้นฐานการรับฟังและความไว้วางใจซ่ึงกันและกัน อย่างไรก็ตามการที่ PLC เน้นการขับเคล่ือน ด้วยการทางานแบบทีมร่วมแรงร่วมใจ ที่ทาให้ลงมือทาและเรียนรู้ ไปด้วยกันด้วยใจ อย่างสร้างสรรค์ต่อเน่ืองน้ัน ซ่ึงมีลักษณะพิเศษของการรวมตัวท่ีเหนียวแน่นจากภายใน นั้นคือการเป็น กัลยาณมิตร ทาให้เกิดทีมใน PLC อยู่ร่วมกันด้วยความสัมพันธ์ ท่ีต่างช่วยเหลือเกื้อกูล ดูแลซ่ึงกัน จึงทาให้ การทางานเต็มไปด้วยบรรยากาศที่มีความสุข ไม่โดดเด่ียว (Sergiovanni, 1994; Fullan, 1999) ซ่ึงรูปแบบ ของทีมจะมีเป็นเช่นไรนั้นข้ึนอยู่กับเป้าประสงค์ หรือพันธกิจในการดาเนินการของชุมชนการเรียนรู้ เช่น ทีมร่วม สอน ทีมเรียนรู้ และกลุ่มเรียนรู้ เป็นต้น (วิจารณ์ พานิช, 2554; Olivier &Hipp, 2006; Little & McLaughlin, 1993) องค์ประกอบที่ 3 ภาวะผู้นาร่วม (Shared Leadership) ภาวะผู้นาร่วมใน PLC มีนัยสาคัญ ของการผู้นารว่ ม 2 ลักษณะสาคญั คอื ภาวะผนู้ าผู้สร้างให้เกิดการนาร่วม และภาวะ ผู้นาร่วมกัน ให้เป็น PLC ทข่ี ับเคลือ่ นดว้ ยการนาร่วมกัน รายละเอยี ดดังนี้ 1) ภาวะผู้นาผู้สร้างให้เกิดการนาร่วมเป็นผู้นาท่ีสามารถทาให้สมาชิกใน PLC เกิดการเรียนรู้ เพอ่ื การเปลี่ยนแปลงท้ัง ตนเองและวิชาชีพ (Kotter& Cohen, 2002) จนสมาชิกเกิดภาวะผู้นาในตนเองและ เป็นผู้นาร่วมขับเคล่ือน PLC ได้โดยมี ผลมาจากการเสริมพลังอานาจจากผู้นาท้ังทางตรงและทางอ้อม โดยเฉพาะการเป็นผนู้ าทเี่ ริม่ จากตนเองก่อนด้วยการลงมือทางาน อย่างตระหนักรู้ และใส่ใจให้ความสาคัญกับ ผู้ร่วมงานทุกๆ คน (Olivier &Hipp, 2006) จนเป็นแบบที่มีพลังเหน่ียวนาให้ ผู้ร่วมงานมีแรงบันดาลใจและมี ความสุขกับการทางานด้วยกัน อย่างวิสัยทัศน์ร่วม (Hargreaves, 2003) รวมถึงการนาแบบไม่นา โดยทา หนา้ ทผี่ สู้ นับสนนุ และเปิดโอกาสใหส้ มาชิกเติบโตดว้ ยการสร้างความเป็นผ้นู าร่วม ผนู้ าทจ่ี ะสามารถสร้างให้เกิด การนาร่วมดังกล่าวควรมีคุณลักษณะสาคัญ ดังน้ี มีความสามารถในการลงมือทางานร่วมกัน การเข้าไปอยู่ใน ความรู้สึกของผู้อื่นได้ การตระหนักรู้ในตนเอง ความเมตตากรุณา การคอยดูแลช่วยเหลือ เกื้อกูลกัน การโค้ช 27
ค่มู อื การอบรมคณะกรรมการขบั เคล่ือนกระบวนการPLC (Professional Learning Community) “ชมุ ชนการเรียนรูท้ างวิชาชพี ” สสู่ ถานศกึ ษา ระดบั สานักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษา ผู้ร่วมงานได้ การสร้างมโนทัศน์ การมวิสัยทัศน์การมีความมุ่งมั่นและทุ่มเทต่อการเติบโตของผู้อ่ืน เป็นต้น (Thompson, Gregg, &Niska, 2004) 2) ภาวะผ้นู ารว่ มกนั เป็นผ้นู ารว่ มกันของสมาชิก PLC ดว้ ยการกระจายอานาจ เพ่ิมพลังอานาจ ซ่งึ กนั และกันใหส้ มาชกิ มภี าวะผูน้ าเพิ่มข้ึน จนเกดิ เปน็ “ผู้นารว่ มของครู” (Hargreaves, 2003) ในการ ขับเคลอ่ื น PLC มงุ่ การพฒั นาการจดั การเรยี นรู้ ทีเ่ น้นผู้เรียนเปน็ สาคญั โดยยดึ หลักแนวทางบริหารจัดการรว่ ม การสนบั สนนุ การกระจายอานาจ การสร้างแรงบนั ดาลใจของครู โดยครูเป็นผ้ลู งมือกระทา หรือ ครูทาหน้าที่ เป็น“ประธาน”เพื่อสร้างการเปลยี่ นแปลงการจัดการเรียนรู้ไมใ่ ช่ “กรรม” หรือ ผู้ถูก กระทา และผู้ถูกให้กระทา (วจิ ารณ์ พานิช, 2554 ซง่ึ ผนู้ ารว่ มจะเกดิ ขึ้นได้ดเี มื่อมีบรรยากาศส่งเสริมให้ครสู ามารถแสดงออกด้วย ความเต็ม ใจ อสิ ระปราศจากอานาจครอบงาที่ขาดความเคารพ ในวชิ าชีพ แต่ยดึ ถือปฏิบัติรว่ มกนั ใน PLC น่นั คือ “อานาจ ทาง วิชาชีพ” (Hargreaves, 2003) เปน็ อานาจเชงิ คณุ ธรรมทมี่ ขี ้อปฏิบตั ทิ ่ีมาจากเกณฑ์และมาตรฐานที่เหน็ พ้อง ตรงกนั หรอื กาหนดรว่ มกนั เพื่อยดึ ถือเป็นแนวทางร่วมกนั ของผู้ประกอบวิชาชีพครทู ั้งหลายใน PLC (Thompson etal.,2004) กล่าวโดยสรปุ คือ ภาวะผูน้ าร่วมดงั ทกี่ ล่าวมา มีหวั ใจสาคญั คอื นาการเรียนรเู้ พื่อการ เปลี่ยนแปลงตนเองของแตล่ ะคน ท้ังสมาชิก และผูน้ าโดยตาแหน่งเมื่อใดท่บี คุ คลนัน้ เกดิ การเรยี นรู้ ท้งั ด้าน วิชาชพี และชีวิตจนเกดิ พลงั การเปลย่ี นแปลงท่สี ่งผลตอ่ ความสขุ ในวชิ าชพี ของตนเองและผอู้ ื่น ภาวะผูน้ ารว่ มจะ เกดิ ผล ตอ่ ความเป็น PLC องค์ประกอบท่ี 4 การเรียนรู้และการพัฒนาวิชาชีพ ( Professional learning anddevelopment) การเรียนรู้และการพัฒนาวิชาชีพใน PLC มีจุดเน้นสาคัญ 2 ด้าน คือ การเรียนรู้เพื่อ พฒั นาวชิ าชีพและการเรยี นรู้เพอ่ื จติ วญิ ญาณความเป็นครู รายละเอียดดังน้ี 1) การเรยี นร้เู พอื่ พัฒนาวชิ าชพี หวั ใจสาคัญการเรียนรู้ บนพื้นฐานประสบการณ์ตรงในงานที่ลงมือ ปฏิบัตจิ ริง ร่วมกนั ของ สมาชิก จะมีสดั สว่ นการเรียนรู้มากกว่าการอบรมจากหน่วยงาน ภายนอก อ้างถึงแนวคิด ของ Dale (1969) แนวคิดกรวย ประสบการณ์ (Cone of Experience) ยืนยันอย่างสอดคล้อง ว่าการเรียนรู้ ผา่ นประสบการณ์ตรงจะส่งผลต่อประสิทธิภาพ และประสิทธิผลการเรียนรู้ได้มากที่สุด ด้วยบริบท PLC ท่ีมีการ ทางานร่วมกันเป็นทีม (Sergiovanni, 1994) จึงทาให้การเรียน รู้จากโจทย์และสถานการณ์ท่ีครูจะต้องจัดการ เรียนร้ทู ยี่ ดึ ผู้เรยี นเป็นสาคัญ เปน็ การร่วมเหน็ ร่วมคิด รว่ มทา รว่ มรับผดิ ชอบ (Dufour, 2006) ทาให้บรรยากาศ การพัฒนาวิชาชีพของครูรู้สึก ไม่โดดเดี่ยว คอยสะท้อนการเรียนรู้และช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ถือเป็นพื้นที่การ เรียนรู้ร่วมกันทใ่ี ช้วิธกี ารทหี่ ลากหลาย เช่น สะท้อนการเรยี นรู้ สนุ ทรียะสนทนา การเรียนรู้สืบเสาะแสวงหา การ สร้างมโนทัศน์ ริเร่ิมสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ การคิดเชิงระบบ การ สร้างองค์ความรู้ การเรียนรู้บนความเข้าใจการ ทางานของสมอง และการจดั การความรู้ เป็นต้น (สุรพล ธรรมรม่ ดี และคณะ, 2553; Stoll & Louis, 2007) 2) การเรียนรู้เพ่ือจิตวิญญาณความเป็นครู เป็นการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองจากข้างใน หรือ วุฒิภาวะความเป็นครู ให้เป็นครูที่สมบูรณ์ โดยมีนัยยะสาคัญคือ การเรียนรู้ตนเอง การ รู้จักตนเองของครู เพื่อที่จะเข้าใจมิติของผู้เรียนท่ีมากกว่าความรู้ แต่เป็นมิติของความเป็นมนุษย์ ความฉลาดทางอารมณ์ เม่ือครู มี ความเข้าใจธรรมชาติตนเองแล้ว จึงสามารถมองเห็นธรรมชาติของศิษย์ตนเองอย่างถ่องแท้ จนสามารถสอน หรือจัดการเรียนรู้โดยยึด การเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นสาคัญได้ รวมถึงการเรียนรู้ร่วมกันของสมาชิกในชุมชน (Hargreaves, 2003) ท่ีต้องอาศัยการตระหนักรู้ สติ การฟัง การใคร่ครวญ เป็นต้น จิตที่สามารถเรียนรู้และ เป็นครไู ด้อย่างแทจ้ ริงน้ันจะเป็นจิตท่ีเต็มไปด้วยความรัก ความเมตตา การ กรุณา และความอ่อนน้อม เห็นศิษย์ 28
