Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทนมัสการมาตาปิตุคุณ และนมัสการอาจริยคุณ

บทนมัสการมาตาปิตุคุณ และนมัสการอาจริยคุณ

Published by sansook9, 2020-06-11 01:46:14

Description: บทนมัสการมาตาปิตุคุณ และนมัสการอาจริยคุณ

Search

Read the Text Version

บทนมสั การมาตาปตคุ ณุ และ บทนมสั การอาจรยิ คณุ

แนวคิดสาํ คัญ บทนมัสการมาตาปตุคุณ และบทนมัสการอาจริยคุณ เปนบทร้อยกรองขนาดสั น ทีมีเนื อหาแสดงคุณของบิดามารดาและครูอาจารย์ ใช้ภาษาทีไพเราะ สื อความได้ชัดเจน แต่งด้วย \"อินทรวิเชียรฉันท์ ๑๑\"

ผแู้ ต่ง คือ พ ร ะ ย า ศ รี สุ น ท ร โ ว ห า ร (น้อย อาจารยางกูร) กวีคนสาํ คัญในสมัยรัชกาลที ๕ ผู้ซงึ แต่ง \"แบบเรียนหลวง\" ซงึ ใช้เปนแบบเรียนภาษาไทย สาํ หรับโรงเรียนหลวงในช่วงสมัยนัน

บทเรยี นนีประกอบด้วย บทนมัสการมาตาปตุคุณ และ บทนมัสการอาจริยคุณ

รูปแบบคําประพันธ์ คือ \"อินทรวิเชียรฉันท์ ๑๑\" บทหนึ งมี ๔ วรรค วรรคหน้ า ๕ คํา วรรคหลัง ๖ คํา กาํ หนดตาํ แหน่ งคําครุ ( ั ) และคําลหุ ( ุ ) แน่ นอน และมีคํารับส่ งสั มผัสเพียงแห่งเดียว คือ ระหว่างคําสุดท้ายในวรรคที ๒ กับคําสุดท้ายในวรรคที ๓ ดังปรากฏ ในแผนผังนี ครุ ครุ ลหุ ครุ ครุ          ลหุ ลหุ ครุ ลหุ ครุ ครุ ครุ ครุ ลหุ ครุ ครุ              ลหุ ลหุ ครุ ลหุ ครุ ครุ

การอ่าน \"อินทรวิเชียรฉันท์ ๑๑\" ให้ไพเราะ ต้องแบ่งจังหวะการอ่าน เปน ๒-๓ / ๓-๓ ดังแผนผังนี

บทนมัสการมาตาปตุคุณ และบทนมัสการอาจริยคุณ เปนบทอาขยานหลักของนั กเรยี น วิธหี นึ งทีจะชว่ ยให้นั กเรยี นท่องบทอาขยานนี ได้ คือ การท่องโดยใช้ \"ทํานองสวดสรภัญญะ\" ซงึ เปนทํานองสําหรบั สวดคําประพันธท์ ีเปนคําฉันท์ นั กเรยี นคงจะรูจ้ ักบ้างแล้ว จากการสวดบทสรรเสรญิ พระพุทธคุณ ทีขึนต้นว่า “องค์ใดพระสั มพุทธ” การนํ าทํานองสรภัญญะมาอ่าน บท “นมัสการมาตาปตุคุณ” และ “นมัสการอาจรยิ คุณ” จะทําให้เกิดความไพเราะและชว่ ยให้จดจําเนื อหาของบทประพันธไ์ ด้ขึนใจ นํ าไปสู่ความดืมดาซาบซงึ กับความหมายอันกินใจของบทประพันธด์ ังกล่าว ทําให้สํานึ กในพระคุณของบิดามารดาและครูอาจารย์เปนอย่างยิง

บทนมัสการมาตาปตคุ ณุ ข้าขอนบชนกคุณ          ชนนีเปนเค้ามูล ผู้กอบนุกูลพูน                     ผดุงจวบเจริญวัย ฟูมฟกทะนุถนอม          บ บําราศนิราไกล แสนยากเท่าไรๆ            บ คิดยากลําบากกาย ตรากทนระคนทุกข์        ถนอมเลียง ฤ รู้วาย ปกปองซึงอันตราย       จนได้รอดเปนกายา เปรียบหนักชนกคุณ      ชนนีคือภูผา ใหญ่พืนพสุนธรา           ก็ บ เทียบ บ เทียมทัน เหลือทีจะแทนทด          จะสนองคุณานันต์ แท้บูชไนยอัน                     อุดมเลิศประเสริฐคุณ

บทนมสั การอาจรยิ คุณ อนึงข้าคํานับน้อม          ต่อพระครูผู้การุญ โอบเอือและเจือจุน        อนุสาสน์ทุกสิงสรรพ์ ยัง บ ทราบก็ได้ทราบ     ทังบุญบาปทุกสิงอัน ชีแจงและแบ่งปน                   ขยายอัตถ์ให้ชัดเจน จิตมากด้วยเมตตา         และกรุณา บ เอียงเอน เหมือนท่านมาแกล้งเกณฑ์     ให้ฉลาดและแหลมคม ขจัดเขลาบรรเทาโม       หะจิตมืดทีงุนงม กังขา ณ อารมณ์                   ก็สว่างกระจ่างใจ คุณส่วนนีควรนับ           ถือว่าเลิศ ณ แดนไตร ควรนึกและตรึกใน                 จิตน้อมนิยมชม

คุณค่า จากเรือง บทนมัสการมาตาปตุคุณ และบทนมัสการอาจริยคุณ สามารถแบ่งออกเปน คุณค่าด้านเนื อหา คุณค่าด้านวรรณศิ ลป คุณค่าด้านสั งคมและวัฒนธรรม

คุณค่าด้านเนื อหา เนือหาของบทนมสั การมาตาปตคุ ณุ และบทนมสั การอาจรยิ คณุ ทาํ ใหน้ ักเรยี นสํานึกในพระคณุ ของบดิ ามารดาและครูอาจารย์ นับเปนการใชบ้ ทประพนั ธเ์ ปนสือปลกู ฝงจรยิ ธรรมไดเ้ ปนอยา่ งดี บดิ ามารดาเปนผทู้ บี ตุ รควรเคารพกราบไหวม้ ากทสี ดุ เพราะเปนทงั ผใู้ หก้ ําเนิดและเลยี งดเู รามาตงั แตเ่ ลก็ จนเตบิ โต ตลอดระยะเวลานันทา่ นตอ้ งเผชญิ กบั ความทกุ ขย์ าก แตก่ ม็ ไิ ดท้ อดทงิ บตุ ร ใหค้ วามรกั และความเอาใจใส่บตุ รเปนอยา่ งดี บดิ ามารดาจงึ เปนบคุ คลใกลช้ ดิ บตุ รทสี ดุ บตุ รทดี จี งึ ควรสํานึกในพระคณุ ของทา่ น ควรเคารพยกยอ่ งและแสดงความกตญั ตู อ่ ทา่ น เรมิ จากการทําตวั เปนคนดี เชอื ฟงคําสังสอนของทา่ น และตงั ใจเรยี น

คุณค่าด้านเนื อหา ครูอาจารยเ์ ปนบคุ คลทนี ักเรยี นควรเคารพบชู าเชน่ กนั เพราะเปนผใู้ หค้ วามรู้ แกน่ ักเรยี น ทําใหเ้ ปนคนฉลาด นอกจากนียงั อบรมสังสอนใหศ้ ิษยเ์ ปนคนดี ซงึ เปนการใหค้ วามรูท้ งั ทางโลก และทางธรรม ศิษยท์ ดี จี งึ ควรสํานึกในพระคณุ ของครูอาจารย์ โดยตงั ใจศึกษาเลา่ เรยี นและเชอื ฟงครู การสํานึกในพระคณุ บดิ ามารดาและครูอาจารย์ แลว้ ปฏบิ ตั ติ นเปนคนดี เปนวธิ หี นึงทที ําให้ สังคมน่าอยู่ บทนมสั การมาตาปตคุ ณุ และบทนมสั การอาจรยิ คณุ จงึ นับเปนสือในการสอนจรยิ ธรรมแกน่ ักเรยี นไดเ้ ปนอยา่ งดี

บทนมัสการมาตาปตุคุณ และบทนมัสการอาจริยคุณ เปนตัวอย่างของการใช้บทประพันธ์เปนสื อในการสอนจริยธรรม โดยปลูกฝงให้บุตรธิดาสํ านึ กในพระคุณของบิดามารดา และปลูกฝงให้ลูกศิ ษย์สํ านึ กในบุญคุณของครูอาจารย์ นั บเปนการเริมต้นจากการเห็นคุณค่าของคนใกล้ตัวก่อน เมือถือปฏิบัติเปนนิ สั ยแล้วต่อไปก็จะเห็นคุณค่าของคนอืนๆ ด้วย ทําให้ เรารู ้จักเคารพและยกย่องบุคคลทีพึงเคารพ ตลอดจนรู้จักแสดงความกตัญ ูกตเวทีต่อผู้มีคุณต่อเรา

คุณค่าด้านวรรณศิ ลป ตวั อยา่ งคุณค่าดา้ นวรรณศิ ลปทปี รากฏใน บทนมสั การมาตาปตคุ ุณ และบทนมสั การอาจรยิ คุณ เชน่ การลําดับความได้ชัดเจน การเล่นเสียงสัมผัส (สัมผัสพยัญชนะ สัมผัสสระ) เล่นเสี ยงเบา-หนั ก การสรรคํา เล่นคําซ้อน เล่นความหมายของคําทีมีความหมายตรงกันข้าม เปนตน้

คุณค่าด้านวรรณศิ ลป การลาํ ดบั ความไดช้ ัดเจน เกรินนํ า \"บทนมัสการมาตาปตุคุณ\" เนื อหา จาํ นวน ๕ บท มีการลาํ ดับความชัดเจน ดังนี ปรากฏในบทที ๑ กลา่ ววา่ ขอไหวค้ ณุ ของบดิ ามารดาผเู้ ลยี งดบู ตุ รตงั แตเ่ ลก็ จนโต ปรากฏในบทที ๒, ๓ และ ๔ แสดงรายละเอยี ดวา่ บดิ ามารดาเลยี งดบู ตุ ร ดว้ ยความรกั และเอาใจใส่ แมจ้ ะยากลาํ บากเพยี งใดกต็ าม ในบทที ๔ มกี ารใชค้ วามเปรยี บเพอื เน้นพระคณุ ของบดิ ามารดาวา่ กวา้ งใหญ่เหมอื นภผู า สรุ ป ปรากฏในบทที ๕ เปนการกลา่ วถงึ พระคณุ ของบดิ ามารดา ซงึ บตุ รควรบชู า

คุณค่าด้านวรรณศิ ลป การลาํ ดบั ความได้ชัดเจน เกรินนํ า \"บทนมัสการอาจริยคุณ\" เนื อหา จาํ นวน ๕ บท มีการลาํ ดับความชัดเจน ดังนี ปรากฏในบทที ๑ กลา่ ววา่ ขอน้อมไหวค้ รูอาจารยผ์ มู้ พี ระคณุ ซงึ สังสอนและใหค้ วามรูศ้ ิษยท์ กุ ประการ ปรากฏในบทที ๒, ๓ และ ๔ แสดงรายละเอยี ดถงึ หน้าทขี องครูอาจารย์ ซงึ อบรมสังสอนศิษยท์ งั ทางโลก และทางธรรม ทงั ยงั แสดงถงึ จติ ของครูทปี ระกอบดว้ ยความเมตตาและความ กรุณา สรุ ป ปรากฏในบทที ๕ เน้นวา่ ครูอาจารยม์ พี ระคณุ ยงิ นักศิษยจ์ งึ ควรบชู าและ สํานึกในพระคณุ

คุณค่าด้านวรรณศิ ลป การเลน่ สัมผสั สั มผัสพยัญชนะ สั มผัสสระ สั มผัสพยัญชนะ คือ การใช้คําทีมีเสี ยงพยัญชนะเดียวกันนํามาสั มผัสกันเพือให้เกิดความไพเราะ เช่น \"ข้าขอนบชนกคุณ\" เล่นเสี ยงพยัญชนะ ได้แก่ คําว่า \"ข้า\" \"ขอ\" และ \"คุณ\" และ คําว่า \"นบ\" กับ \"ชนก\"

คุณค่าด้านวรรณศิ ลป การเลน่ สัมผสั สั มผัสพยัญชนะ สั มผัสสระ สั มผัสพยัญชนะ คือ การใช้คําทีมีเสี ยงพยัญชนะเดียวกันนํามาสั มผัสกันเพือให้เกิดความไพเราะ เช่น \"อนุสาสน์ ทุกสิ งสรรพ์\" เล่นเสี ยงพยัญชนะ ได้แก่ คําว่า \"(อนุ)สาสน์ \" \"สิ ง\" และ \"สรรพ์\"

คุณค่าด้านวรรณศิ ลป การเลน่ สัมผสั สั มผัสพยัญชนะ สั มผัสสระ สั มผัสสระ คือ การใช้คําทีมีสระเหมือนกันนํามาสั มผัสกันเพือให้เกิดความไพเราะ เช่น \"ตรากทนระคนทุกข์\" เล่นสั มผัสเสี ยงสระ ได้แก่ คําว่า \"ทน\" กับ \"(ระ)คน\"

คุณค่าด้านวรรณศิ ลป การเลน่ สัมผสั สั มผัสพยัญชนะ สั มผัสสระ สั มผัสสระ คือ การใช้คําทีมีสระเหมือนกันนํามาสั มผัสกันเพือให้เกิดความไพเราะ เช่น \"ต่อพระครู ผู้การุ ณ\" เล่นสั มผัสเสี ยงสระ ได้แก่ คําว่า \"ครู \" กับ \"ผู้\"

คุณค่าด้านวรรณศิ ลป การเลน่ เสี ยงเบา-หนั ก การเล่นเสี ยงเบา-หนั ก เช่น \"ฟูมฟกทะนุถนอม\" คําว่า “ทะนุถนอม” มีการเล่นเสียงเบา-หนั ก-เบา-หนั ก ทาํ ให้เกิดความไพเราะของเสียงทีมีนาหนั กต่างกัน และมีดุลยภาพของเสียง

คุณค่าด้านวรรณศิ ลป การสรรคํา ผู้ประพันธ์เลือกใช้คําทีไพเราะทังเสี ยงและความหมายได้อย่างเหมาะสม โดยเปนคําทีง่าย สื อความหมายชัดเจน ทาํ ให้ผู้อ่านเห็นภาพแจ่มชัด ตัวอย่างเช่น ตรากทนระคนทุกข์ เปนคําทีทาํ ให้เห็นว่าพ่อแม่ต้องตรากตราํ และอดทนทุกสิ งทุกอย่าง เพือเลียงดูลูกให้เติบโต ถนอมเลียง แสดงถึงการเลียงดูลูกอย่างประคับประคองให้ดี เลียงลูกด้วยความรักและความปรารถนาดี ขจัดเขลา คํานี แสดงให้เห็นหน้ าทีของครู ว่าต้องการทาํ ให้ศิ ษย์ฉลาด ปราศจากความไม่รู้ เท่าทันในสิ งต่าง ๆ

คุณค่าด้านวรรณศิ ลป การเลน่ คําซ้อน “บ เทียบ บ เทียม” คําว่า “เทียบเทียม” นํ ามาแยกเปน ๒ คําแล้วเล่นคําโดยใชว้ ่า “บ เทียบ บ เทียม” การนํ าคําซอ้ นมาเล่นคําในลักษณะนี นอกจากจะก่อให้เกิดความคมคาย ในด้านความหมายแล้ว ยังทาํ ให้เกิดความไพเราะ ของเสียงเบา-หนั ก-เบา-หนั ก อันเปนการเล่นกับนาหนั กของเสียงคําอีกด้วย การเลน่ ความของคํา มีการเล่นความของคําทีมีความหมายตรงข้ามกัน เชน่ บ ทราบ - ทราบ บุญ - บาป

คุณค่าด้านสั งคม และวัฒนธรรม วรรณกรรมเรืองนี สะท้อนให้เห็นสภาพสั งคมและวัฒนธรรมไทย โดยเฉพาะค่านิ ยมในเรือง ความกตัญ ูกตเวทีของสั งคมไทย เห็นได้จากเนื อหาทีกล่าวถึงพระคุณของพ่อแม่และครูอาจารย์ ผู้ซึงมีบุญคุณแก่เราเปนอย่างยิง ดังนั นเราจึง “ควรนึ กและตรึกใน จิตน้ อมน้ อยมชม”




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook