Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของศิลปะ

หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของศิลปะ

Description: หน่วยที่ 2

Search

Read the Text Version

หน่วยที่ 2 องคป์ ระกอบ ของศลิ ปะ

รายการสอน 01 02 03 ความเขา้ ใจใน จุดมุง่ หมาย รูปแบบของการ องคป์ ระกอบ ของ จดั องคป์ ระกอบ ของศลิ ปะ องคป์ ระกอบ ของศลิ ปะ ของศลิ ปะ

รายการสอน 04 05 06 ความสาคญั องคป์ ระกอบ หลกั การจดั ของ พนื้ ฐานในการ องคป์ ระกอบ สรา้ งสรรคง์ าน ของศลิ ปะ องคป์ ระกอบ ของศลิ ปะ ศลิ ปะ

ความเขา้ ใจใน องค์ประกอบของศิลปะ หมายถึง การนาส่วนประกอบท่ีจาเป็นใน องคป์ ระกอบของศลิ ปะ การสร้างสรรค์งานศิลปะและการออกแบบต่าง ๆ มารวมเข้าด้วยกันอย่าง ลงตัวและเกิดเป็นผลงานข้ึนซึ่งอาจจะใช้องค์ประกอบทุกชนิดหรือบางชนิด มาใช้ในการทางานกไ็ ด้ การนาองค์ประกอบของศิลปะมาใช้สร้างสรรค์งานขึ้นอยู่กับลักษณะ ของงาน จุดมุ่งหมายของงาน ทักษะ ประสบการณ์ ตลอดจนความพอใจ ของผู้สร้างสรรค์ผลงานน้ัน ๆ หลายคนเข้าใจว่าองค์ประกอบของศิลปะมี ความสาคัญต่อการเขียนภาพและการออกแบบหรืองานท่ีเก่ียวข้องกับการ วาดเขียน น่ันก็เป็นส่ิงท่ีถูกต้อง แต่องค์ประกอบของศิลปะมิได้มีประโยชน์ เฉพาะงานท่ีกล่าวน้ี องค์ประกอบของศิลปะมีความจาเป็นต่องานสาขา วิจิตรศิลป์เกือบทุกประเภท เช่น งานจิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม ภาพพิมพ์ นอกจากนี้ องค์ประกอบของศิลปะยังมี ความจาเป็นต่องานศิลปะประยุกต์และงานออกแบบสร้างสรรค์ต่าง ๆ เชน่ กนั

จุดมุ่งหมายของ 1. เพ่ือดึงดูดความสนใจ การสร้างงานศิลปะหรือการออกแบบ องคป์ ระกอบของศลิ ปะ ใด ๆ ศิลปินหรือนักออกแบบต้องมีจุดมุ่งหมายเพื่อความพอใจของตนเอง และผู้อ่ืนด้วย ฉะนั้น จึงต้องพยายามทาให้ผลงานท่ีออกมามีความน่าสนใจ ซึ่งตอ้ งใช้องคป์ ระกอบตา่ ง ๆ มาจดั เข้าด้วยกนั โดยใชห้ ลักเรื่องการเน้นหรอื ความเด่นเป็นสาคัญ งานที่ต้องการแสดงความเด่นหรือจุดสนใจอย่างมาก ไดแ้ ก่ ภาพโฆษณา ภาพโปสเตอร์ งานทศั นศิลป์ 2. เพื่อแสดงความมุ่งหมาย การนาองค์ประกอบมาจัดอย่าง เหมาะสมในงานทศั นศิลป์และงานศิลปะประยุกต์เพ่ือแสดงเร่อื งราวหรือสื่อ ความหมาย เกิดจากความต้องการของเจ้าของผลงานที่จะสื่อสารหรือแสดง ความคิดเห็นให้ผู้ดูได้รับรู้ ผู้ดูต้องมีความต้ังใจและใช้เวลามากพอท่ีจะ พิจารณาผลงาน จนรับรู้และเข้าใจผลงานนั้นได้ตรงตามความมุ่งหมายของ เจ้าของผลงานนน้ั

รูปแบบการจดั การจัดองค์ประกอบของศิลปะ เป็นหลักท่ีสาคัญสาหรับ องคป์ ระกอบของศลิ ปะ ผสู้ ร้างสรรค์และผ้ศู ึกษางานศิลปะ เน่ืองจากผลงานศิลปะใด ๆ ก็ตามล้วนมี จุดเด่นที่เน้นเป็นหลักใหญ่ ๆ อยู่ในตัว 2 ประการ คือ ทางด้านรูปทรง เกิด จากการนาองค์ประกอบตา่ ง ๆ ของศิลปะ ได้แก่ เส้น สี แสงและเงา รูปร่าง รูปทรง พื้นผิว ฯลฯ มาจัดเข้าด้วยกันเพ่ือให้เกิดความงามทางศิลปะ ทางด้านเรื่องราวหรือสาระของผลงานท่ีศิลปินผู้สร้างสรรค์ต้องการท่ีจะ แสดงออกให้ผู้ชมได้สัมผัส รับรู้ โดยอาศัยรูปลักษณะท่ีเกิดจากการจัด องค์ประกอบของศิลปะ หรืออาจกล่าวได้ว่า ศิลปินจะนาเสนอเน้ือหา เรื่องราวผ่านรูปลักษณะที่เกิดจากการรวมองค์ประกอบของศิลปะเข้า ด้วยกัน ถ้าองค์ประกอบท่ีจัดข้ึนไม่สัมพันธ์กับเนื้อหาเร่ืองราวท่ีนาเสนอ งานศิลปะนั้น ๆ ก็จะขาดความงามของเรื่องราวที่จะเสนอถึงเร่ืองทตี่ ้องการ ให้ผู้อ่ืนรับรู้ได้ตรงกับหัวข้อเรื่องหรือช่ือภาพน้ันไป ดังนั้น การจัด องค์ประกอบของศิลปะจึงให้ความสาคัญในการคิด ประยุกต์ ดัดแปลง เพื่อ สร้างสรรคง์ านศิลปะใหเ้ กิดความสวยงาม ดึงดดู ผู้ชม

ความสาคญั ของ องค์ประกอบของศิลปะ เป็นเร่ืองที่ผู้เรียนศิลปะทุกคนต้อง องคป์ ระกอบของศลิ ปะ เรียนรู้เป็นพ้ืนฐาน เพ่ือที่จะนาไปใช้ให้เกิดประสิทธิภาพในการ ออกแบบโครงสร้างหรือรูปร่างของภาพ แล้วนาไปประยุกต์ใช้ในงาน ออกแบบต่าง ๆ ได้ เช่น การจัดวางสิ่งของเพื่อตกแต่งบ้าน การจัด สานักงาน การจัดโต๊ะอาหาร จัดสวน การออกแบบ ปกรายงาน ตัวอักษร และการจัดบอร์ดกิจกรรมต่าง ๆ และสามารถนาไปใช้กับ การออกแบบอื่น ๆ ได้เป็นอย่างดี ซึ่งเหล่าน้ีต้องอาศัยหลัก องคป์ ระกอบของศิลปะทัง้ สน้ิ

องคป์ ระกอบพนื้ ฐาน 1. จุด (Point) คือ ส่วนประกอบที่เล็กท่ีสุด เป็นส่วนเริ่มต้นไปสู่ ในการสร้างสรรคง์ านศลิ ปะ ส่วนอื่น ๆ เช่น การนาจุดมาเรียงต่อกันตามตาแหน่งท่ีเหมาะสมและซ้า ๆ กัน จะทาให้มองเห็นเป็นเส้น รูปร่าง รูปทรง ลักษณะผิว และการออกแบบ ที่น่าต่ืนเต้นได้ จากจุดหนึ่งถึงจุดหน่ึงมีเส้นท่ีมองไม่เห็นด้วยตาแต่เห็นได้ ด้วยจินตนาการ เรียกว่า เส้นโครงสร้าง นอกจากจุดท่ีนามาจัดวางเพ่ือการ ออกแบบแล้ว ยังสามารถพบเห็นลักษณะการจัดวางจุดจากธรรมชาติท่ีอยู่ รอบ ๆ ตัวได้ เช่น ข้าวโพด รวงข้าว เมล็ดถ่ัว ก้อนหิน เปลือกหอย ใบไม้ ลายของสัตว์นานาชนิด ได้แก่ เสือ ไก่ นก สุนัข งู ม้าลาย และแมว สิ่งเหล่าน้ีธรรมชาติได้ออกแบบไว้อย่างสวยงาม มีระเบียบมีการซ้ากันอย่าง มีจังหวะ และมีอิทธิพลต่อความคิดของมนุษย์เป็นอย่างมาก เช่น การ ออกแบบลูกคิด ลูกบิดประตู การร้อยลูกปัด สร้อยคอ และเครื่องประดับ ต่าง ๆ สิง่ เหลา่ นี้ ลว้ นแลว้ แต่เกดิ มาจากจดุ ท้งั ส้ิน

ศิลปินจะใช้จุดในการเร่ิมต้นสร้างสรรค์งาน โดย อาจใช้จุดอย่างเดียว ในการสร้างสรรค์งาน หรืออาจใช้ ร่วมกับองค์ประกอบอื่น ๆ ในการสร้างสรรค์งานก็ได้ จุดสามารถทาให้เกิดค่าความอ่อน-แก่ได้ ถ้าจุดนั้นมี จานวนมาก-น้อย หรือมีความหนาแน่นแตกต่างกัน นอกจากน้ี การสร้างจุดให้เกิดค่าน้าหนักที่ไม่เท่ากัน ยัง สามารถทาให้เกิดความรู้สึกตื้น-ลึกหรือมีมิติได้ ในการ ออกแบบตกแต่งภายนอก นักออกแบบอาจใช้จุดแทน ส่วนท่ีเป็นกรวด หญ้า หรือส่วนประกอบของพุ่มไม้ท่ีมี ใบละเอยี ด ฯลฯ

2. เสน้ (Line) คือ รอ่ งรอยท่ีเกิดจากการเคล่ือนทขี่ องจดุ หรือถา้ นาจุดมาวางเรยี งต่อ ๆ กันไป ก็จะ เกิดเป็นเส้นข้ึน เส้นมีมิติเดียว คือ ความยาว ไม่มีความกว้าง ทาหน้าที่เป็นขอบเขตของที่ว่าง รูปร่าง รูปทรง น้าหนัก สี ตลอดจนกลุม่ รปู ทรงต่าง ๆ รวมทั้งเป็นแกนหรอื โครงสรา้ งของรูปร่างรูปทรง ลักษณะของเส้น เส้นตั้งหรือเส้นดิ่ง เส้นตั้งนอน เส้นเฉียง/ทแยงมุม เส้นหยัก/ซิกแซ็ก เส้นโค้งแบบคล่ืน เส้นโค้งแบบก้นหอย เส้นโค้งแบบวงแคบ เส้นประ

ความสาคัญของเส้น 01 02 03 ใช้ในการแบ่งที่ว่างออกเป็น กาหนดขอบเขตของท่ีว่าง คือ ก า ห น ด เ ส้ น ร อ บ น อ ก ข อ ง สว่ น ๆ ทาให้เกิดเปน็ รปู รา่ งขน้ึ มา รปู ทรง ทาให้เหน็ รปู ทรงชดั ข้นึ 04 05 ทาหน้าที่เน้นน้าหนักอ่อน-แก่ ให้ความรู้สึกด้วยการเป็นแกน ของแสงและเงา หรอื โครงสร้างของรูปและภาพ

3. รูปร่าง รูปทรง มวล (Shape, Form, Mass) 01 02 03 รปู รา่ ง รปู ทรง มวล รู ป ร่ า ง คื อ ก า ร น า เ ส้ น ม า รู ป ท ร ง คื อ ก า ร น า เ ส้ น ม า มวล คอื การรวมกลุ่มของรปู รา่ ง ประกอบกันให้เกิดความกว้าง ประกอบกันให้เกิดความกว้าง รูปทรงท่ีมีความกลมกลืนกัน และความยาว ไม่มีความหนา ความยาว และความหนาหรือ วตั ถทุ มี่ ีความหนาแนน่ มนี ้าหนัก หรอื ความลึก มีลักษณะ 2 มิติ ความลึก มีลกั ษณะ 3 มิติ

รูปร่างและรูปทรง แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ ❶ รูปทรงเรขาคณิต (Geometric Form) มีรูปร่างรูปทรงที่แน่นอน มาตรฐาน สามารถวัดหรือ คานวณได้ มีกฎเกณฑ์ เช่น รูปส่ีเหลี่ยม รูปวงกลม รูปวงรี รูปห้าเหล่ียม รูปหกเหลี่ยม พีระมิด รูปทรงเรขาคณิตเป็น โครงสร้างพ้ืนฐานของรูปทรงต่าง ๆ ดังน้ัน การสร้างสรรค์ รูปทรงอื่น ๆ ควรศกึ ษารูปทรง เรขาคณติ ใหเ้ ขา้ ใจถอ่ งแท้กอ่ น

❷ รปู ทรงธรรมชาติ (Nature Form) เป็นการเลียนแบบธรรมชาติ นารูปทรงที่มีอยู่ตาม ธรรมชาติรอบตัว เช่น ดอกไม้ ใบไม้ สัตว์ต่าง ๆ สัตว์น้า แมลง มนุษย์ มาใช้เป็นแม่แบบในการ ออกแบบและสรา้ งสรรค์โดยยังคงให้ความร้สู กึ และ รูปทรงท่ีเป็นธรรมชาติอยู่ ส่วนผลงานบางช้ินท่ี ล้อเลียนธรรมชาติโดยใช้รูปทรง เช่น ตุ๊กตาหมี การ์ตูน อวัยวะของร่างกาย ยังคงเป็นรูปทรงตาม ธรรมชาติให้เห็นอยู่ บางคร้ังได้มีการนาวัสดุที่มีอยู่ ตามธรรมชาติ เช่น เปลือกหอย กิ่งไม้ ขนนก ฯลฯ นามาออกแบบ ดัดแปลง สร้างสรรค์ผลงาน รปู ทรงจึงไม่ไดเ้ ปลีย่ นแปลงมากนกั

❸ รูปทรงอิสระ (Free Form) เป็น รูปแบบโครงสร้างท่ีไม่แน่นอน ให้ความรู้สึก เคล่ือนไหว เลื่อนไหล ให้ความอิสระ และได้ อารมณ์ความเคล่ือนไหวเป็นอย่างดี รูปทรง อิสระอาจเกิดจากรปู ทรงเรขาคณิตหรือรปู ทรง ธรรมชาติที่ถูกกร ะทา จนมีรูปลักษณะ เปลีย่ นไปจากเดิมจนไม่เหลือสภาพเดมิ

4. ลักษณะผิว (Texture) หมายถึง ลักษณะภายนอกของวัตถุต่าง ๆ ที่สามารถ จับต้องสัมผัสหรือมองเห็นแล้วเกิดความรู้สึก ได้ เช่น ผิวขรุขระของ คางคก ตุ๊กแก หรือ จระเข้ ให้ความรู้สึกขยะแขยง น่าเกลียด ไม่อยากจับต้อง หรือผิวที่มีเปลือกผิวปูดโปน แหลมคมของเม่น ปลาปักเป้าทะเล หรือต้นไม้ บางชนิด ให้ความรู้สึกน่ากลัว ไม่ปลอดภัย ในขณะท่ีผิวท่ีอ่อนนุ่มของขนลูกไก่ ขนนก หรือขนแกะ ให้ความรู้สึก นุ่มนวล น่าทะนุ ถนอม

5. สัดส่วน (Proportion) หมายถึง ความสัมพันธ์กันอย่าง เหมาะสมระหว่างขนาดขององค์ประกอบที่แตกต่างกันท้ังขนาดที่อยู่ ในรูปทรงเดียวกันหรือระหว่างรูปทรงและรวมถึงความสัมพันธ์ กลมกลืนระหว่างองค์ประกอบทั้งหลายด้วย ซ่ึงเป็นความพอเหมาะ พอดี ไม่มากไม่น้อยขององค์ประกอบทั้งหลายที่นามาจดั รวมกัน ความ เหมาะสมของสัดสว่ นอาจพิจารณาจากคุณลกั ษณะดังตอ่ ไปนี้ ❶ สัดส่วนที่เป็นมาตรฐาน จากรูปลักษณะตามธรรมชาติ ของคน สัตว์ พชื ซงึ่ ถอื วา่ สัดสว่ นตามธรรมชาติมีความงามท่เี หมาะสม ท่ีสุด หรือจากรูปลักษณะที่เป็นการสร้างสรรค์ของมนุษย์ เช่น Gold Section เป็นกฎในการสร้างสรรค์รูปทรงของกรีก ถือว่า “ส่วนเล็ก สัมพันธ์กับส่วนที่ใหญ่กว่าส่วนที่ใหญ่กว่าสัมพันธ์กับส่วนรวม” ทาให้ สง่ิ ต่าง ๆ ทส่ี รา้ งขน้ึ มสี ัดสว่ นท่ีสัมพนั ธก์ บั ทุกส่งิ อยา่ งลงตัว

❷ สัดส่วนจากความรู้สึก โดยที่ศิลปะน้ันไม่ได้ สร้างขึ้นเพื่อความงามของรูปทรงเพียงอย่างเดียว แต่ยังสร้าง ข้ึน เพื่อแสดงออกถึงเนื้อหา เรื่องราว ความรู้สึกด้วย สัดส่วน จะช่วยเน้นอารมณ์ ความรู้สึกให้เป็นไปตามเจตนารมณ์และ เรื่องราวท่ีศิลปินต้องการ ลักษณะเช่นน้ีทาให้งานศิลปะของ ชนชาติต่าง ๆ มีลักษณะแตกต่างกัน เน่ืองจากมีเร่ืองราว อารมณ์และความรู้สึกท่ีต้องการแสดงออกต่าง ๆ กันไป เช่น กรีก นิยมในความงามตามธรรมชาติเป็นอุดมคติ เน้นความ งาม ที่เกิดจากการประสานกลมกลืนของรูปทรงจึงแสดงถึง ความเหมือนจริงตามธรรมชาติ ส่วนศิลปะแอฟริกันดั้งเดิม เน้นท่ีความรู้สึกทางวิญญาณที่น่ากลัว ดังนั้น รูปลักษณะจึงมี สดั สว่ นท่ีผดิ แผกแตกตา่ งไปจากธรรมชาติทัว่ ไป

6. สี (Color) คือ ปรากฏการณท์ ่ีแสงส่อง กระทบวัตถุแล้วสะท้อนคล่ืนแสงบางส่วนเข้าตา เมื่อระบบประสาทตาประมวลผลจึงรับรู้วา่ วตั ถนุ ั้น มขี นาด รปู รา่ ง ลักษณะผิว และสีเป็นอย่างไร การ ที่มองเห็นวัตถุมีสีต่าง ๆ เกิดจากผิวของวัตถุมี คุณสมบัติในการดูดกลืนและสะท้อนคลื่นแสงได้ แตกต่างกัน เช่น กลีบดอกทานตะวันจะสะท้อน เฉพาะคล่ืนแสงที่ประสาทตาประมวลผลเป็นสี เหลืองเท่าน้ัน ส่วนผงถ่านไม่สะท้อนคลื่นแสง ในช่วงคล่ืนทต่ี ามองเห็นออกมาจงึ เป็นสดี า ฯลฯ

❶ ความเปน็ มาของสี ในสมัยเริ่มแรกมนุษย์รู้จักใช้สีเพียงไม่ก่ีสี สีเหล่านั้นได้มาจากพืช สัตว์ ดิน แร่ธาตุต่าง ๆ รวมถึงข้ีเถ้า เขม่า ควันไฟ เป็นสีที่พบท่ัวไปในธรรมชาติ นามาถู ทา ต่อมาเม่ือมีการย่างเนื้อสัตว์ ไขมัน น้ามันท่ีหยดจาก การย่างลงสู่ดินทาให้ดินมีสีสันน่าสนใจ สามารถนามาระบายลงบนวัตถุและติดแน่นทนนาน ดังน้ัน ไขมันน้ีจึง ได้ทาหน้าท่ีเป็นส่วนผสม (Binder) ซึ่งมีความสาคัญในฐานะเป็นสารชนิดหนึ่งท่ีเป็นส่วนประกอบของสี ทา หน้าที่เกาะติดผิวหน้าของวัสดุท่ีถูกนาไปทาหรือระบาย นอกจากไขมันแล้วยังได้นาไข่ขาว ข้ีผ้ึง น้ามันลินสีด กาวท่ที าจากยางไม้ เคซีน และสารพลาสตกิ พอลิเมอร์ มาใช้เป็นสว่ นผสม ทาใหเ้ กดิ สีชนิดตา่ ง ๆ ขึ้นมา ในสมัยต่อมาเมื่อมนุษย์มีวิวัฒนาการมากข้ึน เกิดคตินิยมในการรับรู้และช่ืนชมในความงามทาง สุนทรียศาสตร์ (Aesthetics) สีได้ถูกนามาใช้อย่างกว้างขวาง และวิจิตรพิสดารจากเดิมที่เคยใช้สีเพียงไม่ก่ีสี ซึ่งเป็นสีตามธรรมชาติ ได้มีการประดิษฐ์ คิดค้น และผลิตสีใหม่ ๆ ออกมาเป็นจานวนมาก ทาให้เกิดการ สรา้ งสรรคค์ วามงามอย่างไมม่ ขี ดี จากดั โดยมกี ารพฒั นามาเป็นระยะ ๆ อยา่ งต่อเนอื่ ง

❷ ความสาคญั ของสี ใช้ในการจาแนก ใชใ้ นการจดั ใชใ้ นการจัดกลมุ่ ใช้ในการสื่อ ใช้ในการ เปน็ สิ่งต่าง ๆ เพ่ือให้ องค์ประกอบของ พวก คณะ ด้วย ความหมาย สรา้ งสรรคง์ าน องค์ประกอบ สง่ิ ต่าง ๆ เพ่ือให้ การใชส้ ตี า่ ง ๆ เป็นสญั ลกั ษณ์ ศลิ ปะเพื่อให้เกดิ ในการมองเห็น เหน็ ชดั เจน เกิดความสวยงาม หรอื ใช้บอกเล่า ความสวยงาม สิ่งตา่ ง ๆ ของ กลมกลืน เช่น เชน่ คณะสี เรื่องราว สรา้ งบรรยากาศ การแตง่ กาย การ เครื่องแบบตา่ ง ๆ สมจรงิ และ มนษุ ย์ จัดตกแตง่ บ้าน 4 น่าสนใจ 6 123 5

❸ ประเภทของสี สีของปรากฏการณ์ทาง สีของเนื้อวัสดุ สีท่ีเกิดจากเนื้อสี ธรรมชาติ หมายถึง สีแท้ ๆ ของเน้ือวัสดุ เช่น สี หมายถึง สีท่ีเกิดจากกระบวนการ หมายถึง สีท่ีเกิดจากปรากฏการณ์ ดาของถ่าน สีชมพู ของทับทิม สีส้ม ผลิตสีในเชงิ อตุ สาหกรรมเพ่ือนามาใช้ ธ ร ร ม ช า ติ เ ช่ น สีรุ้ ง ท่ี เ กิ ดจ า ก ของไขแ่ ดง ฯลฯ ทา พ่น เขียน ระบาย มีให้เลือกใช้ แสงแดดส่องกระทบไอนา้ ในอากาศ หลายชนดิ เช่น สฝี นุ่ ฯลฯ

❹ วงสี วงสี แบง่ ออกเปน็ 3 ขั้น คอื สีข้ันที่ 1 (Primary Color) เรียกวา่ แมส่ ี เป็น สี พ้นื ฐาน มี 3 สี คือ สนี า้ เงนิ สีเหลือง สีแดง สีขั้นท่ี 2 (Secondary Color) เกิดจากการผสม กันของสีข้ันที่ 1 จานวน 2 สี สีละเท่า ๆ กัน ทาให้ได้สี ใหม่ 3 สี คอื สสี ม้ สีม่วง สีเขยี ว สีขั้นที่ 3 (Tertiary Color) เกิดจากการผสมกัน ของสีข้ันที่ 1 กับสีข้ันท่ี 2 ที่อยู่ใกล้กันในอัตราส่วน เท่ากัน ทาให้ได้สีใหม่อีก 6 สี คือ สีม่วงน้าเงิน สีเขียว น้าเงิน สีเขียวเหลือง สีส้มเหลือง สีส้มแดง และสีม่วง แดง

❺ ความรสู้ ึกเก่ยี วกับสีในเชงิ จติ วทิ ยา แดง ให้ความรู้สึกร้อน รุนแรง กระตุ้น ท้าทาย เขยี ว ให้ความรู้สึกสงบ เงียบ ร่มรื่น ร่มเย็น การ เคล่ือนไหว ตื่นเต้น เร้าใจ มีพลัง ความอุดม พักผ่อน การผ่อนคลาย ธรรมชาติ ความ สมบูรณ์ ม่งั ค่ัง ความรกั ความสาคัญ อนั ตราย ปลอดภยั ปกติ ความสขุ ความสขุ มุ เยอื กเย็น สม้ ให้ความรู้สึกร้อน ความอบอุ่น ความสดใส มี น้าเงนิ ให้ความรู้สึกสงบ สุขุม สุภาพ หนักแน่น เคร่ง ชีวิตชีวา วัยรุ่น ความคึกคะนอง การปลดปล่อย ขรึม เอาการเอางาน ละเอียด รอบคอบ สง่างาม ความเปร้ียว การระวงั มีศักด์ศิ รี สงู ศักด์ิ เป็นระเบยี บ ถอ่ มตน เหลือง ให้ความรู้สึกแจ่มใส ความสดใส ความร่าเริง มว่ ง ให้ความรู้สึกมีเสน่ห์ น่าติดตาม เร้นลับ ซ่อนเร้น ความเบิกบานสดชื่น ชีวิตใหม่ ความสดใหม่ มีอานาจ มีพลังแฝงอยู่ ความรัก ความเศร้า ความสุกสวา่ ง การแผก่ ระจาย อานาจบารมี ความผิดหวงั ความสงบ ความสูงศักด์ิ

ฟ้า ให้ความรู้สึกปลอดโปร่ง โล่ง กว้าง เบา โปร่งใส ชมพู ให้ความรู้สกึ อบอนุ่ ออ่ นโยน นุ่มนวล อ่อนหวาน สะอาด ปลอดภัย ความสว่าง ลมหายใจ ความ เปน็ อสิ ระ เสรีภาพ การชว่ ยเหลอื แบ่งปัน ความรัก เอาใจใส่ วัยรุ่น หนุ่มสาว ความน่ารัก ความสดใส ขาว ให้ความรู้สึกบริสุทธ์ิ สะอาด สดใส เบาบาง เทา ให้ความรู้สึกเศร้า อาลัย ท้อแท้ ความลึกลับ อ่อนโยน เปิดเผย การเกิด ความรัก ความหวัง ความหดหู่ ความชรา ความสงบ ความเงียบ ความจริง ความเมตตา ความศรัทธา ความดีงาม สภุ าพ สขุ ุม ถ่อมตน ดา ใหค้ วามรู้สึกมดื สกปรก ลึกลับ ความสิ้นหวงั จดุ ทอง ใหค้ วามรู้สกึ ความหรูหรา โออ่ า่ มีราคา สงู ค่า สิ่ง จบ ความตาย ความชัว่ ความลบั ทารุณ โหดรา้ ย สาคัญ ความเจริญรุ่งเรือง ความสุข ความมั่งคั่ง ความเศร้า หนกั แนน่ เขม้ แขง็ อดทน มีพลัง ความร่ารวย การแผ่กระจาย

❻ การใช้สใี นเชงิ สัญลกั ษณ์ สีแดง แสดงถึงความอบอุ่น ร้อนแรงเปรียบดังดวง อาทิตย์ นอกจากน้ี ยังแสดงถึงความมีชีวิตชีวา ความรัก ความ ปรารถนา เช่น ดอกกุหลาบแดงวันวาเลนไทน์ ในการจราจรสีแดง เป็นเครื่องหมาย ประเภทห้าม แสดงถึงส่ิงท่ีอันตราย เป็นสีท่ีต้อง ระวัง เป็นสีของเลือด ในสมัยโรมัน สีของราชวงศ์เป็นสีแดง แสดง ถงึ ความม่งั คง่ั อดุ มสมบูรณ์และอานาจ

สีเขียว แสดงถึงธรรมชาติสีเขียว ร่มเย็น มักใช้สื่อความหมายเกี่ยวกับการอนุรักษ์ธรรมชาติ เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม การเกษตร การเพาะปลูก การเกิดใหม่ ฤดูใบไม้ผลิ การงอกงาม ใน เคร่ืองหมายจราจร หมายถึง ความปลอดภัย ใน ขณะเดียวกันอาจหมายถึงอันตราย ยาพิษ เน่ืองจาก ยาพิษและสัตว์มีพิษก็มักจะมีสีเขียว เช่นกัน

สีเหลือง แสดงถึงความสดใส ความเบิก บาน โดยมักจะใช้ดอกไม้สีเหลืองในการไปเย่ียม ผู้ป่วย และแสดงความรุ่งเรือง ความม่ังค่ัง และ ฐานันดรศักดิ์ ในทางตะวันออกเป็นสีของกษัตริย์ จักรพรรดิของจีนใช้ฉลองพระองค์สีเหลือง ในทาง ศาสนาแสดงความเจิดจา้ ปญั ญา พทุ ธศาสนา และ ยังหมายถึง การเจ็บป่วย โรคระบาด ความริษยา ทรยศ หลอกลวง

สีน้าเงิน แสดงถึงความเป็นสุภาพบุรุษ มี ค ว า ม สุ ขุ ม ห นั ก แ น่ น แ ล ะ ยั ง ห ม า ย ถึ ง ความสูงศักดิ์ ในธงชาติไทย สีน้าเงิน หมายถึง พระมหากษัตริย์ ในศาสนาคริสต์เป็นสีประจาตัว แม่พระ โดยทั่วไปสีน้าเงินหมายถึงโลก เรียกว่า โล กสี น้า เงิน ( Blue Planet) เนื่องจากเป็น ดาวเคราะห์ท่ีมองเห็นจากอวกาศโดยเห็นเป็นสีน้า เงนิ สดใส เน่ืองจากมพี ื้นน้าทกี่ ว้างใหญ่

สีม่วง แสดงถึงพลัง ความมีอานาจ ในสมัย อียิปต์สีม่วงแดงเป็นสีของกษัตริย์ ต่อเน่ืองมาจนถึง สมัยโรมัน นอกจากน้ี สีม่วงแดงยังเป็นสีชุดของ พระสังฆราช สีม่วงเป็นสีท่ีมีพลังหรือมีพลังแอบแฝง อยู่ และเป็นสีแห่งความผูกพัน องค์การลูกเสือโลกใช้ สมี ่วงเป็นสัญลักษณ์ ส่วนสีม่วงอ่อนมักหมายถึง ความ เศร้า ความผดิ หวงั จากความรกั

สีฟ้า แสดงถึงความสว่าง ความปลอดโปร่ง เปรียบเหมือนท้องฟ้า เป็นอิสรเสรี เป็นสีของ องค์การสหประชาชาติ เป็นสีของความสะอาด ปลอดภัย สีของสานักงานคณะกรรมการอาหาร และยา (อย.) แสดงถึงการอนุรักษส์ ิ่งแวดล้อม การ ใช้พลังงานอย่างสะอาด แสดงถึงอิสรภาพที่ สามารถโบยบิน เป็นสีแห่งความคิดสรา้ งสรรค์และ จนิ ตนาการทไ่ี ม่มีขอบเขต

สีทอง มักใช้แสดงถึงคุณค่า ราคา ส่ิงของ หายาก ความสาคัญ ความสูงส่ง สูงศักด์ิ ความ ศรัทธาสูงสุดในศาสนาพุทธ หรือเป็นสีกายของ พระพุทธรูป ในงานจิตรกรรมเป็นสีกายของ พ ร ะ พุ ท ธ เ จ้ า พ ร ะ ม ห า ก ษั ต ริ ย์ ห รื อ เ ป็ น ส่วนประกอบของเครื่องทรง เจดีย์ต่าง ๆ มักเป็นสี ทองหรือขาว และเป็นเคร่ืองประกอบยศศักด์ิของ กษตั รยิ ์และขุนนาง

สีขาว แสดงถึงความสะอาด บริสุทธ์ิ เหมือนเด็กแรกเกิด แสดงถึงความว่างเปล่า ปราศจากกิเลส ตัณหา เป็นสีอาภรณ์ของผู้ทรงศีล ความเชื่อถือ ความดีงาม ความศรัทธา และ หมายถึง การเกิด โดยที่แสงสีขาวเป็นที่กาเนิดของ แสงสีต่าง ๆ เป็นความรักและความหวัง ความ ห่วงใยเอื้ออาทร และเสียสละของพ่อแม่ ความ อ่อนโยน จริงใจ บางกรณีอาจหมายถึงความ ออ่ นแอ ยอมแพ้

สีดา แสดงถึงความมืด ความลึกลับ สิ้นหวัง ความตาย เป็นที่สิ้นสุดของทุกสิ่ง โดยท่ีสีทุกสีเมื่ออยู่ในความ มืดจะเห็นเป็นสีดา นอกจากนี้ ยังหมายถึงความช่ัวร้าย ในคริสต์ศาสนา หมายถึง ซาตาน อาถรรพ์เวทมนตร์ มนตด์ า ไสยศาสตร์ ความชงิ ชัง ความโหดรา้ ย ทาลายล้าง ความลุ่มหลงมัวเมา และหมายถึงความอดทน กล้าหาญ เขม้ แข็ง และเสยี สละไดด้ ว้ ย สีชมพู แสดงถึงความอบอุ่น อ่อนโยน ความอ่อนหวาน นุ่มนวล ความน่ารัก แสดงถึง ความรักของมนุษย์ โดยเฉพาะร่นุ หนมุ่ สาว เป็นสีของความเอือ้ อาทร ปลอบประโลม เอาใจใสด่ ูแล ความปรารถนาดี และอาจหมายถึง ความเป็นมติ ร เป็นสขี องวัยรุน่ โดยเฉพาะผ้หู ญิง และนยิ มใช้กบั สงิ่ ของเครือ่ งใชข้ องเด็กวัยรุน่ เปน็ สว่ นใหญ่

จติ วทิ ยาแหง่ สกี ับการออกแบบแบรนด์

❼ ชนิดของสี สนี ำ้ สโี ปสเตอร ์ สชี อลก์ สฝี ่ ุน 01 02 03 04 ดนิ สอสี สเี ทยี นหรอื สี สอี ะครลิ กิ สนี ำ้ มนั เทยี นนำ้ มนั 05 07 08 06

❽ วรรณะสี วรรณะร้อน (Warm Tone) คือ กลุ่มสีที่ให้ ความรู้สึกร้อนแรง กระตุ้นประสาทตา เกิดความ กระปรีก้ ระเปรา่ และอบอุน่ มีสแี ดงเปน็ สหี ลกั สีร้อนใน วงสีประกอบด้วยสี 6 สี คือ สีเหลือง สีส้มเหลือง สีส้ม สีส้มแดง สีแดง และสมี ว่ งแดง วรรณะเย็น (Cool Tone) คือ กลุ่มสีท่ีให้ ความรู้สึกสงบ เย็นตา ความสดช่ืน ความคิดฝันและ เรียบร้อย มีสีน้า เงินเป็นสีหลัก สีเย็นในวงสี ประกอบด้วยสี 6 สี คือ สีม่วง สีม่วงน้าเงิน สีน้าเงิน สี เขยี วนา้ เงิน สเี ขียว และสีเขยี วเหลอื ง

หลักการจดั 1. ความสมดุล (Balance) หรือ ดุลยภาพ หมายถึง องคป์ ระกอบของศลิ ปะ น้าหนักที่เท่ากันขององค์ประกอบ ไม่เอนเอียงไปข้างใด ข้างหนึ่ง ในทางศิลปะยังรวมถึงความประสานกลมกลืน ความ พอเหมาะพอดีของส่วนต่าง ๆ ในรูปทรงหน่ึงหรืองานศิลปะ ช้ินหน่ึง การจัดวางองค์ประกอบต่าง ๆ ลงในงานศิลปกรรมน้ัน จะต้องคานึงถึงจุดศูนย์ถ่วงในธรรมชาติน้ัน ทุกสิ่งท่ีทรงตัวอยู่ ไดโ้ ดยไม่ลม้ เพราะมีนา้ หนกั เฉล่ยี เทา่ กันทุกดา้ น ฉะน้ัน ในงานศิลปะถ้ามองดูแล้วรู้สึกว่าบางส่วนหนัก ไป แน่นไปหรือเบาบางไปจะทาให้ภาพนั้นดูเอนเอียง และเกิด ความรู้สกึ ไม่สมดุล เป็นการบกพร่องทางความงาม ดลุ ยภาพใน งานศิลปะมี 2 ลกั ษณะ คอื

ดุลยภาพแบบสมมาตร (Symmetry Balance) หรือความสมดุลแบบซ้าย-ขวาเหมือนกัน คอื การวางรูปทัง้ สองข้างของแกนสมดลุ เป็นการสมดุล แบบธรรมชาติ ลักษณะแบบนี้ในทางศิลปะมีใช้น้อย ส่วนมากจะใช้ในลวดลายตกแต่งในงานสถาปัตยกรรม บางแบบ หรือในงานที่ต้องการดุลยภาพที่นิ่งและ มั่นคงจริง ๆ

ดุ ล ย ภ า พ แ บ บ อ ส ม ม า ต ร ( Asymmetry Balance) ห รื อ ค ว า ม ส ม ดุ ล แ บ บ ซ้ า ย - ข ว า ไม่เหมือนกัน มักเป็นการสมดุลท่ีเกิดจากการจัดใหม่ ของมนุษย์ ซ่ึงมีลักษณะที่ทางซ้ายและขวาจะไม่ เหมือนกัน ใช้องค์ประกอบท่ีไม่เหมือนกัน แต่มีความ สมดุลกัน อาจเป็นความสมดุลด้วยน้าหนักของ องค์ประกอบหรือสมดุลด้วยความรู้สึกก็ได้ การจัด องค์ประกอบให้เกิดความสมดุลแบบอสมมาตรอาจทา ได้โดยเล่ือนแกนสมดุลไปทางด้านที่มีน้าหนักมากกว่า หรือเลื่อนรูปท่ีมีน้าหนักมากกว่าเข้าหาแกน จะทาให้ เกิดความสมดุลขึ้นหรือใช้หน่วยท่ีมีขนาดเล็ก แต่มี รูปลักษณะที่น่าสนใจถ่วงดุลกับรูปลักษณะที่มีขนาด ใหญ่ แต่มีรปู แบบธรรมดา

2. จังหวะลีลา (Rhythm) หมายถงึ การ เคล่ือนไหวที่เกิดจากการซ้ากันขององค์ประกอบ เป็นการซ้าที่เป็นระเบียบ จากระเบียบธรรมดาท่ีมี ชว่ งห่างเท่า ๆ กัน มาเป็นระเบยี บท่ีสูงข้นึ ซับซ้อน ขึ้นจนถึงข้ันเกิดเป็นรูปลักษณะของศิลปะ โดยเกิด จากการซ้าของหน่วยหรือการสลับกันของหน่วย กับช่องไฟ หรือเกิดจากการเลื่อนไหลต่อเน่ืองกัน ของเส้น สี รปู ทรง หรอื นา้ หนัก

3. การเน้น (Emphasis) หมายถึง การทาให้เด่นเป็นพิเศษกว่าธรรมดา ในงานศิลปะจะต้องมีส่วนใดส่วนหน่ึง หรือจุดใดจุดหน่ึงท่ีมีความสาคัญกว่าส่วนอ่ืน ๆ เป็นประธานอยู่ ถ้าส่วนน้ัน ๆ อยู่ปะปนกับส่วนอื่น ๆ และมีลักษณะเหมือน กัน ก็อาจถูกกลืนหรือถูกส่วนอื่น ๆ ท่ีมีความสาคัญน้อยกว่าบดบังหรือแย่งความสาคัญ ความน่าสนใจไป งานท่ีไม่มีจุดสนใจ หรือประธาน จะทาให้ดูน่าเบ่ือ เหมือนกับลวดลายท่ีถูกจัดวางซ้ากันโดยปราศจากความหมายหรือเร่ืองราวท่ีน่าสนใจ ดังนั้น ส่วนน้ันจึงตอ้ งถูกเน้นให้เห็นเด่นชัดขึ้นมาเป็นพิเศษกว่าส่วนอื่น ๆ ซ่ึงจะทาให้ผลงานมคี วามงาม สมบูรณ์ลงตัว และน่าสนใจ มากข้นึ การเน้นจดุ สนใจสามารถทาได้ 3 วธิ ี คอื เน้นด้วยการใช้องค์ประกอบท่ีตัดกัน เน้นด้วยการอยู่โดดเดี่ยว เน้นด้วยการจัดวางตาแหน่ง

4. เอกภาพ (Unity) หมายถึง เอกภาพของการแสดงออก หมายถึง ความเป็นหนึ่งเดียวกันขององค์ประกอบ การแสดงออกที่มีจุดมุ่งหมายเดียว แน่นอน และ ของศิลปะ ท้ังด้านรูปลักษณะและด้าน มีความเรียบง่าย งานชิ้นเดียวจะแสดงออกหลาย เนื้อหาเรื่องราว เป็นการประสานหรือจัด ความคิดหลายอารมณ์ไม่ได้ จะทาให้สับสน ขาด ระเบียบของส่วนต่าง ๆ ให้เกิดความเป็น เอกภาพ และการแสดงออกด้วยลักษณะ หน่ึงเดียวเพื่อผลรวมอันไม่อาจแบ่งแยก เฉพาะตัวของศิลปินแต่ละคนก็สามารถทาให้เกิด ส่วนใดส่วนหน่ึงออกไป การสร้างงาน เอกภาพแก่ผลงานได้ ศิลปะ คือ การสร้างเอกภาพข้นึ จากความ สับสน ความยุ่งเหยิง เป็นการจัดระเบียบ เอกภาพของรูปทรง คือ การรวมตัวกัน และดุลยภาพให้แก่สิ่งที่ขัดแย้งกันเพ่ือให้ รวมตัวกันได้ โดยการเชื่อมโยงส่วนต่าง ๆ อย่างมีดุลยภาพและมีระเบียบขององค์ประกอบ ให้สัมพันธ์กัน เอกภาพของงานศิลปะ มี ทางศิลปะ เพื่อให้เกิดเป็นรูปทรงหน่ึงที่สามารถ 2 ประการ คือ แสดงความคิดเห็นหรืออารมณ์ของศิลปินออกมา ไดอ้ ย่างชัดเจน