ค่มู ือการอบรมคณะกรรมการขับเคล่อื นกระบวนการPLC (Professional Learning Community) “ชุมชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี ” สสู่ ถานศึกษา ระดบั สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา เป็นครู เห็นตนเองเป็นผู้เรียนรู้ มีพลังเรียนรู้ในทุกสถานการณ์ท่ีเกิดขึ้น โดยใช้วิธีการท่ีหลากหลาย เช่น การ เรียนรู้เพ่ือการเปล่ียนแปลง การเรียนรู้อย่างใคร่ครวญ และการฝึกสติ เป็นต้น (สุรพล ธรรมร่มดี และคณะ , 2553) กล่าวโดยสรุปการเรียนรู้และการพัฒนาวิชาชีพของ PLC น้ันมีหัวใจสาคัญคือการเรียนรู้ร่วมกัน อย่างมคี วามสุขของ ทีมเรียนรู้ เป็นบรรยากาศท่ีเปิดพื้นที่การเรียนรู้แบบนาตนเอง ของครูเพื่อการเปล่ียนแปลง พัฒนาตนเองและวิชาชพี อยา่ งต่อเน่อื งเป็นสาคญั องค์ประกอบที่ 5 ชุมชนกัลยาณมิตร (Caring community) กลุ่มคนท่ีอยู่ร่วมโดยมีวิถีและ วัฒนธรรมการอยู่ร่วมกัน ในชุมชน มีคุณลักษณะคือ มุ่งเน้นความเป็นชุมชนแห่งความสุข สุขทั้งการทางานและ การอยู่ร่วมกันท่ีมีลกั ษณะวัฒนธรรมแบบ “วัฒนธรรมแบบเปดิ เผย” ทท่ี ุกคนมีเสรภี าพในการแสดงความ คิดเห็น ของตนเป็นวิถีแห่งอิสรภาพ และเป็นพ้ืนท่ีให้ความรู้สึก ปลอดภัย หรือปลอดการใช้อานาจกดดัน บนพ้ืนฐาน ความไว้วางใจ เคารพซึ่งกนั และกนั มจี ริยธรรมแห่งความเอือ้ อาทรเป็นพลังเชิงคุณธรรม คุณงามความดีที่สมาชิก ร่ ว ม กั น ท า ง า น แ บ บ อุ ทิ ศ ต น เ พ่ื อ วิ ช า ชี พ โ ด ย มี เ จ ต ค ติ เ ชิ ง บ ว ก ต่ อ ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะ ผู้ เ รี ย น ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ Sergiovanni(1994) ท่ีว่า PLCเป็นกลุ่มท่ีมีวิทยสัมพันธ์ต่อกัน เป็นกลุ่มท่ีเหนียวแน่นจากภายใน ใช้ความเป็น กัลยาณมิตรเชิงวิชาการต่อกัน ทาให้ลดความโดดเดี่ยวระหว่าง ปฏิบัติงานสอนของครู เช่ือมโยงปฏิสัมพันธ์กัน ทั้งในเชิงวิชาชีพ และชีวิต มีความศรัทธาร่วม อยู่ร่วมกันแบบ “สังฆะ” ถือศีล หรือ หลักปฏิบัติร่วมกัน โดยยึด หลักพรหมวิหาร 4 เมตตา กรุณา มุฑิตา อุเบกขา เป็นชุมชนที่ยึดหลักวินัยเชิงบวก เช่ือมโยงการพัฒนา PLC ไปกับวิถีชีวิตตนเองและวิถีชีวิตชุมชนอันเป็นพ้ืนฐานสาคัญของ สังคมฐานการพ่ึงพาตนเอง (สุรพล ธรรมร่มดี และคณะ, 2553) มีบรรยากาศของ “วัฒนธรรมแบบเปิดเผย” ทุกคนมีเสรีภาพท่ีจะแสดงความคิดเห็นของตน เป็นวิถีแห่งอิสรภาพ ยึดความสามารถ และสร้างพื้นที่ปลอดการใช้อานาจกดดัน (Boyd, 1992) ดังกล่าวน้ี สามารถขยายกรอบให้กวา้ งขวางออกไปจนถึงเครอื ข่ายท่ีสมั พนั ธ์ กบั ชมุ ชนต่อไป องค์ประกอบท่ี 6 โครงสร้างสนับสนุนชุมชน (Supportive structure)โครงสร้างที่สนับสนุน การก่อเกิดและคงอยู่ของ PLC มีลักษณะ ดังน้ี ลดความเป็นองค์การท่ียึดวัฒนธรรมแบบราชการ หันมาใช้ วัฒนธรรมแบบกลั ยาณมติ รทางวิชาการแทน และเป็น วัฒนธรรมท่ีส่งเสริมวิสัยทัศน์ การดาเนินการที่ต่อเนื่อง และ มุ่งความย่ังยืน จัดปัจจัยเงื่อนไขสนับสนุนตามบริบทชุมชนมี โครงสร้างองค์การแบบไม่รวมศูนย์ (Sergiovanni, 1994) หรือ โครงสร้างการปกครองตนเองของชุมชน เพื่อลดความขัดแย้ง ระหว่างครู ผปู้ ฏบิ ตั งิ านสอนกบั ฝา่ ยบริหารให้นอ้ ยลง มกี ารบรหิ าร จดั การ และการปฏบิ ัตงิ านในสถานศึกษาที่เน้นรูปแบบ ทีมงาน เปน็ หลกั (Hord, 1997) การจดั สรรปจั จยั สนับสนนุ ให้เอือ้ ตอ่ การดาเนินการของ PLC เช่น เวลา วาระ สถานท่ี ขนาดช้ันเรียน ขวัญ กาลังใจ ข้อมูลสารสนเทศ และอ่ืนๆ ท่ีตามความจาเป็นและบริบท ของแต่ละ ชุมชน (Boyd, 1992) โดยเฉพาะการเอาใจใส่สิ่งแวดล้อม ให้เกิดบรรยากาศท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้และอยู่ร่วมกัน อย่างมี ความสุข (สุรพล ธรรมร่มดี และคณะ, 2553) มีรูปแบบการ สื่อสารด้วยใจ เปิดกว้างให้พื้นท่ีอิสระ ในการสรา้ งสรรค์ของชมุ ชน เนน้ ความคลอ่ งตวั ในการดาเนินการจดั การกับเงอ่ื นไขความ แตกแยก และมีระบบ สารสนเทศของชมุ ชนเพือ่ การพัฒนาวิชาชีพ (Eastwood & Louis, 1992) กลา่ วโดยสรปุ ท้ัง 6 องคป์ ระกอบของ PLC ในบริบท สถานศกึ ษา กลา่ วคือ เอกลักษณ์สาคัญของ ความเป็น PLC แสดงให้เห็นว่าความเป็น PLC จะทาให้ความเป็น “องค์กร” หรือ “โรงเรียน” มีความหมาย ที่การพัฒนาการเรียนรูข้ องผูเ้ รียนอย่างแท้จรงิ ซงึ่ เป็นหัวใจสาคญั ของ PLC ดว้ ยกลยุทธ์การสร้างความ ร่วมมือ ที่ยึดเหนี่ยวกันด้วยวสิ ัยทัศน์ร่วม มุ่งการเรียนรูข้ องผู้เรยี น การเรียนรู้และพัฒนาวชิ าชีพ และชุมชนกัลยาณมิตร แสดงถึงการ รวมพลังของครูและนักการศึกษา ท่ีเป็นผู้นาร่วมกัน ทางานร่วมกัน แบบทีมร่วมแรงร่วมใจ 29
คมู่ อื การอบรมคณะกรรมการขบั เคลือ่ นกระบวนการPLC (Professional Learning Community) “ชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ” สสู่ ถานศึกษา ระดบั สานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษา มุ่งเรียนรู้เพ่ือพัฒนาตนเอง พัฒนาวิชาชีพ ภายใต้โครงสร้างอานาจทางวิชาชีพ และอานาจเชิงคุณธรรม ท่ีมา จากการร่วมคดิ รว่ มทา รว่ มนา รว่ มพัฒนาของครู ผู้บรหิ าร นักการศึกษาภายใน PLC ที่ส่งถงึ ผ้เู ก่ยี วข้องตอ่ ไป 1.4 ประโยชน์ของชุมชนแหง่ การเรยี นร้ทู างวิชาชีพในสถานศึกษา S.M. Hord. (1997)ได้ทาการสังเคราะห์รายงานการวิจัยเก่ียวกับโรงเรียนที่มีการจัดตั้งชุมชน แห่งวิชาชีพ โดยใช้คาถามว่า โรงเรียนดังกล่าวมีผลลัพธ์อะไรบ้างที่แตกต่างไปจากโรงเรียนทั่วไปท่ีไม่มีชุมชน แห่งวชิ าชพี และถ้าแตกต่างแลว้ จะมผี ลดตี อ่ ครูผสู้ อนและต่อนักเรียนอยา่ งไรบ้าง ได้ผลสรุปเป็นประเด็นย่อๆ ดังน้ี ประโยชนต์ ่อครผู ู้สอน - ลดความรูส้ กึ โดดเด่ียวในงานสอนของครลู ง - เพม่ิ ความรสู้ ึกผูกพันต่อพันธกิจและเป้าหมายของโรงเรียนมากขึ้น โดยเพิ่มความกระตือรือร้น ท่ีจะปฏบิ ัติให้บรรลุพันธกจิ อยา่ งแขง็ ขัน - รู้สึกว่าต้องร่วมกันรับผิดชอบต่อพัฒนาการโดยรวมของนักเรียน และร่วมกันรับผิดชอบเป็น กลุ่มต่อผลสาเร็จของนกั เรยี น - รู้สึกเกิดส่ิงที่เรียกว่า “พลังการเรียนรู้ (Powerful learning)” ซึ่งส่งผลให้การปฏิบัติการ สอนในช้ันเรียนของตนมีผลดียิ่งข้ึน กล่าวคือ มีการค้นพบความรู้และความเช่ือใหม่ๆ ที่เก่ียวกับวิธีการ สอนและตัวผ้เู รียนซึ่งตนไม่เคยสังเกตหรอื สนใจมากอ่ น - เขา้ ใจในดา้ นเน้ือหาสาระท่ีตอ้ งทาการสอนได้แตกฉานย่ิงข้ึน และรู้ว่าตนเองควรแสดงบทบาท และพฤตกิ รรมการสอนอยา่ งไร จงึ จะช่วยใหน้ ักเรียนเกิดการเรยี นรู้ไดด้ ที ่ีสดุ ตามเกณฑ์ท่คี าดหมาย - รับทราบขอ้ มูลสารสนเทศตา่ งๆ ทจี่ าเปน็ ต่อวิชาชีพได้อย่างกว้างขวางและรวดเร็วข้ึน ส่งผลดี ตอ่ การปรบั ปรุงพัฒนางานวิชาชีพของตนได้ตลอดเวลา ครเู กิดแรงบนั ดาลใจท่ีจะสร้างแรงบันดาลใจต่อการ เรียนรูใ้ ห้แกน่ ักเรียนตอ่ ไป - เพ่ิมความพึงพอใจ เพิ่มขวัญกาลังใจต่อการปฏิบัติงานสูงขึ้น และลดอัตราการลาหยุดงาน นอ้ ยลง - มีความก้าวหน้าในการปรับเปลี่ยนวิธีสอน ให้สอดคล้องกับลักษณะผู้เรียนได้อย่างเด่นชัด และ รวดเร็วกว่าทพี่ บในโรงเรยี นแบบเกา่ - มคี วามผกู พันทจี่ ะสรา้ งการเปล่ียนแปลงใหมๆ่ ให้ปรากฏอยา่ งเดน่ ชัดและยงั่ ยนื - มีความประสงคท์ ี่จะทาใหเ้ กิดการเปลีย่ นแปลงอย่างเป็นระบบ ต่อปัจจัยพนื้ ฐานด้านต่างๆ ประโยชน์ต่อนกั เรียน - ลดอัตราการตกซา้ ช้ัน และจานวนช้ันเรียนที่ตอ้ งเล่อื นหรือชะลอการสอนใหน้ อ้ ยลง - อตั ราการขาดเรยี นลดลง - มีผลการเรียนรู้ที่เพ่ิมข้ึนเด่นชัด ปรากฏให้เห็นทั่วไปโดยเฉพาะในแทบทุกโรงเรียนมัธยมศึกษา ขนาดเลก็ - มผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในวิชาคณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ประวตั ิศาสตร์ และวชิ าการอ่านท่ี สงู ขนึ้ อย่างเด่นชดั เมอื่ เทียบกับโรงเรียนแบบเก่า - มีความแตกต่างด้านผลสัมฤทธ์ิการเรียน ระหว่างกลุ่มนักเรียนท่ีมีภูมิหลังไม่เหมือนกัน ลดลง ชัดเจน 30
