การสร้าง พฒั นานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื การเรียนรู้ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- คณะกรรมการขา้ ราชการพลเรอื นในสถาบนั อดุ มศึกษา (ก.พ.อ) ได้ใหค้ ำจำกัดควำมของผลงำนทำง วชิ ำกำรไว้ 7 ประเภทใหญ่ คือ เอกสารประกอบการสอน เอกสารคาสอน บทความทางวิชาการ ตารา หนงั สอื งานวิจยั และผลงานทางวชิ าการในลกั ษณะอืน่ ๆ ดงั นี้ เอกสารประกอบการสอน เอกสารประกอบการสอน หมำยถึง ผลงำนทำงวิชำกำรทใี่ ช้ประกอบกำรสอนวิชำใดวชิ ำหนง่ึ ตำม หลกั สตู รของสถำบันอุดมศึกษำท่สี ะท้อนให้เหน็ เนื้อหำวชิ ำและวิธกี ำรสอนอยำ่ งเปน็ ระบบ จดั เปน็ เคร่ืองมือ สำคัญของผู้สอนในกำรใชป้ ระกอบกำรสอน เอกสารคาสอน เอกสารการสอน หมำยถึง ผลงำนทำงวิชำกำรที่ใช้สอนวชิ ำใดวชิ ำหนงึ่ ตำมหลักสตู รของ สถำบนั อดุ มศึกษำที่สะท้อนใหเ้ หน็ เนื้อหำวชิ ำท่สี อน และวิธีกำรสอนอยำ่ งเป็นระบบ โดยอำจพัฒนำข้ึนจำก เอกสำรประกอบกำรสอนจนมีควำมสมบรู ณ์กว่ำ เอกสำรประกอบกำรสอนจัดเปน็ เคร่ืองมอื สำคญั ของผู้เรียนที่ นำไปศึกษำด้วยตนเอง หรอื เพิ่มเตมิ ขึน้ จำกกำรเรยี นในมิติน้นั ๆ บทความทางวิชาการ บทความทางวิชาการ หมำยถงึ งำนเขยี นทำงวชิ ำกำรซึง่ มีกำรกำหนดประเด็นท่ีต้องกำรอธบิ ำย หรอื วเิ ครำะห์อย่ำงชดั เจน ท้ังน้มี ีกำรวิเครำะหป์ ระเดน็ ดังกลำ่ วทำงหลกั วิชำกำร จนสำมำรถสรปุ ผลกำรวิเครำะห์ใน ประเดน็ นั้นได้ อำจเปน็ กำรนำควำมรูจ้ ำกแหล่งตำ่ ง ๆ มำประมวลร้องเรียนเพื่อวเิ ครำะห์อย่ำงเป็นระบบ โดยที่ ผ้เู ขยี นแสดงทศั นะทำงวิชำกำรของตนไว้อย่ำงชัดเจน ตารา ตารา หมำยถึง ผลงำนทำงวิชำกำรท่ีเรียบเรียงขึน้ อยำ่ งเปน็ ระบบ ครอบคลุมเนื้อหำสำระของวิชำหรอื เปน็ ส่วนหนึง่ ของวิชำ หรอื ของหลกั สูตรกไ็ ด้ ท่ีสะท้อนใหเ้ ห็นถงึ ควำมสำมำรถในกำรถ่ำยทอดวิชำใน ระดับอดุ มศึกษำ ในกำรเรียนกำรสอนในหลักสูตร เนื้อหำสำระของตำรำต้องมีควำมทันสมัย เม่อื พจิ ำรณำถึง วันท่ีผขู้ อยืน่ เสนอขอตำแหนง่ วชิ ำกำร ทัง้ นี้ผู้ขอจะต้องระบุวิชำทเ่ี กีย่ วขอ้ งในหลักสูตรทใี่ ชต้ ำรำเลม่ ที่เสนอขอ ตำแหนง่ ทำงวิชำกำรดว้ ย ผลงำนทำงวชิ ำกำรทีเ่ ปน็ \"ตารา\" น้ี อำจไดร้ ับกำรพฒั นำข้ึนจำกเอกสำรคำสอนจนถงึ ระดบั ท่ีมคี วำม สมบรู ณ์ทส่ี ดุ ซ่งึ ผอู้ ่ำนอำจเป็นบคุ คลอื่นทีม่ ิใชผ่ ู้เรียนในวิชำนั้น แต่สำมำรถอ่ำนและทำควำมเข้ำใจในสำระของ ตำรำนนั้ ดว้ ยตนเองได้ โดยไม่ต้องเข้ำศึกษำในวิชำนั้น หนังสอื หนังสือ หมำยถึง ผลงำนทำงวิชำกำรที่เรยี บเรยี งขนึ้ โดยมีรำกฐำนทำงวิชำกำรท่ีม่ันคง และให้ทัศนะ ของผู้เขยี นทส่ี ร้ำงเสรมิ ควำมคิดและสร้ำงควำมแข็แกร่งทำงวิชำกำรให้แก่สำขำวิชำนั้น ๆ และ/หรือ สำขำวชิ ำ ทเ่ี กยี่ วเนอื่ ง มคี วำมต่อเน่ืองเชอ่ื มโยงในเชิงเนอื้ หำและครอบคลุม โดยไมจ่ ำเปน็ ต้องสอดคล้องหรือเป็นไปตำม ขอ้ กำหนดของหลกั สตู รหรือของวิชำใดวิชำหนง่ึ ในหลกั สตู ร และไม่จำเปน็ ต้องนำไปใช้ประกอบกำรเรียนกำร สอนในวชิ ำใดวชิ ำหนึ่ง ทงั้ น้เี น้ือหำสำระของหนังสอื ต้องมีควำมทนั สมัย เพื่อพจิ ำรณำถึงวันที่จัดพมิ พ์ งานวจิ ัย งานวิจยั หมำยถึง หมำยถึง ผลงำนทำงวิชำกำรทเ่ี ป็นงำนศึกษำหรืองำนค้นควำ้ อยำ่ งมรี ะบบด้วยวิธี วิทยำกำรวิจยั ที่เป็นทยี่ อมรับในสำขำวชิ ำน้ัน ๆ และมีวตั ถุประสงคท์ ่ีชัดเจนเพอื่ ให้ได้มำซ่ึงข้อมูลคำตอบหรือ ขอ้ สรุปรวมที่จะนำไปสู่ควำมก้ำวหน้ำทำงวชิ ำกำร หรือเอ้ือตอ่ กำรนำวชิ ำกำรน้ันไปประยุกต์ใช้
ผลงานวชิ าการในลักษณะอื่น ผลงานทางวิชาการในลักษณะอนื่ หมำยถึง ผลงำนทำงวิชำกำรอย่ำงอ่ืนที่มใิ ชเ่ อกสำรประกอบ กำรสอน เอกสำรคำสอน บทควำมทำงวิชำกำร หนังสือ ตำรำ หรอื งำนวิจยั โดยปกตหิ มำยถึง สิ่งประดิษฐ์ หรอื งำนสร้ำงสรรค์ อำทิ กำรประดษิ ฐ์เคร่ืองทุ่นแรง ผลงำนกำรสร้ำงสิง่ มีชีวติ พันธใ์ุ หม่ วคั ซนี สิ่งก่อสร้ำง หรอื ผลงำนดำ้ นศิลปะ หรือสำรำนกุ รม รวมถึง งำนแปลจำกตัวงำนต้นแบบทเี่ ปน็ งำนวรรณกรรม หรอื งำนด้ำนปรชั ญำ หรือ ประวัตศิ ำสตร์ หรอื วิทยำกำร สำขำอ่นื บำงสำขำท่ีมีควำมสำคัญและทรงคุณค่ำในสำขำวิชำนนั้ ๆ ซึง่ เม่อื นำมำแปลแลว้ จะเปน็ กำรเสรมิ ควำมกำ้ วหนำ้ ทำงวิชำกำรท่ีประจักษ์ชัด เปน็ กำรแปลจำกภำษำตำ่ งประเทศเป็นภำษำไทย หรือจำก ภำษำไทยเป็นภำษำต่ำงประเทศ หรือแปลจำกภำษำต่ำงประเทศหนงึ่ เป็นภำษำตำ่ งประเทศอีกภำษำหน่ึง ผลงำนวิชำกำรในลักษณะอน่ื ทเี่ สนอจะต้องประกอบดว้ ยบทวเิ ครำะหท์ ี่อธิบำยและชี้ใหเ้ หน็ ว่ำ งำนดงั กล่ำวทำให้เกิดควำมกำ้ วหน้ำทำงวชิ ำกำร หรอื เสริมสรำ้ งองค์ควำมรู้ หรือใหว้ ชิ ำกำรท่ีเปน็ ประโยชน์ ตอ่ สำขำวิชำนน้ั ๆ และแสดงถงึ ควำมสำมำรถในกำรบกุ เบิกในสำขำวชิ ำนนั้ ๆ สำหรับผลงำนทีม่ ุง่ ในเชงิ ปฏบิ ตั ิ จะต้องผำ่ นกำรพิสจู น์หรอื มหี ลกั ฐำนรำยละเอยี ดต่ำง ๆ ประกอบ แสดงให้เห็นคุณค่ำของผลงำน ความหมายของการพัฒนานวัตกรรมการศกึ ษา นวัตกรรม หรอื นวกรรม มำจำกคำวำ่ “นว” หมำยถงึ ใหม่ และ “กรรม” หมำยถงึ กำรกระทำ เม่ือนำสองคำน้ีมำรวมกนั เป็น นวกรรม หรือนวัตกรรม จึงหมำยถึง กำรกระทำใหม่ ๆ หรอื กำร พัฒนำดดั แปลงจำกสง่ิ ใดๆ แล้วทำใหด้ ีข้นึ และเม่ือนำนวัตกรรมมำใช้ในวงกำรศึกษำจึงเรยี กวำ่ “นวตั กรรม กำรศึกษำ” กำรพัฒนำนวัตกรรมกำรศกึ ษำ (Educational Innovation) หมำยถึง กำรกระทำใหม่ กำรสร้ำงใหม่ หรือกำรพฒั นำดดั แปลงจำงส่ิงใดๆ แลว้ ทำให้กำรศกึ ษำหรือกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนกำรสอนมปี ระสิทธิภำพดี ข้นึ กวำ่ เดมิ ทำให้ผ้เู รยี นเกดิ กำรเรียนเปลี่ยนแปลงในกำรเรียนรู้ เกิดกำรเรยี นรู้อย่ำงรวดเร็ว มีแรงจงู ใจในกำร เรียน ทำใหเ้ กิดประสิทธิภำพและประสทิ ธิผลสงู สดุ กับผ้เู รียน องค์ประกอบของการวจิ ยั และพฒั นาทางการศึกษา กำรวิจัยและพฒั นำทำงกำรศึกษำประกอบดว้ ยองค์ประกอบที่สำคัญ 4 องคป์ ระกอบ คือ 