คมู่ อื การอบรมคณะกรรมการขบั เคลือ่ นกระบวนการPLC (Professional Learning Community) “ชุมชนการเรยี นรูท้ างวิชาชพี ” สสู่ ถานศึกษา ระดบั สานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา กล่าวโดยสรุป ถ้าผลงานวิจัยดังกล่าวมีน้าหนักมากพอที่เช่ือมโยงถึงการท่ีครูผู้สอนและผู้นา สถานศึกษาได้ทางานร่วมกันในชุมชนการเรียนรู้แห่งวิชาชีพแล้ว ก็มีคาถามตามมาว่า แล้วจะเพ่ิมจานวน โรงเรียนที่มีชุมชนดังกล่าวให้มากข้ึนได้อย่างไร กระบวนทัศน์ทางการศึกษาที่เปล่ียนไปบ่งช้ีว่า ท้ังบรรดา ครผู สู้ อนทง้ั หลายและสาธารณชน จาเป็นต้องร่วมกันกาหนดบทบาทใหม่ที่เหมาะสมของครู โดยต้องทบทวน การท่ตี ้องให้ครูใช้เวลาส่วนใหญ่ในแต่ละวันอยู่หน้าชั้นเรียน และอยู่กับนักเรียนตลอดเวลาน้ัน ได้มีการศึกษา เปรียบเทียบเร่ือง การใช้เวลาของครูผู้สอนในประเทศต่างๆ ท่ัวโลก ปรากฏผลออกมาชัดเจนว่าในหลาย ประเทศ เช่น ในญ่ีปุ่น พบว่า ครูมีช่ัวโมงสอนน้อยลง และมีโอกาสได้ใช้เวลาท่ีเหลือส่วนใหญ่ไปกับการ จดั ทาแผนเตรียมการสอน การประชมุ ปรึกษาหารอื กับเพอ่ื นรว่ มงาน การให้คาปรกึ ษาและทางานกับนักเรียน เปน็ รายบุคคล การแวะเยย่ี มช้นั เรียนอ่ืนเพ่ือสงั เกตการเรียนการสอน และการได้ใช้เวลาไปเพื่อกิจกรรมต่างๆ ด้านการพัฒนาวิชาชีพของครูมากข้ึน (Darling – Hammond, 1994, 1996) เป็นต้น การท่ีจะให้การ เปลี่ยนแปลงดังกล่าวเกิดขึ้นได้น้ัน จาเป็นต้องสร้างความตระหนัก และให้มุมมองใหม่ต่อสาธารณชน และ วงการวชิ าชีพครทู ี่ตอ้ งเนน้ และเห็นคุณค่าของความจาเป็นต้องพัฒนาครูให้มีความเป็นมืออาชีพยิ่งขึ้น ถ้าหาก ต้องการคุณภาพการศึกษาของนักเรียน ดังที่มีผู้กล่าวว่า “ครูต้องเป็นบุคคลแรกท่ีต้องเป็นนักเรียน (Teachers are the first learners)”โดยผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมในชุมชนการเรียนรู้แห่งวิชาชีพ ซง่ึ จะส่งผลให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิผลมากขึ้น และช่วยให้ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของนักเรียนสูงตามไป ด้วย น่ันคือความปรารถนาใฝฝ่ ัน ของบคุ คลฝา่ ยทีม่ ิอาจปฏิเสธได้ 2. กลยทุ ธใ์ นการจดั การและใชช้ มุ ชนการเรยี นทางรู้วชิ าชีพ (PLC) อย่างยง่ั ยนื การนากระบวนการ PLC ไปใช้ในสถานศกึ ษา สามารถดาเนนิ การได้ตามขั้นตอน ดังนี้ 2.1 เร่ิมต้นด้วยข้ันตอนง่ายๆ (Take a baby steps) โดยเริ่มต้นจากการกาหนดเป้าหมาย อภิปราย สะทอ้ นผล แลกเปลย่ี นกับคนอ่ืนๆ เพ่ือกาหนดว่า จะดาเนินการอย่างไรโดยพิจารณาและสะท้อนผล ในประเดน็ ตอ่ ไปน้ี 1) หลักการอะไรทจี่ ะสร้างแรงจูงใจในการปฏบิ ตั ิ 2) เราจะเรม่ิ ต้นความรใู้ หมอ่ ย่างไร 3) การออกแบบอะไรที่พวกเราควรใชใ้ นการตรวจสอบหลักฐานของการเรียนรู้ทีส่ าคญั 2.2 การวางแผนด้วยความร่วมมือ (Plan Cooperatively) สมาชิกของกลุ่มกาหนด สารสนเทศท่ตี อ้ งใช้ในการดาเนินการ 2.3 การกาหนดความคาดหวังในระดับสูง (Set high expectations) และวิเคราะห์การสอน สืบเสาะหาวิธีการที่จะทาใหป้ ระสบผลสาเร็จสูงสดุ 1) ทดสอบข้อตกลงที่เก่ียวข้องกับการสอนหลังจากได้มีการจัดเตรียมต้นแบบท่ีเป็นการ วางแผนระยะยาว (Long-term) 2) จดั ใหม้ ีชว่ งเวลาของการชแ้ี นะ โดยเน้นการนาไปใชใ้ นชัน้ เรยี น 3) ให้เวลาสาหรับครูที่มีความยุ่งยากในการสังเกตการณ์ปฏิบัติในชั้นเรียนของครูที่สร้าง บรรยากาศในการเรียนรอู้ ย่างประสบผลสาเร็จ 2.4 เรม่ิ ตน้ จากจุดเลก็ ๆ (Start small) เร่มิ ตน้ จากการใช้กลมุ่ เล็กๆกอ่ น แล้วค่อยปรบั ขยาย 31
คู่มอื การอบรมคณะกรรมการขบั เคลอ่ื นกระบวนการPLC (Professional Learning Community) “ชุมชนการเรยี นรูท้ างวิชาชีพ” สสู่ ถานศึกษา ระดบั สานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา 2.5 ศึกษาและใช้ข้อมูล (Study and use the data) ตรวจสอบผลการนาไปใช้และการ สะท้อนผลเพือ่ นามากาหนดวา่ แผนไหน ควรใช้ตอ่ ไป/แผนไหนควรปรับปรุงหรือยกเลิก 2.6 วางแผนเพ่ือความสาเร็จ (Plan for success) เรียนรู้จากอดีต ปรับปรุงหรือปฏิเสธใน ส่ิงท่ีไม่สาเรจ็ และทาตอ่ ไปความสาเร็จในอนาคต หรอื ความล้มเหลวข้นึ อยกู่ บั เจตคติและพฤตกิ รรมของครู 2.7 นาสู่สาธารณะ (Go public) แผนไหนที่สาเร็จกจ็ ะมีการเชญิ ชวนให้คนอื่นเข้ามามีส่วนร่วม ยกยอ่ งและแลกเปลี่ยนความสาเร็จ 2.8 ฝึกฝนร่างกายและหล่อเลี้ยงสมอง (Exercise the body & nourish the brain) จดั กจิ กรรมท่ไี ดม้ ีการเคลือ่ นไหวและ เตรียมครูท่ีทางานสาเร็จของแต่ละกลุ่มโดยมีการจัดอาหาร เคร่ืองด่ืมท่ีมี ประโยชน์ ระบุความต้องการของผ้เู รยี น และความสาคัญ สะท้อนผลการทางานและพิจารณา ครูรว่ มการวางแผนการ แนวทางที่เหมาะสมกบั ผู้เรียน เรยี นรู้และทดลองใช้ ศึกษาแนวทางวธิ กี ารสอน ตรวจสอบแผนและ และทดลองใช้วธิ กี ารใหม่ กระบวนการนาไปใช้ ปรบั ปรุงแกไ้ ขบน พ้นื ฐานของข้อมลู วงจรการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ ดดั แปลงจาก: Luis Martinez อา้ งถงึ ใน Hord, Roussin&Sommers, 2010 32
คมู่ ือการอบรมคณะกรรมการขับเคล่อื นกระบวนการPLC (Professional Learning Community) “ชุมชนการเรียนรทู้ างวิชาชีพ” สสู่ ถานศกึ ษา ระดบั สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษา 3. กรณีศึกษาสถานศึกษาท่ีนากระบวนการ PLC ไปใช้ 3.1 โรงเรียนอนุบาลวัดคลองใหญ่ อาเภอคลองใหญ่ จงั หวัดตราด “การพัฒนาครูโดยการสรา้ งระบบช้ีแนะและการเป็นพี่เล้ียง” ของโรงเรียนอนุบาลวัดคลองใหญ่เกิด จากความร่วมมือรวมพลังระหว่าง 3 สถาบันทางการศึกษา คือ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สานักงานเขตพื้นที่ การศกึ ษา และโรงเรียน มีเป้าหมายเป็นไปตามกรอบโครงการที่สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน พัฒนากาหนดขึ้น โดยระบบชี้แนะและการเป็นพี่เลี้ยงสาหรับการพัฒนาครู ผู้บริหารโรงเรียน และ ศึกษานิเทศก์ให้มีการทางานร่วมกันเพื่อพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ อันนาไปสู่การพัฒนาตนเอง แห่งคุณภาพ ห้องเรียนแห่งคุณภาพ ส่งเสริมให้นักเรียนเป็นผู้ที่มีกระบวนการเรียนรู้ 5 ข้ันตอน มคี วามสามารถในการใหเ้ หตุผล การรู้ภาษา และการรู้เร่ืองจานวน ระบบการทางานร่วมกันระหว่างคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สานักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษาประถมศึกษาตราดในครั้งน้ี ได้สร้างโอกาสการเรียนรู้ร่วมกันตลอดระยะเวลา 4 เดือน เร่ิมตั้งแต่ การประชุมเชิงปฏิบัติการ เพ่ือกาหนดเป้าหมาย แนวทาง และแผนการดาเนินงานร่วมกัน ไปจนถึงการ ดาเนินงานตามแผนผ่านการชี้แนะหรือ Coaching และการเป็นพี่เล้ียงหรือ Mentoring ที่คณะครุศาสตร์ ออกแบบให้สมาชิกชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพในโรงเรียน แลกเปล่ียนเรียนรู้กันโดยใช้ระบบการศึกษา ผ่านบทเรียน (Lesson Study) ถึงสามวงจรการเรียนรู้ และยังให้สมาชิกชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ระหวา่ งสถาบันการศกึ ษาทงั้ สามสถาบนั ได้เขา้ ไปร่วมประชุมปรึกษาหารอื กนั ในโรงเรียนอย่างน้อยเดือนละคร้ัง และ \"สนทนา\" การผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ตามแนวการสืบสอบแบบช่ืนชมตลอดเวลา มีส่ือสนับสนุนการ เรียนรู้ท่ีเป็นรูปธรรม คือ ดีวีดีเพื่อการพัฒนาวิชาชีพครู สารคดีชุด Understanding Lesson Study ตอนที่ 1-6 สรุปขน้ั ตอนการดาเนินงานดังนี้ 33
ค่มู ือการอบรมคณะกรรมการขับเคลอื่ นกระบวนการPLC (Professional Learning Community) “ชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวิชาชพี ” สสู่ ถานศกึ ษา ระดบั สานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษา คณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ในฐานะสถาบันอุดมศึกษาคู่พัฒนากับ สานักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษาประถมศึกษาตราด มีดังนี้ 1. ออกแบบหลักสูตรและแผนการดาเนนิ งานโดยมีข้นั ตอนดังน้ี 1) ศึกษาผลการวิเคราะห์ความต้องการจาเป็นในการพัฒนาครู ผู้บริหารสถานศึกษา และ ศกึ ษานเิ ทศก์ จากขอ้ มลู สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษาตราด 2) ออกแบบหลักสูตร วธิ กี าร และแผนดาเนินการในการพัฒนาครู ผู้บริหารสถานศึกษา และ ศึกษานิเทศก์ ตามเป้าหมายที่กาหนดและตามแนวทาง Browser in Service โดยใช้กระบวนการสร้างระบบ ชี้แนะและการเป็นพี่เลี้ยง (Coaching และ Mentoring)ในการพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถด้าน Literacy , Numeracy และ Reasoning Ability รวมท้ังการพัฒนาทักษะ 5 ขั้นตอน การพัฒนาเน้นฐาน โรงเรียนในขณะปฏิบัติการสอน (On the job Training) เพ่ือให้เกิดชุมชนนักปฏิบัติ (Community of Practice) 3) จดั ทาคมู่ ือและสอื่ ท่ใี ช้ในการพัฒนาครู ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา และศึกษานิเทศก์ 2. ดาเนินการพัฒนาครู ผู้บริหารสถานศึกษา และศกึ ษานิเทศก์ ตามหลักสูตร โดยมขี นั้ ตอนดงั นี้ 1) ประเมินสมรรถนะกอ่ นการพฒั นา 2) จัดการฝึกอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ าร (Workshop)จานวน 2 วัน 3) นเิ ทศติดตามด้วยระบบสนับสนุนแบบ Coaching และ Mentoring จานวน 2 ครั้ง 4) จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Symposium) ในระดับเขตพ้ืนที่การศึกษา จานวน 1 ครั้ง เพื่อใหค้ รู ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา และศึกษานิเทศก์ ไดน้ าบทเรียนมาแลกเปลยี่ นเรียนรู้ร่วมกัน 5) ประเมินสมรรถนะหลงั การพฒั นา 6) ประชุมสรปุ ภาพความสาเรจ็ ร่วมกัน 3. จัดทารายงานสรุปผลสัมฤทธิ์การพัฒนาครู ผู้บริหารสถานศึกษา และศึกษานิเทศก์ของ สานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาตราด ผลการดาเนินงาน “การพฒั นาครูโดยการสร้างระบบชแี้ นะและการเปน็ พเี่ ลี้ยง” โรงเรียนอนุบาล วดั คลองใหญ่ ผลการพัฒนาสมรรถนะความเปน็ ครขู องผูเ้ ข้ารว่ มโครงการฯ ท้ัง 3 ดา้ นพบว่า 1. ด้านความเข้าใจเก่ียวกับการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้พบว่า ครู ผู้บริหารและ ศึกษานิเทศก์มีพัฒนาการเพ่ิมขึ้นท้ัง 3 กลุ่ม โดยผู้บริหารมีการพัฒนามากที่สุด ศึกษานิเทศก์ และครู ตามลาดบั 2. ด้านทักษะในการวางแผนการจัดการเรียนรู้แบบ 5 ข้ันตอน พบว่า ครูส่วนใหญ่เห็นภาพการ เขียนแผนการสอนที่เน้นการจัดการเรียนรู้แบบ 5 ข้ันตอนให้กับผู้เรียนชัดเจนย่ิงข้ึน โดยมีผู้บริหาร ศกึ ษานิเทศก์ และเพื่อนครูร่วมชี้แนะแนวทาง นอกจากนี้ครูมีเจตคติที่ดีต่อการทางานในวิชาชีพครู ให้เวลาใน การวางแผนการสอน เตรยี มสื่อและรว่ มเรียนรู้เพอ่ื พฒั นาปรับปรุงการเรียนการสอนมากข้ึน 3. คุณลักษณะด้านการเป็นผู้เรียนรู้และเป็นสมาชิกที่ดีของชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ พบว่า กลุ่มครูมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับแผน และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ระหว่างกัน กล้าช้ีแนะ บอกกล่าวและรับฟังกันมากข้ึน มีการนาประสบการของตนเองมาเล่าให้เพ่ือนครู ผู้บริหาร ศึกษานิเทศก์ฟัง ทาให้สัมพันธภาพระหว่างผู้บริหารโรงเรียน เพื่อนครู ศึกษานิเทศก์ ในด้านวิชาการและด้านอื่นๆ มีมากขึ้น 34
คู่มือการอบรมคณะกรรมการขบั เคลือ่ นกระบวนการPLC (Professional Learning Community) “ชุมชนการเรยี นรู้ทางวิชาชพี ” สสู่ ถานศกึ ษา ระดบั สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษา สาหรับกลุ่มผู้บริหารได้ร่วมวางแผน สังเกตชั้นเรียนและสะท้อนคิดร่วมกับครูผู้สอนทาให้ผู้บริหารเข้าใจครู มากข้ึน เข้าใจบริบทท่ีเกิดขึ้นจริงในชั้นเรียน อันจะนาไปสู่แนวทางการสนับสนุนเพ่ือยกระดับคุณภาพผู้เรียน ส่วนกลุ่มศึกษานิเทศก์สามารถวางแผน เข้าร่วมสังเกตการสอนในชั้นเรียน สะท้อนคิดร่วมกันกับครู ผู้บริหาร อย่างเป็นระบบและต่อเน่ือง ทาให้เข้าใจบริบท สภาพและความต้องการของครู และแนวทางการสนับสนุน มากข้ึน ผลท่เี กิดกบั ผู้เรียน ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถในการให้เหตุผล การรู้ภาษา และการรู้เร่ืองจานวน (Literacy Numeracy Reasoning) ตามระดับช้ันหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ตาม แนวทางของการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ผลทเ่ี กดิ กบั โรงเรยี น โรงเรียนมีวัฒนธรรมการแลกเปล่ียนเรียนรู้ระหว่างครู ผู้บริหารและศึกษานิเทศก์ เก่ียวกับการ พัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้แบบ 5 ขนั้ ตอน เพอื่ ร่วมกันเพ่ิมคุณภาพการเรยี นรู้ทั้งในด้าน การให้เหตุผล การรู้ ภาษา และการรู้เรอ่ื งจานวน (Literacy Numeracy Reasoning) ให้กบั นกั เรยี น 35
ค่มู ือการอบรมคณะกรรมการขับเคลือ่ นกระบวนการPLC (Professional Learning Community) “ชมุ ชนการเรียนรู้ทางวชิ าชพี ” สสู่ ถานศกึ ษา ระดบั สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษา 36
คู่มือการอบรมคณะกรรมการขับเคล่อื นกระบวนการPLC (Professional Learning Community) “ชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวิชาชพี ” สสู่ ถานศกึ ษา ระดบั สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา 3.2 โรงเรียนเขาสมงิ วิทยาคม”จงจนิ รุจิรวงศ์ อุปถัมภ์” อาเภอเขาสมิง จงั หวัดตราด การสร้างโรงเรียนให้เป็นชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพครู (Professional learning community) หรือ PLC เพ่ือใชเ้ ปน็ ความรู้ในการจดั ต้ังศนู ย์การเรยี นรู้ครเู พอื่ ศิษย์และวางแผนพัฒนาครูตามขัน้ ตอนดังนี้ 1. ขัน้ เตรยี มการ ดาเนนิ การดังนี้ 1.1 ประชุมช้ีแจง ให้ความรู้ คณะครู และร่วมอภิปรายถึงวัตถุประสงค์และคุณค่าของการจัดตั้ง ศูนย์โดยอาศัยแนวคิดของการสร้างโรงเรียนให้เป็นชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพครู (Professional learning community) หรอื PLC ทเ่ี นน้ การเรียนร้เู พ่ือพัฒนาวิชาชีพครูโดยเน้นการเรียนรู้ของนักเรียนเป็นหัวใจสาคัญ มุ่งเน้นการพัฒนาการเรียนรู้ของบุคคลและองค์กรมีองค์ประกอบสาคัญ 6 องค์ประกอบ ประกอบด้วย วิสัยทัศน์ร่วม ทีมร่วมแรงร่วมใจ ภาวะผู้นาร่วม การเรียนรู้และการพัฒนาวิชาชีพ ชุมชนกัลยาณมิตร และ โครงสร้างสนับสนนุ ชมุ ชน 37
ค่มู ือการอบรมคณะกรรมการขบั เคลือ่ นกระบวนการPLC (Professional Learning Community) “ชมุ ชนการเรียนรู้ทางวิชาชพี ” สสู่ ถานศึกษา ระดบั สานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษา 1.2 แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงาน วิเคราะห์ข้อมูลกาหนดแนวทางการดาเนินงาน วางแผน ดาเนินงาน 1.3 กาหนดเกณฑก์ ารประเมินผลตามเป้าหมายของโครงการ 1.3.1 โรงเรียนมีศูนย์การเรียนรู้ครูเพื่อศิษย์ขึ้น เป็นห้องอานวยความสะดวกให้คณะครูของ กลมุ่ สาระการเรยี นรตู้ า่ ง ๆ เขา้ ประกอบกิจกรรมเพอื่ พัฒนาตนเอง 1.3.2 ครูได้รับการพัฒนาวิชาชีพครู 3 ด้าน ได้แก่ ด้านการปฏิบัติตนด้านความรู้และทักษะ และด้านการปฏบิ ตั งิ าน 1.3.3 นักเรียนได้รับการส่งเสริมพัฒนาด้านวิชาความรู้และทักษะชีวิตให้สมบูรณ์พร้อมอยู่ ในโลกแห่งอนาคต และใช้ความสามารถอย่างเต็มศักยภาพมีความสามารถครบทุกมิติโดยพิจารณาตามเกณฑ์ ดังน้ี 1) รอ้ ยละของเวลาเรียนท่ีเปน็ การเรียนโดยการลงมอื กระทา (Active Learning) 2) ร้อยละของนักเรียนที่มีปัญหาด้านการเรียนและปัญหาส่วนตัว และต้องการได้รับ การดแู ลทนั ที 3) รอ้ ยละท่เี พ่ิมของผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนของนกั เรียน 4) ผลการเขา้ ร่วมกจิ กรรมแข่งขันจากหน่วยงานต่างๆ 5) ผลการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรยี น 2. ข้นั ดาเนินงาน ดาเนินการดงั น้ี 2.1 จัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ครูเพื่อศิษย์พัฒนาห้องประจากลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระด้าน วสั ดแุ ละอุปกรณ์ ICT 2.1.1 ประเมินและสารวจห้องที่ใช้ในการจัดต้ังศูนย์ ด้านหนังสือ สื่อ การเรียน และ โสตทัศนวัสดุสือ่ คอมพิวเตอร์ สญั ญาณอินเตอรเ์ น็ตและสภาพแวดล้อม 2.1.2 ปรับปรงุ ทางสภาพแวดลอ้ ม ให้สะอาดสวยงาม เป็นระเบียบเรียบร้อยเป็นสัดส่วนมี โต๊ะ เกา้ อี้ เพียงพอ มแี สงสวา่ งเพยี งพออากาศถ่ายเทสะดวก เพ่อื ใหบ้ รรยากาศสร้างเสรมิ ใน การทางาน และสามารถใช้ประโยชนร์ ว่ มกนั ได้ 2.1.3 จัดหาหนังสือ ส่ือ การเรียน และโสตทัศนวัสดุสื่อ คอมพิวเตอร์ ที่สามารถใช้ ประโยชนร์ ว่ มกนั ได้ 2.1.4 ติดตงั้ สญั ญาณอินเตอรเ์ นต็ 2.2 พัฒนาครูผ่านกระบวนการนิเทศ ประกอบด้วย 2..2.1 กิจกรรมเยี่ยมชั้นเรียน (Walk in)และกิจกรรมระบบนิเทศภายในตามแนวคิดของการ สร้างโรงเรียนให้เป็นชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพครู (Professional learning community) หรือ PLC ท่ีเน้น การเรยี นรูเ้ พื่อพัฒนาวิชาชพี ครูโดยเน้นการเรียนรู้ของนักเรียนเปน็ หัวใจสาคัญมุ่งเน้นการพัฒนาการเรียนรู้ของ บุคคลใหเ้ กิดการรวมตวั รวมใจ รวมพลงั รว่ มมือกันของครู ผู้บริหาร และนักการศึกษาในโรงเรียน บนพ้ืนฐาน วัฒนธรรมความสัมพันธ์แบบกัลยาณมิตรในพ้ืนท่ีทางานจริงร่วมกัน อย่างมีวิสัยทัศน์ คุณค่า เป้าหมาย และ ภารกจิ รว่ มกนั แบบทีมเรียนรู้ โดยครูเป็นผู้นาร่วม เพ่ือร่วมเรียนรู้และพัฒนาวิชาชีพตนเองให้เกิดผลที่คุณภาพ การจัดการเรียนรู้ที่มีหัวใจสาคัญคือการใส่ใจดูแล และรับผิดชอบความสาเร็จของผู้เรียนร่วมกันมีข้ันตอน การดาเนินงานดงั น้ี 38
ค่มู ือการอบรมคณะกรรมการขบั เคลือ่ นกระบวนการPLC (Professional Learning Community) “ชุมชนการเรียนรู้ทางวชิ าชพี ” สสู่ ถานศกึ ษา ระดบั สานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษา 1) กจิ กรรมเยี่ยมช้ันเรยี น (Walk in) ดาเนินการประชุมคณะกรรมการดาเนินงาน ได้แก่ ฝ่ายบริหาร หัวหน้ากลุ่มสาระการ เรียนรู้และหัวหน้างานกิจรรมพัฒนาผู้เรียน เพื่อจัดต้ังคณะกรรมการเยี่ยมชั้นเรียน จัดทาปฏิทินกาหนดการ เย่ียมช้ันเรียน และวางแผนการดาเนินงานโดยคณะกรรมการท่ีมีหน้าที่เยี่ยมช้ันเรียน ได้แก่ ฝ่ายบริหาร หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ และหัวหน้างานกิจรรมพัฒนาผู้เรียน มอบหมายให้หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ แจง้ ปฏทิ นิ กาหนดการเยย่ี มชั้นเรยี น และชีแ้ จงรายละเอียดและแนวปฏบิ ัตเิ ก่ียวกับกิจกรรมเย่ียมช้ันเรียนแก่ครู ในกลุม่ สาระการเรยี นร้ขู องตนเองทราบ และดาเนินการเยี่ยมช้ันเรยี น ครัง้ ท่ี 1 มีวตั ถปุ ระสงค์เพือ่ สารวจสภาพปญั หาการจดั การเรียนการสอนของครูผู้สอน โดยมีการดาเนนิ งาน ดงั น้ี ขั้นเตรียมการก่อนเย่ียมชั้นเรียน จัดทาปฏิทินการเย่ียมช้ันเรียน โดยใช้เวลาในการ เยี่ยมช้ันเรียนครูแต่ละคนประมาณ 5 – 10 นาที ใช้เวลาในการเยี่ยมช้ันเรียนครูท้ังโรงเรียนรวม 1 สัปดาห์ และสร้างเครือ่ งมือ เพ่อื ใช้ในการเยี่ยมชั้นเรียนคร้งั ที่ 1 ข้ันสรุปงานหลังเย่ียมชั้นเรียน หลังจากการเย่ียมชั้นเรียนคร้ังท่ี 1 มีการประชุมเพ่ือ สรุปผลสภาพปัญหาการจัดการเรียนการสอนของครู คัดกรองปัญหาสาคัญที่ควรได้รับการแก้ไขเร่งด่วนและ ประเด็นปัญหาในการพัฒนาครูวางแผนการเย่ียมชั้นเรียนคร้ังท่ี 2 ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพ่ือแก้ไขปัญหาจากการ สารวจสภาพปัญหาการจัดการเรียนการสอนของครูในการเยี่ยมชั้นเรียนคร้ังท่ี 1 โดยกาหนดเป็นประเด็นการ สังเกตในการเย่ียมชั้นเรียนคร้ังท่ี 2 ตลอดจนวางแนวทางในการให้ข้อเสนอแนะที่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน (เช่น รูปแบบการเสนอแนะ ขอบเขต ช่วงเวลา เป็นต้น เพื่อไม่ให้เป็นการบั่นทอนกาลังใจในการทางาน และ เปน็ รปู แบบที่เหมาะสมกับคนหมู่มากท่ีสามารถยอมรับได้) สร้างเครื่องมือ เพ่ือใช้ในการเย่ียมช้ันเรียนครั้งที่ 2 และประชมุ ชแี้ จงครทู ุกท่านว่า จะมีการเยี่ยมช้ันเรียนโดยแจ้งประเด็นสาคัญที่เป็นจุดเน้นในการเย่ียมช้ันเรียน ครั้งต่อไป ครง้ั ที่ 2 มวี ตั ถุประสงคเ์ พอ่ื แกไ้ ขปัญหาจากการสารวจสภาพปัญหาจากการเยี่ยมชั้นเรียน คร้งั ท่ี 1 ข้ันเตรียมการก่อนเยี่ยมช้ันเรียน จัดทาปฏิทินการเยี่ยมช้ันเรียน โดยใช้เวลาในการ เย่ียมชั้นเรียนครูแต่ละคนประมาณ 10 – 15 นาที ใช้เวลาในการเย่ียมช้ันเรียนครูทั้งโรงเรียน 2 สัปดาห์ (โดยอาจเน้นการใช้เวลาที่มากกว่ากับครูกลุ่มท่ีต้องการการพัฒนา) และจัดเตรียมเอกสาร เครื่องมือเพื่อเยี่ยม ช้ันเรียนครงั้ ที่ 2 ขั้นสรุปงานหลังเยี่ยมช้ันเรยี น หลงั จากการเยี่ยมชั้นเรียนครั้งท่ี 2 ประชุมเพ่ือสรุปผล สภาพปัญหาการจัดการเรียนการสอนของครูผู้สอน และร่วมเสนอแนวทางแก้ไขและวางแผนการดาเนินงาน ต่อไปและประชุมชี้แจงหรือแจ้งผลการเย่ียมช้ันเรียนแก่ครู แจ้งประเด็นท่ีครูมีการพัฒนาได้ดีขึ้น ประเด็นท่ียัง สามารถพฒั นาเพ่ิมขน้ึ ได้อกี ตลอดจนเสนอแนะแนวทางในการพฒั นา 2.2.2 กจิ กรรมระบบนิเทศภายใน ดาเนินการดงั นี้ 1) ประชุมคณะกรรมการดาเนินงาน ได้แก่ ฝ่ายบริหาร หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ และหัวหน้างานกิจรรมพัฒนาผู้เรียน เพ่ือจัดทาปฏิทินกาหนดการเข้านิเทศการจัดการเรียนการสอน และ วางแผนการดาเนินงานโดยเปน็ การประชุมพรอ้ มกับการประชมุ กิจกรรมเย่ยี มช้นั เรียน 39
คู่มอื การอบรมคณะกรรมการขบั เคล่ือนกระบวนการPLC (Professional Learning Community) “ชุมชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ” สสู่ ถานศึกษา ระดบั สานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษา 2) มอบหมายให้หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้แจ้งปฏิทินกาหนดการเข้านิเทศการ จัดการเรียนการสอน และช้ีแจงรายละเอียดและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการเข้านิเทศการจัดการเรียนการสอน แก่ครูในกลุม่ สาระการเรยี นร้ขู องตนเองทราบ 3) ในแต่ละกลมุ่ สาระการเรยี นรดู้ าเนินการจับคู่เพื่อเข้านิเทศการจัดการเรียนการสอน ของเพ่ือนครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้ของตนเอง และแจ้งกาหนดปฏิทินการเข้านิเทศการจัดการเรียนการสอนของ ครูแต่ละคู่ให้หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ได้ทราบเพ่ือจัดทาปฏิทินรวมและแจ้งฝ่ายบริหารต่อไปโดยครูที่จับคู่ นิเทศกนั นัน้ จะตอ้ งผลัดกันเปน็ ท้ังผู้นิเทศและผูร้ ับการนเิ ทศ 4) ในแต่ละกลมุ่ สาระการเรียนรู้เข้านเิ ทศการจัดการเรียนการสอนของเพื่อนครูในกลุ่ม สาระการเรยี นรขู้ องตนเองตามวันและเวลาที่กาหนดไว้ในปฏิทินรวมโดยใช้แบบนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียน การสอนที่เนน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคัญและเมอื่ ดาเนนิ การนเิ ทศเรียบรอ้ ยแลว้ ให้สง่ แบบนเิ ทศการจัดกจิ กรรมการเรียน การสอนท่ีเนน้ ผู้เรียนเปน็ สาคัญนั้น แก่หวั หน้ากลุม่ สาระการเรยี นรขู้ องตนเอง 5) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้แต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้รวบรวมแบบนิเทศการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญท่ีดาเนินเข้านิเทศแล้ว และจัดทารายงานสรุปผลการนิเทศ การจัดการเรียนการสอนของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้และนาส่งฝ่ายบริหารเพื่อรวบรวมเป็นผลสรุปใน ภาพรวมของโรงเรยี น 6) ฝ่ายบริหารแจ้งผลในภาพรวมของโรงเรียนให้ครูได้ทราบเพื่อการพัฒนาหลังจากการเข้า นิเทศทง้ั 2 ครั้ง 7) ประชุมเพ่ือสรุปผลการดาเนินงาน ข้อดี ข้อด้อยในการดาเนินงาน และหาแนว ทางการพฒั นาหรือแนวทางปฏิบตั ิเพอ่ื การพัฒนาต่อไป 8) สรปุ ผลการดาเนนิ งานและจดั ทารายงานผลการดาเนนิ งาน 2.2 แต่งต้ังคณะกรรมการนิเทศติดตามและประเมินผลการพัฒนาครูด้านการปฏิบัติตน ความรู้ และทักษะ และด้านการปฏิบัติงานประกอบด้วย ผู้อานวยการโรงเรียน รองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ หัวหน้า งานวัดและประเมินผล หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ของครูผู้สอน อาจารย์ชานาญการพิเศษ 4 ท่าน และ อาจารยจ์ ากมหาวิทยาลัย 1 ท่าน 3. ขั้นตรวจสอบและประเมินผล การประเมินผลการดาเนินงานท้ัง 2 กิจกรรม จากเกณฑ์ท่ี กาหนดรว่ มกนั 3.1 การจัดตัง้ ศนู ยก์ ารเรยี นรคู้ รเู พอ่ื ศิษย์ ประเมินผลจากคณะครูท่ีใช้ศูนย์การเรียนรู้ครูเพ่ือศิษย์ เป็นห้องอานวยความสะดวกใน การเข้าประกอบกิจกรรมเพ่ือพฒั นาตนเอง 3.2 การพัฒนาครูผ่านกระบวนการนิเทศประเมินผลจากการพัฒนาวิชาชีพครู3 ด้าน ได้แก่ ด้านการปฏิบัติตนด้านความรู้และทักษะ และด้านการปฏิบัติงาน โดยคณะกรรมการนิเทศติดตามและ ประเมนิ ผล 3.3 นักเรียนได้รับการส่งเสริมพัฒนาด้านวิชาความรู้และทักษะชีวิตให้สมบูรณ์พร้อมอยู่ใน โลกแหง่ อนาคต และใชค้ วามสามารถอย่างเต็มศกั ยภาพมีความสามารถครบทุกมติ ิโดยพิจารณาตามเกณฑด์ งั น้ี 3.3.1 รอ้ ยละของเวลาเรียนทีเ่ ปน็ การเรียนโดยการลงมือกระทา (Active Learning) 3.3.2 ร้อยละของนักเรียนท่ีมีปัญหาด้านการเรียนและปัญหาส่วนตัว และต้องการได้รับ การดแู ลทนั ที 40
คูม่ ือการอบรมคณะกรรมการขับเคล่ือนกระบวนการPLC (Professional Learning Community) “ชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชีพ” สสู่ ถานศกึ ษา ระดบั สานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษา 3.3.3 รอ้ ยละทีเ่ พ่มิ ของผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นของนักเรียน 3.3.4 ผลการเขา้ รว่ มกิจกรรมแข่งขันจากหนว่ ยงานตา่ งๆ 3.3.5 ผลการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน 4. ข้นั ปรับปรุงและพฒั นา โดยนาผลการประเมินมาวิเคราะห์ และพัฒนาการดาเนินงานครั้งต่อไปสรุปผลการประเมิน และขอ้ เสนอแนะ สรปุ ผลการดาเนินงานทงั้ 2 กจิ กรรม ตามเกณฑ์ที่กาหนด 1. โรงเรยี นมศี ูนยก์ ารเรียนรู้ครูเพ่ือศษิ ย์ 2. ครูได้รับการพัฒนาวิชาชีพครู 3 ด้าน ได้แก่ ด้านการปฏิบัติตนด้านความรู้และทักษะ และดา้ นการปฏิบตั งิ าน 3. นักเรียนได้รับการส่งเสริมพัฒนาด้านวิชาความรู้และทักษะชีวิตให้สมบูรณ์พร้อมอยู่ใน โลกแห่งอนาคต และใชค้ วามสามารถอยา่ งเตม็ ศกั ยภาพมีความสามารถครบทุกมติ ิ 41
คมู่ ือการอบรมคณะกรรมการขบั เคล่อื นกระบวนการPLC (Professional Learning Community) “ชมุ ชนการเรยี นรูท้ างวิชาชพี ” สสู่ ถานศกึ ษา ระดบั สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษา 4. การนากระบวนการ PLC ไปสู่การปฏิบตั ิในสถานศกึ ษา ในการพัฒนาสถานศกึ ษาให้เปน็ โรงเรียนแห่งการเรียนรไู้ ดน้ ้นั ปัจจยั ท่ีสาคัญท่สี ดุ อย่างหน่ึงท่ีจะขาด มิได้ก็คือ จะต้องมี “ชุมชนแห่งวิชาชีพ หรือProfessional community” เกิดขึ้นในโรงเรียนน้ัน เพือ่ ให้เป็นสถานทีส่ าหรบั การปฏิสมั พันธ์ของมวลสมาชกิ ผ้ปู ระกอบวิชาชีพครขู องโรงเรยี น เกย่ี วกับเร่ืองการให้ ความดูแลและพูดถึงการปรับปรุงผลการเรียนของนักเรียน ตลอดจนงานทางวิชาการของโรงเรียน และ เนื่องจากครูสว่ นใหญใ่ นแทบทุกประเทศมกั เกิดความรสู้ กึ โดดเด่ยี วในการปฏิบัตงิ านสอนของตน ดังนั้น การมี “ชุมชนแห่งวิชาชีพ” เกิดขึ้นในโรงเรียนจึงช่วยคลี่คลายปัญหาดังกล่าว เพราะทาให้ครูมีโอกาสพูดคุยกับ บุคคลผู้มีส่วนได้เสียกับงานของครู (เช่น ผู้ปกครอง สมาชิกอื่นๆ ของชุมชน เป็นต้น) แต่แน่นอนว่า เหตกุ ารณท์ านองนีจ้ ะเกดิ ข้ึนไดก้ ต็ ่อเมอื่ ต้องมกี ารเปลีย่ นดา้ นโครงสร้างของโรงเรียน ตลอดจนจาเป็นที่จะต้อง เปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมของโรงเรียนอีกด้วย โดยกิจกรรมของชุมชนแห่งวิชาชีพในโรงเรียนควรประกอบด้วย 1) การมีโอกาสเสวนาใคร่ครวญ (Reflective dialogue) ระหวา่ งกัน 2) การเปิดกว้างให้มีการปฏิสัมพันธ์ ในหมคู่ รูผสู้ อนมากขึน้ เพ่อื ลดความรูส้ กึ โดดเดี่ยว (Deprivatization) ในงานสอนของครู 3) การรวมกลุ่ม เพอ่ื เนน้ เรือ่ งการเรียนรู้ของนักเรียน 4) การร่วมมือร่วมใจกันในหมู่ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา 5) การ แลกเปล่ยี นในประเดน็ ท่เี ปน็ ค่านิยมและปทัสถานร่วม (Shared values and norms) ดังจะกล่าวในแต่ละ ประเดน็ ดงั น้ี 4.1 กจิ กรรมท่ีจาเป็นตอ่ ความเป็นชมุ ชนแหง่ วิชาชพี ในสถานศกึ ษา 1) การมโี อกาสเสวนาใครค่ รวญ (Reflective dialogue) ระหวา่ งกัน ซึ่งเป็นการนาเอาประเด็นปัญหาที่พบเห็น จากการปฏิบัติงานด้านการเรียนการสอนของ ครูข้ึนมาพูดคุยแลกเปลี่ยนระหว่างกัน ช่วยให้แต่ละคนได้วิเคราะห์และสะท้อนมุมมองของตนในประเด็นนั้น ตอ่ กลุ่มเพ่ือนร่วมงาน ทาให้ทุกคนได้มีโอกาสเกิดการเรียนรู้ และได้ข้อสรุปต่อปัญหาจากหลากหลายมุมมอง ยง่ิ ขน้ึ บรรยากาศเชน่ นกี้ ่อให้เกดิ ความรว่ มมือร่วมใจข้นึ ในหมู่ครผู สู้ อน เพือ่ ช่วยกนั ปรับปรงุ ดา้ นการเรียนการ สอนใหม้ ีผลดียง่ิ ข้ึน แตก่ ิจกรรมนี้จะสาเร็จราบรื่นไดก้ ต็ ่อเมอื่ แต่ละคนตอ้ งยอมเปดิ ใจกวา้ ง รับฟังการประเมิน จากเพ่อื รว่ มกลมุ่ ระหว่างการสนทนาเชิงสร้างสรรค์ดงั กล่าว 2) การลดความโดดเดี่ยวระหว่างปฏิบัติงานสอนของครู (Deprivatization of instructional practices) เป็นกิจกรรมท่ีช่วยเสริมสร้างสัมพันธภาพท่ีดีระหว่างครู กล่าวคือ ครูมีโอกาสแสดง บทบาทท้ังเป็นผู้ให้ข้อมูลและได้แสดงบทบาทการเป็นท่ีปรึกษา (Advisor) การเป็นพ่ีเล้ียง (Mentor) หรือ อาจเป็นผู้เช่ียวชาญ (Specialist) ก็ได้ ในระหว่างที่ให้ความช่วยเหลือเพื่อนด้วยกัน ท้ังน้ีเป็นท่ีทราบกันอยู่ แล้วว่า วชิ าชพี ครูแตกตา่ งกับวิชาชีพอนื่ ตรงท่ี ผู้ปฏิบัติมักทางานในลักษณะโดดเด่ียวตามลาพัง ซึ่งเป็นผลให้ ครูไม่สามารถที่จะเรียนรู้จากผู้อื่นได้ และขาดประโยชน์ที่จะได้รับผลการวิเคราะห์และการให้ข้อมูลป้อนกลับ ด้านการสอนจากผ้อู น่ื ที่มตี อ่ งานสอนของตน ดว้ ยเหตุนี้ ถ้าผนู้ าสถานศึกษาตอ้ งการให้เกิดกิจกรรมการเสวนา ใคร่ครวญระหว่างครขู ้นึ กจ็ าเปน็ ต้องพิจารณาใหม้ ีการเปล่ียนแปลงวฒั นธรรมการโดดเดี่ยวในการสอนของครู ใหไ้ ด้เสียกอ่ น 3) รวมกลุ่มเพื่อมุ่งเน้นที่การเรียนรู้ของนักเรียน (Collective focus on student learning) 42
คู่มือการอบรมคณะกรรมการขบั เคลอ่ื นกระบวนการPLC (Professional Learning Community) “ชมุ ชนการเรียนร้ทู างวิชาชพี ” สสู่ ถานศึกษา ระดบั สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา เป็นกิจกรรมที่ดีมากแต่ยุ่งยากตรงประเด็นให้ครูเกิด “จุดมุ่งเน้น” อย่างไรก็ตาม ถ้าถือว่า การมีชุมชนแห่งวิชาชีพคือ ลักษณะสาคัญของโรงเรียนแห่งการเรียนรู้ ที่มีเจตจานงมุ่งสร้างผลลัพธ์คือการ เรียนรู้ของนักเรียนให้สูงขึ้นแล้ว ก็ต้องให้ความสาคัญอันดับแรกกับกิจกรรมที่สร้างความงอกงามของผู้เรียน ซึ่งค่อนข้างยากลาบากอยู่ไม่น้อย ด้วยเหตุน้ี การที่ชุมชนแห่งวิชาชีพมีกิจกรรมให้ครูได้มาเสวนาใคร่ครวญ (Reflective dialogue) เพอ่ื อภิปรายและวิเคราะหด์ า้ นหลักสตู ร และกลยุทธ์ด้านการสอนของครู ซึ่งแม้จะ ใชเ้ วลามากก็ตาม แต่ทั้งหลายทงั้ ปวงกเ็ พอ่ื ให้นักเรยี นเกดิ การเรยี นรูไ้ ด้ผลดียิ่งข้ึน และเพ่ือท่ีจะเป็นจุดเริ่มต้น ในการพัฒนานกั เรยี นใหเ้ ปน็ ผูส้ ามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self - starting learners) ไดต้ อ่ ไป 4) สร้างจดุ เร่มิ แห่งความร่วมมอื ร่วมใจ (Collaboration starts) เมือ่ ครูหลุดพ้นจากสภาพการต้องทางานแบบโดดเดี่ยว และสามารถแสวงหาความเชี่ยวชาญ จากเพอ่ื นคนอนื่ ท่ีอยใู่ นชมุ ชนวชิ าชพี ของตนได้แล้วก็ตาม แต่ความเป็นมืออาชีพของครูก็อาจไม่สามารถบรรลุ ได้ถ้าครูยังขาดการปรับปรุง และพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ืองตลอดเวลา ดังน้ัน ความร่วมมือร่วมใจทาง วิชาชีพต่อกันของครู จะก่อให้เกิดพลังในการร่วมวิเคราะห์ปัญหา และความต้องการอันซับซ้อนของผู้เรียน แต่ละคนได้ บรรยากาศแห่งความร่วมมือร่วมใจกันนี้จะช่วยเสริมการปฏิบัติงานประจาวันของครูแต่ละคน ได้อยา่ งถาวร 5) ทาการแลกเปล่ียนเรียนรู้ ด้านค่านิยม และปทัสถานร่วม (Shared values and norms) เมื่อบุคคลต่างๆ ในวิชาชีพท้ังครูผู้สอน ครูแนะแนว ครูนิเทศ และผู้บริหารมาร่วมกันใน ชุมชนแห่งวิชาชีพแล้ว ในประเด็นนี้ Sergiovanni (1992) เห็นว่า การสร้างค่านิยมและปทัสถานร่วมกันของ คนในวิชาชีพที่อยู่ในโรงเรียนแห่งการเรียนรู้ดังกล่าว ด้วยความเป็นมืออาชีพของบุคคลเหล่าน้ีจะพัฒนาสิ่งท่ี เรียกว่า อานาจเชิงคุณธรรม (Moral authority)ข้ึนเป็นแนวทางของการอยู่ร่วมกันแทนที่การใช้อานาจ เชิงกฎหมายหรืออานาจโดยตาแหนง่ (Position authority) ซ่งึ ไม่เหมาะสมกับชมุ ชนแห่งวิชาชพี นกั 4.2 ความจาเป็นตอ้ งปรับโครงสร้างใหม่ของโรงเรยี นแห่งการเรียนรู้ ใหส้ ามารถรองรับการเกดิ ชุมชนแหง่ วชิ าชพี เนื่องจากโรงเรียนส่วนใหญ่ถูกออกแบบโครงสร้างเป็นแบบราชการ (Bureaucratic organization) ท่ีมีสายงานบังคับบัญชาด้วยอานาจโดยตาแหน่งที่ลดหล่ันตามลาดับลงมา กล่าวคือ มี กฎระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ มามากมายที่ต้องปฏิบัติตาม ซึ่งเป็นโครงสร้างท่ีมีลักษณะตึงตัวและใช้ได้ดีใน อดีตท่ีเป็นโลกยุคอุตสาหกรรม แต่กลับเป็นอุปสรรคสาคัญในโลกแห่งยุคเศรษฐกิจฐานความรู้ ที่ต้องการมี โครงสร้างองค์การท่ียืดหยุ่นคล่องตัวได้สูง พร้อมท่ีจะรองรับต่อการเปลี่ยนแปลงใหม่ๆ ที่เกิดข้ึนมากมาย ตลอดเวลา โดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อความเป็นไปได้ ของชุมชนแห่งวิชาชีพท่ีจะเกิดข้ึนในโรงเรียนได้น้ัน โครงสร้างองค์การของโรงเรียนแห่งการเรียนจึงจาเป็นต้องได้รับการปรับปรุงแก้ไข ได้แก่ประเด็นต่อไปนี้ (Louis et al., 1994) 1) การกาหนดตารางเวลาวา่ งเพื่อการพบปะถกปญั หา (Time to meet and discuss) มีผลการวิจัยเร่ืองความมีประสิทธิผลของโรงเรียนและครูผู้สอน ชี้ชัดว่า การจัดสรรเวลา พเิ ศษเพื่อให้ครูได้ปรกึ ษาหารอื ระหวา่ งกนั เปน็ สิง่ ท่ีจาเปน็ อย่างยงิ่ ท้ังนีเ้ พราะปกติของการจัดช่ัวโมงสอน เม่ือ หมดการสอนแต่ละคาบเวลา ครูจะต้องเคลื่อนย้ายการสอนจากห้องหนึ่งไปอีกห้องหนึ่งตลอดเวลา จึงไม่มี โอกาสที่ครูจะไดพ้ บปะเพอื่ แสวงหาความร่วมมือทางวิชาชีพซึ่งกันและกันได้ ท้ังท่ีครูเหล่าน้ีจาเป็นต้องร่วมกัน 43
ค่มู ือการอบรมคณะกรรมการขบั เคลื่อนกระบวนการPLC (Professional Learning Community) “ชมุ ชนการเรยี นรูท้ างวิชาชพี ” สสู่ ถานศึกษา ระดบั สานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษา พิจารณาหากลยุทธ์ใหม่ๆด้านการสอน ที่เหมาะสม ด้วยเหตุน้ี การจัดตารางเวลาที่ว่างตรงกันเพื่อให้ครูได้ ปฏิสมั พนั ธ์ จงึ เป็นเงอ่ื นไขทีจ่ าเป็นถ้าตอ้ งการใหค้ วามรว่ มมือรว่ มใจของครูเกิดขึน้ 2) การกาหนดขนาดของชนั้ เรียน (Class size) มีผลงานวิจัยระบุว่า ถ้าจานวนนักเรียนในชั้นเรียนน้อยลงได้เท่าไรก็ย่ิงเพ่ิมประสิทธิผลของ การเรียนรูย้ งิ่ ขนึ้ ท้ังนใ้ี นห้องเรียนท่มี คี รูเพยี งหนึ่งคนน้นั ครูสามารถทีจ่ ะดูแลนักเรยี นได้อยา่ งมปี ระสิทธิผลได้ ในจานวนท่ีจากัด แม้ว่าจะไม่สามารถกาหนดจานวนนักเรียนท่ีเหมาะสมแน่นอน แต่การขยายจานวน นักเรียนตอ่ ชั้นมากขนึ้ ย่อมเพ่มิ ภาระและความยากลาบากแก่ครูที่จะดูแลชว่ ยเหลือนักเรียนได้อย่างทัว่ ถงึ 3) การเพิม่ อานาจความรบั ผิดชอบแกค่ รู และการให้อสิ ระแกโ่ รงเรยี น (Teacher empowerment and school autonomy) การเพ่ิมอานาจความรับผิดชอบแก่ครูเป็นปัจจัยที่จาเป็น เน่ืองจากช่วยสร้างความรู้สึกมั่นใจ ต่อการปฏิบัติงานในช้ันเรียนท่ีตนรับผิดชอบได้ดีขึ้น การเพ่ิมอานาจความรับผิดชอบแก่ครู ยังสอดคล้องกับ แนวทางบริหารจัดการร่วม (Shared governance) ซ่ึงเป็นคุณลักษณะหนึ่งที่จาเป็นของโรงเรียนแห่งการ เรียนรู้ ในขณะเดียวกันโรงเรียนแต่ละแห่งของเขตพื้นท่ีการศึกษาก็ควรมีความอิสระ (Autonomy) อย่าง เพียงพอที่จะจัดการกบั ปญั หาตา่ งๆ ที่เกิดข้ึนภายในโรงเรียนไดอ้ ย่างคล่องตัวและรวดเร็ว ด้วยเหตุนี้เขตพื้นท่ี การศึกษาจึงควรร่วมกับโรงเรียนต่างๆ ในการจัดทาวิสัยทัศน์เป้าหมาย และวัตถุประสงค์รวมแบบกว้างของ เขตพ้ืนท่ีการศึกษา จากนั้นจึงให้อิสระแต่ละโรงเรียนไปจัดทารายละเอียดที่สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน และความตอ้ งการของครูผู้สอน และผู้นาสถานศึกษาแต่ละแห่ง ที่จะริเริ่มสิ่งใหม่เพื่อเพ่ิมประสิทธิผลต่อการ เรียนรู้ของนักเรียนของตน ในเรื่องนี้นักการศึกษาส่วนใหญ่เชื่อว่า ไม่มีวิธีสอนใดหรือวิธีบริหารจัดการใดท่ีดี ท่ีสุด แต่พบว่า จากการใช้เทคนิควิธีในการเสวนาใคร่ครวญ (Reflective dialogue) การทางานแบบ ร่วมมือร่วมใจ (Collaboration) และการสร้างปทัสถานและค่านิยมร่วม (Shared norms and values) แล้วจะช่วยส่งเสริมความสามารถในการรับมอบอานาจความรับผิดชอบของครูต่อการปฏิบัติงานได้ดีขึ้น เช่นเดียวกับการให้อิสระแก่นักเรียนหรือที่เรียกว่า “การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานหรือ Site - based management” เพื่อความอิสระในการตัดสินใจต่างๆ ของโรงเรียนได้เองน้ัน เป็นมาตรการที่ควร ได้ระบุชัดเจนในกรอบนโยบายของเขตพื้นที่การศึกษา ท้ังนี้มิได้หมายความว่า จะต้องให้อิสระแก่โรงเรียน และครูโดยส้ินเชิง แต่ควรจัดทาเป็นแนวปฏิบัติร่วมกันที่อยู่ภายใต้กรอบนโยบายรวมของเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และขึ้นอยู่ที่ขีดระดับความสามารถของครูในแต่ละโรงเรียน ท่ีจะสามารถสนองตอบและรับผิดชอบต่อการ เรียนรขู้ องนกั เรยี นไดด้ ีเพยี งไรดว้ ย 4.3 เงอ่ื นไขดา้ นการปรบั เปล่ยี นวัฒนธรรมองคก์ าร (Professional community culture) วัฒนธรรมองค์การเป็นระบบความเช่ือที่สมาชิกขององค์การยึดถือร่วมกัน ตัวอย่างเช่น ถ้า ครูผู้สอนทุกคนและผู้นาของโรงเรียนมีความเช่ือว่า “มนุษย์ทุกคนมีศักยภาพเพียงพอที่จะเรียนรู้ได้” ความ เชื่อเช่นน้ีจะทาให้สมาชิกของโรงเรียนพยายามที่จะสร้างสภาพแวดล้อมและแสวงวิธีการเรียนการสอนใหม่ๆ อย่างหลากหลาย เพ่ือให้สามารถตอบสนองต่อนักเรียนแต่ละคนที่มีความแตกต่างกัน ให้สามารถเรียนรู้และ พัฒนาศักยภาพของตนได้สูงสุด เป็นต้น ในชุมชนแห่งวิชาชีพก็เช่นกัน สมาชิกแต่ละคนจะยึดเหนี่ยวต่อกัน ด้วยระบบค่านิยม ความเชื่อและปทัสถานร่วมกัน ให้เกิดการดารงอยู่ของชุมชนแห่งวิชาชีพของตน อย่างไร ก็ตาม มีวัฒนธรรมองค์การแบบเดิมหลายประการท่ีควรได้รับการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงให้เหมาะต่อการเป็น ชมุ ชนแห่งวชิ าชพี ได้แก่ 44
คู่มือการอบรมคณะกรรมการขับเคล่อื นกระบวนการPLC (Professional Learning Community) “ชุมชนการเรียนรูท้ างวิชาชพี ” สสู่ ถานศกึ ษา ระดบั สานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษา 1) ลดความเป็นองคก์ ารที่ยดึ “วัฒนธรรมแบบราชการ หรือ Bureaucratic culture” ท่ีใช้กฎระเบียบคาสั่งต่างๆ แบบตึงตัวในการปฏิบัติงาน และการปฏิสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกผู้ปฏิบัติงานไปสู่ การเน้น “วัฒนธรรมแบบกัลยาณมิตรทางวิชาการหรือ Collegial culture” ซึ่งเน้นวิธีปฏิสัมพันธ์ ระหวา่ งสมาชิก ทีย่ ดึ ถอื ค่านยิ มเชิงคุณธรรมจรยิ ธรรม (Moral and ethical cultures) เช่น การเอื้ออาทร หว่ งใย ชว่ ยเหลอื และร่วมมือตอ่ กนั ในการปฏิบตั ิงาน และการดาเนนิ ชวี ติ ประจาวนั ของสมาชกิ เป็นตน้ 2) สร้างเสริมวัฒนธรรมแห่ง “ความไว้วางใจ (Trust) และความนับถือ (Respect)” ต่อกันในมวลหมู่สมาชิกของชมรมแห่งวิชาชีพ กล่าวคือ ความนับถือ หมายถึง การรู้จักให้เกียรติและ ยอมรับในความรคู้ วามสามารถและความเช่ียวชาญของผู้อน่ื ส่วนความไวว้ างใจ หมายถึง ระดับคุณภาพของ ความสัมพันธ์ระหว่างบคุ คลของมวลสมาชิก ทั้งนี้ ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกเป็นผลท่ีมาจากการท่ีสมาชิก ได้มีกิจกรรมการเสวนาอย่างใคร่ครวญ (Reflective dialogue) และการร่วมมือร่วมใจ (Collaboration) ระหว่างกัน ดังน้ัน การสร้างความไว้วางใจและความนับถือต่อกันจึงเป็นปัจจัยพื้นฐานสาคัญต่อการสร้าง สมั พันธภาพอันดีระหวา่ งสมาชกิ โดยแนวคิดดังกลา่ วนีส้ ามารถขยายกรอบให้กวา้ งขวางออกไปจนครอบถึงผู้มี ส่วนได้เสีย (Stakeholders) ทั้งหลาย เช่น ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้ปกครอง ตลอดจนสมาชิกของ หน่วยงานทงั้ หลายท่เี ป็นชุมชนแวดล้อมของโรงเรียน เป็นต้น โดยท่ีบุคคลเหล่านี้ให้การยอมรับว่า การศึกษา และการเรียนรเู้ ป็นความรบั ผิดชอบรว่ มของทุกๆ คนในชุมชน 3) การสร้างวัฒนธรรมการใช้ทักษะด้าน การคิดและใช้สติ ปัญญาเป็นฐาน (A cognitive skill base) วิชาชีพครูเป็นวิชาชีพชั้นสูง (Profession) ท่ีต้องใช้ความรู้ การคิดและการใช้ สตปิ ัญญาเป็นเคร่ืองมือสาคัญในการประกอบวิชาชีพ ครูผู้สอนจึงต้องเรียนรู้อยู่ตลอดเวลา ต้องเป็น Life – long learners และต้องเป็นผู้เรียนรู้ร่วมไปกับนักเรียนที่ตนทาการสอน ด้วยเหตุนี้วัฒนธรรมเชิงความคิด ของครูท่ีต้องปรับปรุงใหม่ ก็คือ เปลี่ยนความเชื่อที่ว่า ตนเป็นผู้ทาการสอน (Teaching) ไปเป็นผู้เรียนรู้ (Learning) แทน จึงต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนจากผู้ถ่ายทอดความรู้ไปเป็นผู้จัดสรรประสบการณ์ การเรียนรู้ที่หลากหลายให้กับผู้เรียน พร้อมท้ังพยายามสร้างความตระหนัก ให้ผู้เรียนรู้จักรับผิดชอบในการ ใฝ่หาความรดู้ ้วยตนเองอย่เู นืองนิตยเ์ พ่ือใหส้ ามารถบรรลเุ ปา้ หมายการเรยี นของตน 4) สร้างวัฒนธรรมการชอบริเริ่มสร้างสรรค์ส่ิงใหม่ๆ (Openness to innovation) ในชุมชนแห่งวิชาชีพสมาชิกทุกคนต้องส่งเสริมสนับสนุนซ่ึงกันและกันในการค้นคว้าและริเร่ิมส่ิงใหม่ๆ ให้ เกดิ ข้นึ โดยเฉพาะตอ้ งเป็นผ้สู รา้ งองค์ความรใู้ หม่ (Knowledge creation) กล่าวคอื ครูผู้สอนจะต้องได้รับ การสนบั สนุนในการออกแบบการสอนใหม่ๆ ท่ีเหมาะสมกับภาวะแวดล้อมท่ีข้อมูลสารสนเทศเกิดขึ้นมากมาย อย่างรวดเร็ว ต้องค้นหาว่าจะมีวิธีการเรียนรู้ได้ดีที่สุดในภาวะเช่นน้ีได้อย่างไร ข้อมูลสารสนเทศท่ีเกิดข้ึน มากมายจะส่งผลกระทบต่อหลักสูตรและความต้องการของผู้เรียนซ่ึงเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาเช่นกันได้ อย่างไร การทจ่ี ะทาใหส้ มาชิกเป็นผรู้ ิเร่ิมสรา้ งสรรคใ์ หม่ๆ ไดน้ น้ั ผนู้ าองค์การจาเป็นต้องสร้างวัฒนธรรมการ กล้าเสี่ยง (Taking risks) ชอบการทดลอง (Experiment) เพ่ือหาแนวทางปรับปรุงการเรียนรู้ของนักเรียน ทง้ั นส้ี มาชิกของชุมชนแห่งวชิ าชีพตอ้ งไม่ถือว่าความผิดพลาดท่ีได้จากการทดลองคือความล้มเหลว แต่ต้องถือ วา่ ขอ้ ผดิ พลาดที่ไดด้ ังกล่าวเป็นโอกาสดที ่จี ะได้เกิดการเรียนรู้ใหม่เพิ่มเติมและ “ถือว่าผิดเป็นครู” ไม่เป็นเร่ือง ที่ควรตาหนิ แต่เป็นเร่ืองท่ีควรสนับสนุนให้กาลังใจเพื่อจะได้ค้นหาคาตอบที่เหมาะสมต่อไป นอกจากนี้ ควรปรบั ปรงุ ระบบเนน้ การให้ความดีความชอบแก่สมาชกิ ท่ีชอบทดลองค้นคา้ หานวัตกรรมและริเร่ิมสร้างสรรค์ สิ่งใหม่ๆ ให้แก่โรงเรยี นอกี ด้วย 45
คู่มอื การอบรมคณะกรรมการขับเคลือ่ นกระบวนการPLC (Professional Learning Community) “ชมุ ชนการเรียนรู้ทางวิชาชพี ” สสู่ ถานศกึ ษา ระดบั สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษา 5) ตอ้ งไดร้ ับการสนับสนุนอยา่ งจรงิ จังจากผนู้ า (Supportive leadership) การที่ครูผู้สอนและผู้นาสถานศึกษาได้ทางานร่วมกันในชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพแล้ว ก็มีคาถามตามมาว่า แล้วจะเพิ่มจานวนโรงเรียนท่ีมีชุมชนดังกล่าวให้มากข้ึนได้อย่างไร กระบวนทัศ น์ ทางการศึกษาที่เปล่ียนไปบ่งช้ีว่า ทั้งบรรดาครูผู้สอนทั้งหลายและสาธารณชน จาเป็นต้องร่วมกันกาหนด บทบาทใหม่ที่เหมาะสมของครู โดยต้องทบทวนที่ต้องให้ครูใช้เวลาส่วนใหญ่ในแต่ละวันอยู่หน้าช้ันเรียน และ อยู่กับนกั เรยี นตลอดเวลาน้นั ได้มกี ารศึกษาเปรียบเทียบเร่ือง การใชเ้ วลาของครูผ้สู อนในประเทศต่างๆ ท่ัวโลก ปรากฏผลออกมาชัดเจนว่าในหลายประเทศ เช่น ในญ่ีปุ่น พบว่า ครูมีช่ัวโมงสอนน้อยลง และมีโอกาสได้ใช้ เวลาที่เหลือส่วนใหญ่ไปกับการจัดทาแผนเตรียมการสอน การประชุมปรึกษาหารือกับเพ่ือนร่วมงาน การให้ คาปรกึ ษาและทางานกับนักเรียนเป็นรายบุคคล การแวะเยี่ยมช้ันเรียนอ่ืนเพื่อสังเกตการณ์เรียนการสอน และ การไดใ้ ช้เวลาไปเพอื่ กจิ กรรมต่างๆ ด้านการพัฒนาวิชาชีพของครูมากข้ึน (Darling– Hammond,1994,1996) เป็นต้น การที่จะให้การเปล่ียนแปลงดังกล่าวเกิดขึ้นได้นั้น จาเป็นต้องสร้างความตระหนัก และให้มุมมองใหม่ ต่อสาธารณชน และวงการวิชาชีพครูท่ีต้องเน้นและเห็นคุณค่าของความจาเป็นต้องพัฒนาครูให้มีความเป็น มืออาชีพยิ่งข้ึน ถ้าหากต้องการคุณภาพการศึกษาของนักเรียน ดังที่มีผู้กล่าวว่า “ครูต้องเป็นบุคคลแรกที่ต้อง เป็นนักเรียน (Teachers are the first Learners) โดยผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมในชุมชนการเรียนรู้ทาง วชิ าชีพ ซึ่งจะส่งผลใหก้ ารปฏบิ ัติงานมีประสิทธิผลมากขึ้น และช่วยให้ผลสัมฤทธ์ิทางการศึกษาของนักเรียนสูง ตามไปด้วย นน่ั คือความปรารถนาใฝ่ฝันของบคุ คลทุกฝา่ ยทม่ี ิอาจปฏิเสธได้ 46
ค่มู ือการอบรมคณะกรรมการขบั เคลื่อนกระบวนการPLC (Professional Learning Community) “ชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี ” สสู่ ถานศกึ ษา ระดบั สานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษา 4.3 ข้นั ตอนการนา PLC ไปสกู่ ารปฏิบตั ใิ นสถานศกึ ษา รวมกลุ่ม PLC ค้นหาปัญหา/ความตอ้ งการ วธิ ีการ/นวัตกรรม ออกแบบกจิ กรรมการ แกป้ ญั หา แลกเปลี่ยน/เสนอแนะ นาไปสกู่ ารปฏบิ ัต/ิ สงั เกตการสอน สะทอ้ นผล นวัตกรรม/Best Practices Flow Chart ขน้ั ตอนการนารปู แบบ PLC ไปใชใ้ นสถานศึกษา 47
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210