1. ผ้ใู ช้ผลกำรวจิ ยั และพัฒนำ ไดแ้ ก่ ผู้ทต่ี ้องกำรนำวทิ ยำกำรใหม่จำกกำรวิจัยและกำรพัฒนำไปใช้งำน ซึ่งผตู้ ้องกำรใชผ้ ลกำรวจิ ัยจะเปน็ ผู้กำหนดเปำ้ หมำยของกำรวิจยั แตล่ ะครัง้ 2. นักวิจัย ได้แก่ ผทู้ ำกำรวิจยั มหี น้ำที่วำงแผนกำรวจิ ัยให้ตอบสนองควำมต้องกำรของผู้ใช้ในกำรช่วย หำคำตอบเพ่ือกำรแก้ปญั หำแก่ผู้ทีจ่ ำนำไปใช้ 3. สถำบนั ทใ่ี หก้ ำรสนับสนุนทุนเพ่อื กำรวิจยั ไดแ้ ก่ หน่วยงำนรำชกำรและองค์กรธุรกจิ เอกชนตำ่ งๆ 4. สิ่งทเี่ กี่ยวขอ้ งกับกำรวจิ ยั และพัฒนำ ไดแ้ ก่ ปจั จัยสง่ เสริมต่ำงๆ เชน่ หอ้ งสมดุ และสำรสนเทศ สำหรบั เตรยี มข้อมูลในกำรวจิ ัย ประเภทของนวัตกรรมการศึกษา มที ง้ั ประเภทที่เปน็ นวตั กรรมแบบใหม่หมดและนวตั กรรมท่ีเปน็ แบบใหมบ่ ำงส่วนโดยแบ่งเปน็ 5 ประเภท ไดแ้ ก่
1. นวัตกรรมดำ้ นสือ่ สำรกำรสอน 2. นวัตกรรมด้ำนวธิ กี ำรจดั กำรเรียนกำรสอน 3. นวตั กรรมด้ำนหลักสตู ร 4. นวัตกรรมดำ้ นกำรวดั และกำรประเมนิ ผล 5. นวัตกรรมด้ำนกำรบริหำรจัดกำร ตัวอยา่ งนวัตกรรมดา้ นสื่อการสอน บทเรยี นคอมพวิ เตอร์ช่วยสอน หนงั สืออิเลคทรอนิคส์ บทเรยี นกำร์ตูน บทเรยี นCD/VCD หนงั สือเล่มเลก็ บทเรยี นเครือข่ำย ชุดเรียนร้ดู ้วยตนเอง ชดุ สือ่ ผสม หนงั สอื อำ่ นเพ่มิ เตมิ ชดุ กำรเรียนรู้ทำงไกล ชุดฝกึ อบรม ชดุ ครูชว่ ยสอน ชดุ เสรมิ ควำมรู้/ประสบกำรณ์ ชดุ เสรมิ สรำ้ งลักษณะนสิ ยั คู่มือกำรทำงำนกลมุ่ คมู่ ือกำรเรยี นรู้ คมู่ อื กำรพฒั นำตนเอง ชดุ สอนซอ่ มเสริม เกมส/์ บทละคร / บทเพลง ชดุ สอื่ VDO, CD, VCD แบบเรยี นเพิ่มเติม แบบฝึกควำมพรอ้ ม แบบฝึกทักษะตำ่ งๆ ฯลฯ ตวั อยา่ งนวัตกรรมดา้ นวิธกี ารจัดการเรียนการสอน กำรสอนแบบร่วมมือร่วมใจ (Cooperative Learning) กำรสอนแบบโครงสรำ้ งควำมรู้ (Graphic Organizer) กำรสอนแบบศนู ยก์ ำรเรยี น (Learning Center) กำรสอนแบบสบื เสำะหำควำมรู้ (Inquiry Based) กำรสอนแบบบรู ณำกำร (Integrate Teaching) กำรสอนด้วยรูปแบบซิปปำ (CIPPA Model) กำรสอนแบบโครงงำน (Project Method) กำรสอนดว้ ยรปู แบบกำรเรยี นเปน็ ค(ู่ Learning Cell) กำรสอนโดยใชก้ ิจกรรมในแหลง่ ชมุ ชน(Community Activities) กำรสอนแบบทดลอง (Laboratory Method) กำรสอนแบบโครงกำร (Project Method) กำรสอนแบบแบ่งกลุ่มทำงำน (Committee Work Method) กำรสอนแบบอภิปรำย (Discussion Group) กำรสอนแบบพัฒนำควำมสำมำรถเฉพำะ (Talents Unlimited) วธิ สี อนแบบหน่วย (Unit Teaching Method) วิธีสอนแบบบทบำทสมมุติ (Role Playing) วธิ สี อนแบบวิทยำศำสตร์ (Scientific Method) กำรเรยี นกำรสอนโดยกำรแกป้ ัญหำ (Problem Solving) กจิ กรรมท่ีใหน้ กั เรยี นลงมือปฏบิ ัติ (Hands–on Activity)
เรยี นจำกของเล่น (Learning from Toy) วธิ สี อนแบบอุปนัย (Inductive Method) วธิ สี อนแบบนิรนยั (Deductive Method) วิธกี ำรสอนโดยใชห้ มวก 6 ใบ วิธีกำรสอนโดยใชท้ ักษะกระบวน กำรทำงวทิ ยำศำสตร์ ฯลฯ ตัวอยา่ งนวตั กรรมด้านการวัดและการประเมนิ ผล กำรสร้ำงแบบวัดตำ่ ง กำรสรำ้ งเครื่องมือ กำรประยุกต์ใชโ้ ปรแกรมคอมพวิ เตอร์ ตวั อย่างนวัตกรรมทางดา้ นหลักสตู ร ยกตัวอย่างเชน่ หลักสูตรสำระเพ่ิมเติม หลกั สูตรทอ้ งถิน่ หลกั สตู รกำรฝึกอบรม หลกั สตู รกิจกรรมพัฒนำผู้เรียน กระบวนการสรา้ งนวัตกรรมทางการศึกษา กระบวนกำรสรำ้ งนวตั กรรมทำงกำรศึกษำมีข้นั ตอนที่สำคัญประกอบดว้ ย 1. กำหนดจุดประสงค์กำรเรียนรู้ 2. กำหนดกรอบแนวคดิ ของกระบวนกำรเรียนรู้ 3. สรำ้ งตน้ แบบนวัตกรรม 4. ทดลองใช้นวัตกรรม 5. เผยแพรน่ วัตกรรม ขัน้ ตอนการพฒั นานวตั กรรม มี 9 ขั้นตอน ดังน้ี ขนั้ ตอนที่ 1 สร้ำงกรอบแนวคิดในกำรพฒั นำ ขน้ั ตอนท่ี 2 วิเครำะห์หลกั สูตรกำรศึกษำขัน้ พนื้ ฐำน ข้ันตอนท่ี 3 กำหนดวตั ถุประสงคก์ ำรเรียนรู้ ขน้ั ตอนที่ 4 กำหนดคุณลกั ษณะนวตั กรรมกำรเรยี นรู้ ขั้นตอนที่ 5 สำรวจทรพั ยำกรกำรพฒั นำนวตั กรรมกำรเรียนรู้ ขั้นตอนท่ี 6 ออกแบบนวัตกรรมกำรเรียนรู้ ขั้นตอนที่ 7 วำงแผนและดำเนนิ กำรพฒั นำกำรเรยี นรู้ ขนั้ ตอนที่ 8 ตรวจสอบ ทดลองและพฒั นำนวัตกรรมกำรเรยี นรู้ ขั้นตอนท่ี 9 สรุปและประเมินผลกำรเรียนรู้ หลักการพฒั นานวัตกรรมทางการศกึ ษา (ทิศนำ แขมมณี. 2548 : 423) ไดใ้ หไ้ ว้พอสรุปไดด้ งั น้ี 1. กำรระบุปัญหำ (Problem) ควำมคิดในกำรพฒั นำนวตั กรรมน้นั สว่ นใหญจ่ ะเร่มิ จำกกำร มองเหน็ ปัญหำ และต้องกำรแก้ไขปัญหำนนั้ ใหป้ ระสบควำมสำเร็จอย่ำงมีคณุ ภำพ 2. กำรกำหนดจดุ ม่งุ หมำย (Objective) เมอ่ื กำหนดปัญหำแลว้ ก็กำหนดจุดมุ่งหมำยเพื่อ จดั ทำหรอื พฒั นำนวัตกรรมให้มีคณุ สมบตั ิ หรือลักษณะตรงตำมจุดมุง่ หมำยที่กำหนดไว้
3. กำรศึกษำข้อจำกดั ต่ำง ๆ (Constraints) ผู้พฒั นำนวัตกรรมทำงด้ำนกำร เรยี นกำรสอนต้องศึกษำขอ้ มูลของปญั หำและข้อจำกัดทจี่ ะใช้นวตั กรรมนน้ั เพื่อประโยชน์ในกำรนำไปใช้ไดจ้ รงิ 4. กำรประดษิ ฐ์คิดค้นนวัตกรรม (Innovation) ผจู้ ัดทำหรือพฒั นำนวตั กรรม จะต้องมคี วำมรู้ ประสบกำรณ์ ควำมรเิ รม่ิ สร้ำงสรรค์ ซึ่งอำจนำของเกำ่ มำปรบั ปรุง ดัดแปลง เพอ่ื ใช้ในกำร แก้ปญั หำและทำใหม้ ีประสิทธิภำพมำกข้นึ หรืออำจคิดค้นขึ้นมำใหมท่ ั้งหมด นวัตกรรมทำงกำรศึกษำมีรปู แบบ แตกต่ำงกนั ขึน้ อยู่กบั ลักษณะปัญหำหรือวตั ถุประสงค์ของนวัตกรรมน้ัน เชน่ อำจมีลักษณะเปน็ แนวคิด หลักกำร แนวทำง ระบบ รปู แบบ วธิ กี ำร กระบวนกำร เทคนคิ หรือสง่ิ ประดิษฐ์ และเทคโนโลยี เปน็ ตน้ 5. กำรทดลองใช้ (Experimentation) เมือ่ คิดค้นหรือประดษิ ฐน์ วตั กรรมทำง กำรศึกษำแล้ว ต้องทดลองนวตั กรรม ซง่ึ เปน็ สิง่ จำเปน็ เพ่ือเป็นกำรประเมินผลและปรบั ปรงุ แก้ไขผลกำรทดลอง จะทำให้ไดข้ ้อมลู นำมำใชใ้ นกำรปรับปรุงและพัฒนำนวตั กรรมตอ่ ไป ถำ้ หำกมีกำรทดลองใชน้ วตั กรรมหลำย คร้งั ก็ย่อมมีควำมมั่นใจในประสิทธภิ ำพของนวัตกรรมนนั้ 6. กำรเผยแพร่ (Dissemination) เมื่อม่นั ใจนวตั กรรมท่สี รำ้ งขน้ึ มปี ระสิทธิภำพ แล้วก็สำมำรถนำไปเผยแพร่ให้เปน็ ทีร่ ู้จัก ข้ันตอนการวจิ ัยและพฒั นาเพ่อื สรา้ งนวัตกรรมทางการศึกษา (ชัยยงค์ พรหมวงศ์. 2554) ขั้นตอนกำรวจิ ัยและพฒั นำเพ่ือสรำ้ งนวตั กรรมใหม่ มี 7 ขั้นตอน ไดแ้ ก่ (1) ศกึ ษำองค์ควำมรู้ เก่ยี วกบั นวัตกรรม (2) สำรวจควำมตอ้ งกำรเกีย่ วกับนวตั กรรม (3) ร่ำงกรอบแนวคิดเกย่ี วกับนวัตกรรม (4) สอบถำมควำมเห็นผ้เู ช่ยี วชำญ (5) ยกรำ่ งตน้ แบบชนิ้ งำนนวัตกรรม (6) ทดสอบประสิทธิภำพและหรอื รับรอง ต้นแบบช้ินงำนนวัตกรรม (7) ปรับปรงุ และเขยี นรำยงำนกำรวิจัย เงือ่ นไขการสร้างนวัตกรรม หลงั จำกกำหนดนวตั กรรมที่ประสงค์จะทำกำรวจิ ัยและพฒั นำแลว้ ผูว้ จิ ัยต้องสร้ำงนวตั กรรม ที่ครอบคลมุ สองขั้นตอนคอื กำรออกแบบและกำรพฒั นำ โดยมเี ง่อื นไขสำคัญ ประกำร คือ 1) ต้องมีกรอบในกำรพัฒนำนวัตกรรมโดยองิ ระบบ อำทิ CIPOF Model (C-Context, I-Input, P-Process, O-Output, and F-Feedback) โดยำกำรวเิ ครำะหส์ ถำนกำรณ์ กำหนดองค์ประกอบ ดำ้ นปจั จัย นำเขำ้ องคป์ ระกอบด้ำนกระบวนกำร องคป์ ระกอบด้ำนผลลัพธ์และองค์ประกอบดำ้ นผลยอ้ นกลบั หรอื ADDIE Model (A-Analysis, D-Design, D-Development, I-Implementation, E-Evaluation) ด้วยกำรวิเครำะห์ ออกแบบ พัฒนำ นำไปใช้ และประเมนิ 2) ตอ้ งทบทวนวรรณกรรมอย่ำงทะลุปรุโปร่งเพือ่ ให้แน่ใจว่ำ สิ่งท่ีผูว้ ิจัยจะทำกำรวิจัยและ พัฒนำนวตั กรรม หรือสง่ิ ใหม่นัน้ ตอ้ งเป็นนวตั กรรมท่ีไมไ่ ด้มีใครพัฒนำข้นึ มำก่อน เพื่อท่ีจะได้ไม่แอบอำ้ งว่ำ ตนเป็นคนแรกที่ พัฒนำนวัตกรรมนขี้ ้นึ หำกพบวำ่ เปน็ นวตั กรรมที่มีอยแู่ ลว้ และประสงค์จะปรบั เปลย่ี นให้ดขี ้ึน ตอ้ งดำเนนิ กำร ตำมขน้ั ตอนกำรปรับเปลี่ยนนวตั กรรม 3) ต้องดำเนนิ กำรพัฒนำนวตั กรรมตำมข้นั บทที่เหมำะสมเพ่อื ให้ได้นวตั กรรมท่ีมีคุณภำพ กำรวจิ ยั เชิงวจิ ัย และพัฒนำ ต้องยึดขนั้ ตอนน้ีในกำรวจิ ัยและทดสอบคณุ ภำพของนวัตกรรมด้วย แต่ตอ้ งขอ
ควำมเห็นชอบจำก เจำ้ ของนวัตกรรม ยกเวน้ นวัตกรรมนน้ั พ้นเขตลิขสทิ ธทิ์ ีก่ ฎหมำยกำหนด แตต่ อ้ งอ้ำงอิง เจำ้ ของนวัตกรรม ไม่แอบอ้ำงเป็นของตนเอง 4) เมื่อพฒั นำนวตั กรรมและผ่ำนกำรวจิ ยั และพฒั นำแลว้ ต้องทำกำรเผยแพร่นวตั กรรม หำก ตอ้ งกำรจด สทิ ธิบัตรต้องดำเนินกำรก่อนทจ่ี ะมกี ำรเผยแพร่ ขั้นตอนสรา้ งนวัตกรรมการศึกษาดว้ ยการวจิ ยั และพฒั นา ข้นั ตอนกำรวิจยั และพัฒนำ เพอ่ื สร้ำงนวัตกรรมประกอบด้วย 7 ขั้นตอน ไดแ้ ก่ ขั้นที่ 1 ศกึ ษำองค์ควำมรู้หรือเนื้อหำสำระเกี่ยวกบั ต้นแบบชิน้ งำน (Study the Body of Content) โดยวจิ ัย เอกสำรจำกกำรทบทวนวรรณกรรม กำรสัมภำษณผ์ ้รู /ู้ ผู้ทรงคุณวฒุ ิและกำรศึกษำดูงำน ข้ันที่ 2 ประเมนิ ควำมต้องกำรตน้ แบบช้นิ งำน (Assess needs for the innovative prototypes) เพือ่ หำ องคป์ ระกอบ (Components) ปจั จัยนำเข้ำ กระบวนกำร (Procedure) ข้นั ตอน (Logical Steps) และ รำยละเอยี ด (Specifications) ข้นั ที่ 3 พฒั นำกรอบแนวคิดต้นแบบชิน้ งำน (Develop Conceptual Framework) โดย เขียนกรอบแนวคิด ทีป่ ระกอบดว้ ยทฤษฎแี ละหลักกำร (Theories and Principles) องค์ประกอบ (Components) ของ นวตั กรรม กระบวนกำร (Process) กำรท ำงำนของนวตั กรรม ข้ันตอนตำมล ำดับ (Logical Steps) และ รำยละเอยี ด (Specification) ของนวัตกรรม ข้ันที่ 4 ถำมควำมเห็นผู้เชย่ี วชำญ (Seek Experts’ Opinions) เปน็ กำรน ำกรอบแนวคิด นวัตกรรมไปขอ ควำมเห็นของผเู้ ชย่ี วชำญ โดยใช้วธิ ีส่งแบบสอบสอบถำม (Via questionnaire) ใช้เทคนิกเดล ฟำย (Delphi Technique) หรือกลมุ่ ผ้เู ชีย่ วชำญ (Focus Group) ข้ันท่ี 5 ร่ำงตน้ แบบชิ้นงำน (Draft the Innovative Prototype) เป็นกำรพฒั นำตน้ แบบ ชน้ิ งำนของ นวตั กรรมตำมลำดบั ข้ันคือ กำรออกแบบชน้ิ งำน (Design and develop the Prototype) และ เขียน รำยละเอยี ดนวัตกรรม (Write the Details of the Prototype) ขั้นท่ี 6 รบั รองและทดสอบต้นแบบชิน้ งำน (Verify or Test the Prototype) เปน็ กำรนำ รำ่ งนวัตกรรมไป ทดลองใช้เพ่ือหำประสทิ ธภิ ำพตำม 2 ข้ันตอน คอื (1) กำรทดลองใชเ้ บอื้ งคน้ (Tryout) และ ทดลองใช้จริง (Trial Run) ในกรณีท่ีเปน็ นวัตกรรมขนำดใหญ่ทต่ี ้องใช้เวลำพัฒนำหรอื ลงทนุ สูง ก็อำจให้ ผ้ทู รงคุณวฒุ ิ 3-5 คน รบั รอง (Verification by Experts) หลงั จำกกำรทดลองใชห้ รือรับรองจำกผู้ทรงคุณวุฒิ แล้ว กต็ ้องเขยี น รำยงำนผลกำรทดสอบประสทิ ธิภำพของนวตั กรรม ขั้นที่ 7 ปรบั ปรงุ และเขยี นรำยงำน (Finalize the Prototype and Write Final Reports) เปน็ กำรเขยี น รำยงำนผลกำรวิจยั ใหเ้ ป็นไปตำมรปู แบบ (Stylebook) ขนำดและรูปแบบอกั ษร กลา่ วโดยสรุปขนั้ ตอนกำรพัฒนำนวัตกรรมคือ เรมื่ ต้นดว้ ยการสรา้ งหรอื การพฒั นา ซง่ึ หมำยถึง กำรยกร่ำงนวัตกรรมข้นึ มำใหม่ หรือกำรพัฒนำวัตกรรมท่ีมีอยแู่ ล้วใหด้ ีขน้ึ จำกนน้ั สู่ขนั้ ตอนการนานวัตกรรม ไปใช้ หมำยถึง กำรนำนวัตกรรมไปใชก้ บั กลุม่ เปำ้ หมำย เพ่ือรับรองผลวำ่ มีผลกำรใชอ้ ยใู่ นระดับดี โดยยืนยัน จำกผลกำรทดสอบ และในขั้นตอนสดุ ทา้ ยคือ การประเมินผลการใชน้ วตั กรรม หมำยถงึ กำรสอบถำมควำม คดิ เหน็ หรือควำมพึงพอใจท่มี ีตอ่ นวัตกรรมนั้นๆ วำ่ ดมี ปี ระโยชน์ มคี ุณคำ่ สำมำรถนำไปใชไ้ ด้เป็นอยำ่ งดี โดย ยืนยันจำกเครื่องมือกำรวดั และประเมินผลนวัตกรรมน้นั
รายงานการสรา้ งและพัฒนานวตั กรรมการเรยี นการสอน 1. ชอ่ื นวัตกรรมกำรเรียนกำรสอน 2. ช่อื ผู้สรำ้ ง/พัฒนำนวัตกรรมกำรเรยี นกำรสอน 3. แนวทำงกำรคิดค้นนวตั กรรมกำรเรียนกำรสอน 4. ประเภทของนวตั กรรมกำรเรียนกำรสอน 5. ควำมเป็นมำและควำมสำคัญของปัญหำทตี่ ้องสรำ้ ง/พัฒนำนวัตกรรมกำรเรยี นกำรสอน 6. วตั ถุประสงคข์ องกำรสร้ำง/พัฒนำนวตั กรรมกำรเรยี นกำรสอน 7. กลมุ่ เปำ้ หมำย/ประชำกร/กลุ่มตัวอยำ่ ง 8. หลกั กำร แนวคิด ทฤษฎที ่ใี ชใ้ นกำรสรำ้ ง/พัฒนำนวัตกรรมกำรเรยี นกำรสอน การเขียนรายงานการพฒั นานวตั กรรม โดยทว่ั ไปกำรเขยี นรำยงำนกำรพฒั นำนวัตกรรมเต็มรูปแบบ จะแบ่งเป็น สว่ นหนา้ ชอ่ื เรอื่ ง บทคดั ย่อ กติ ตกิ รรมประกำศ สำรบัญ สว่ นนา บทนำ เอกสำร/งำนวิจัย วธิ ีดำเนนิ กำร ผลกำรวเิ ครำะห์ สรปุ /อภิปรำย/เสนอแนะ สว่ นเนื้อหา รำยงำนกำรวจิ ัย บรรณำนกุ รม เน้อื หำเพิ่มเตมิ หลกั ฐำน ส่วนอ้างอิง บรรณำนุกรม เนือ้ หำเพ่ิมเติม หลกั ฐำน ประวัติ
จำกขัน้ ตอนกำรปฏบิ ตั งิ ำนดังกล่ำวขำ้ งต้นสรปุ เป็นแผนภมู ิแสดงขน้ั ตอนกำรปฏบิ ตั ิงำนวิจัยและพฒั นำ นวัตกรรมกำรเรียนกำรสอนได้ ดังนี้ กำรสำรวจและวเิ ครำะห์ปัญหำกำร การวิจยั เรียนกำรสอน กำรกำหนดและจัดทำนวตั กรรมกำรเรยี นกำรสอน กำรสร้ำงเคร่ืองมือประเมนิ คุณภำพและ ประสทิ ธภิ ำพ นวตั กรรมกำรเรียนกำรสอน กำรทดลองศึกษำคุณภำพและประสทิ ธิภำพ นวตั กรรมกำรเรยี นกำรสอน กำรนำนวตั กรรมกำรเรยี นกำรสอน พัฒนา ไปใช้แก้ปัญหำ/พัฒนำผ้เู รียน กำรเขยี นรำยงำนผลกำรพัฒนำ นวตั กรรมกำรเรียนกำรสอน กำรเผยแพร่ผลกำรพัฒนำนวัตกรรม
บรรณานกุ รม เกรกิ ศักดิส์ ภุ ำพ. “กำรพฒั นำรปู แบบกำรเรยี นกำรสอนท่ีเนน้ ควำมสำมำรถในกำรแก้โจทย์ปญั หำวิชำฟิสิกส์ (PECA) ของนักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษำตอนปลำย” (2556) มหำวิทยำลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ. ชัยวัฒน์ สุทธริ ัตน.์ “80 นวตั กรรมกำรจัดกำรเรยี นรูท้ ่ีเนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ” (2558). พมิ พ์ครัง้ ท่ี 8 (ฉบับปรบั ปรุง) : พี บำลำนซ์ดไี ซดแ์ อนปร้ินต้งิ . สมคิด พรมจุ้ยและสุพักตร์ พิบลู ย์. “กำรพฒั นำชดุ ฝึกอบรมทำงไกล เรอื่ งกำรวิจยั และพัฒนำงำนวิชำกำร” (2552). มหำวิทยำลยั สโุ ขทยั ธรรมำธิรำช. มนสชิ สทิ ธิสมบูรณ.์ “กำรพัฒนำนวัตกรรมกำรศึกษำ” คณะศึกษำศำสตร์ มหำวิทยำลัยนเรศวร. ชยั ยงค์ พรหมวงศ์. “กำรวจิ ยั และพฒั นำนวตั กรรมทำงกำรศกึ ษำ” (2556). [ออนไลน์]. เข้ำถึงได้ จำก: http://www.educ.su.ac.th/2013/images/stories/210655_01.pdf. สบื ค้น 20 ธันวำคม 2560 ที่มำ : 202.28.73.150/educupload/images/stories/210655_01.p
กิจกรรมที่ 1 นวัตกรรมกำรเรยี นกำรสอน ชวนคิด พำทำ นวตั กรรมยุค Thailand 4.0 กลมุ่ ท่ี ................................... ชือ่ -สกุล ....................................................... นวตั กรรมการเรยี นการสอน ยุคไทยแลนด์ 4.0 กิจกรรม ใหส้ มำชิกแต่ละกลุ่มแลกเปลี่ยนเรยี นรเู้ พื่อหำคำตอบในประเด็นคำถำม 3 คำถำม และนำเสนอในแบบผังกรำฟฟกิ Question 1 : นวตั กรรมคอื อะไร ? มีแบบใดบำ้ ง ? Question 2 : ครคู วรจัดกำรเรียนรูอ้ ยำ่ งไรในยคุ Thailand 4.0 ? Question 3 : นวัตกรรมกำรจัดกำรเรียนกำรสอนยคุ Thailand 4.0 ควรใช้ลกั ษณะแบบใด ?
นวตั กรรมกำรเรยี นกำรสอน กิจกรรมท่ี 2 กลุม่ ที่ ................................... ชวนคดิ พำทำ นวัตกรรมยุค Thailand 4.0 ช่อื -สกลุ ....................................................... ผลงานทางวิชาการครู กิจกรรม ให้สมำชิกแตล่ ะกลุ่มแลกเปลย่ี นเรยี นรู้เพื่อหำคำตอบในประเด็นคำถำม 3 คำถำม และนำเสนอในแบบผังกรำฟฟกิ Question 1 : ผลงำนทำงวชิ ำกำรคืออะไร ? Question 2 : ผลงำนทำงวิชำกำรมกี ี่ประเภท อะไรบ้ำง ? Question 3 : ผลงำนวชิ ำกำรแตล่ ะประเภทคอื อะไร มลี ักษณะอยำ่ งไร ?
นวัตกรรมกำรเรยี นกำรสอน กจิ กรรมที่ 3 กลุม่ ที่ ................................... ชวนคิด พำทำ นวัตกรรมยุค Thailand 4.0 ช่ือ-สกุล ....................................................... เรื่องเล่าเรา้ พลัง กิจกรรม ให้สมำชิกสรุปตัวอยำ่ งจำกกำรบรรยำย แลว้ ในกล่มุ แลกเปลีย่ นเรยี นรูเ้ พื่อหำคำตอบในประเด็น นวตั กรรมกำรเรยี นกำรสอนทปี่ ระสบผลสำเร็จ และนำไปสู่กำรมีและเล่อื นวิทยฐำนะท่สี ูงขน้ึ จด บันทึกกำรเรียนรู้และนำเสนอนวตั กรรมท่เี ป็น Best Practice ของกล่มุ ต่อท่ีประชมุ วชิ ำ : ผลงานท่ี 1 (เรอื่ งจากวทิ ยากร) ชัว่ โมง ชื่อนวตั กรรม : ระดับ : ระยะเวลำใช้นวัตกรรม : ห้อง จำนวน นร. คน กำรสรำ้ งและพฒั นำ : จำนวน นร. ผลจำกกำรใชน้ วตั กรรม : จุดเด่น K จุดท่ตี ้องพัฒนำ : วชิ ำ : ผลงานที่ 2 (เร่ืองจากสมาชิก) ชั่วโมง ชอื่ นวัตกรรม : ระดับ : ระยะเวลำใชน้ วัตกรรม : หอ้ ง กำรสร้ำงและพัฒนำ : จำนวน นร. คน จำนวน นร. ผลจำกกำรใชน้ วัตกรรม : จดุ เด่น : จดุ ทต่ี อ้ งพัฒนำ :
นวตั กรรมกำรเรียนกำรสอน กจิ กรรมท่ี 4 กล่มุ ท่ี ................................... ชวนคดิ พำทำ นวตั กรรมยุค Thailand 4.0 ชื่อ-สกุล ....................................................... นวัตกรรมส่ชู ัน้ เรียน กิจกรรม ใหส้ มำชิกแต่ละคนวเิ ครำะหส์ ภำพปัจจุบัน ปญั หำ สำเหตุ เลือกวธิ ีกำรแกป่ ัญหำเพอ่ื นำไปสกู่ ำร พัฒนำนวตั กรรมกำรจัดกำรเรียนรู้ และเสนอเค้ำโครงนวัตกรรมตำมหวั ข้อที่กำหนด และนำเสนอ แลกเปล่ียนเรียนรใู้ นกลมุ่ เพื่อคดั เลือกตัวแทนนำเสนอตอ่ ท่ีประชุมใหญ่ 1. ช่ือผพู้ ฒั นางาน …………………………………………………………………………………………………………………………… 2. กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ……………………………………………………………รำยวิชำ .………………………………………… 3. สภาพปัญหา สาเหตุ แนวทางแกไ้ ข สภำพปญั หำ สำเหตุ แนวทำงแก้ไข 4. นวตั กรรมการแกป้ ัญหา ............................................................................................................................. ... ........................................................................................................................... .............................................. 5. ประเภทของนวตั กรรม ............................................................................................................................. ..... 6. วตั ถปุ ระสงค/์ เปา้ หมาย ............................................................................................................................. .... .......................................................................................................................... ............................................... 7. หลกั การ/ทฤษฎใี นการสร้าง/พฒั นานวตั กรรม ............................................................................................ ............................................................................................................................. ............................................ ............................................................................................................................. ............................................ 8. ขัน้ ตอนการสรา้ ง/พฒั นานวัตกรรม ขน้ั ตอน กิจกรรม ชว่ งเวลำ ศกึ ษำองค์ควำมรู้ เกยี่ วกับนวัตกรรม : สำรวจควำมตอ้ งกำรเกี่ยวกบั นวัตกรรม : รำ่ งกรอบแนวคิดเกีย่ วกบั นวัตกรรม : สอบถำมควำมเหน็ ผ้เู ชยี่ วชำญ : ยกรำ่ งต้นแบบชน้ิ งำนนวตั กรรม : ทดสอบประสิทธิภำพ ปรบั ปรงุ และเขยี นรำยงำนกำรวจิ ัย 9. ประชากร/กลุ่มตวั อย่าง/เป้าหมาย ............................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................ ......................................................................................................................................................................... 10. เคร่อื งมอื ในการพัฒนาและการเกบ็ รวบรวมข้อมูล .................................................................................... ............................................................................................................................................................ .............
Search
Read the Text Version
- 1 - 13
Pages: