48 ผลการประเมิน แผนจัดการเรียนรู้ เรื่อง กฎหมายอาญาความผิดเกยี่ วกบั ทรัพยส์ นิ ท่ี รายการ x̅ SD. ความ หมาย 1. แผนการจดั การเรียนรู้ ครอบคลมุ เน้อื หาสาระ นา่ สนใจ 4.67 0.58 ดมี าก 2. มาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละตวั ชีว้ ดั มีความเชอื่ มโยงกันอยา่ งเหมาะสม 4.67 0.58 ดีมาก 3. ความครบถว้ นของสาระการเรียนรู้กบั ตวั ชว้ี ดั 5.00 0.00 ดมี าก 4. กจิ กรรมการเรียนรู้ การแสดงบทบาทสมมติ มคี วามเหมาะสมกับ 5.00 0.00 ดีมาก เรื่องกฎหมายอาญาความผดิ เกี่ยวกับทรัพย์สิน และมีความสอดคลอ้ ง กบั หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 4.1 บทบาทสมมติ สามารถทาใหน้ กั เรยี นเข้าใจ เรื่อง 5.00 0.00 ดมี าก กฎหมายอาญาความผิดเกี่ยวกับทรพั ยส์ ิน มากขนึ้ 4.2 บทบาทสมมติ เป็นกิจกรรมท่เี น้นใหผ้ เู้ รยี นมสี ว่ นรว่ มใน 5.00 0.00 ดีมาก การเรยี นและเนน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคัญ 4.3 บทบาทสมมติ สามารถทาให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ 5.00 0.00 ดีมาก กระบวนการและคุณลกั ษณะครบตามตวั ชี้วัด และเนน้ สมรรถนะ สาคญั ทีห่ ลกั สูตรแกนกลางฯกาหนด 5. ความเหมาะสมของสือ่ PowerPoint ในการนาไปเป็นส่ือการเรยี น 4.67 0.58 ดมี าก การสอน เพ่ือสร้างความรคู้ วามเขา้ ใจในเนื้อหา รวมถึงการปฏิบัติ เร่อื ง กฎหมายอาญาความผดิ เก่ียวกบั ทรัพยส์ นิ 6. ความเหมาะสมของจานวนชั่วโมง 4.67 0.58 ดมี าก 7. ความเหมาะสมของวิธีการวัด และประเมนิ ผลการเรียนรู้ 4.67 0.58 ดีมาก 8. หนว่ ยการเรยี นรสู้ ามารถนาไปจดั การเรยี นร้ใู หก้ ับผเู้ รียนได้จรงิ 4.33 0.58 ดี เกณฑ์การประเมนิ คา่ เฉลย่ี 4.50 – 5.00 หมายถึง มคี ณุ ภาพระดับดีมาก คา่ เฉลยี่ 3.50 – 4.49 หมายถึง มีคณุ ภาพระดบั ดี คา่ เฉลย่ี 2.50 – 3.49 หมายถึง มคี ุณภาพระดับปานกลาง คา่ เฉล่ยี 1.50 – 2.49 หมายถึง มีคณุ ภาพระดับพอใช้ ค่าเฉลย่ี 1.00 – 1.49 หมายถึง มคี ณุ ภาพระดบั ควรปรับปรุง จากตาราง ผลการประเมนิ คุณภาพชุดการเรียนรู้ เร่ือง กฎหมายอาญาความผิดเก่ยี วกบั ทรพั ยส์ นิ ของนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 4/1 โดยผเู้ ชีย่ วชาญประเมนิ ในภาพรวมได้คะแนน Rating scale = 4.79 อยู่ในเกณฑ์คุณภาพระดบั ดีมาก
49 ค่าดัชนคี วามสอดคล้องระหวา่ งข้อคาถามกบั จดุ ประสงค์ (IOC) ของแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น เรือ่ ง กฎหมายอาญาความผิดเกี่ยวกับทรพั ย์สิน ของนักเรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4/1 ระดับความคิดเหน็ สอด ไม่ จุดประสงค์ ขอ้ สอบ เฉลย คล้อ ไม่ สอด คา่ แน่ใจ คล้อง IOC 1. เพอ่ื ใหน้ ักเรียน 1) ข้อใดกลา่ วถูกต้องทส่ี ุดทวี่ ่า ง (0) (-1) 1.00 ตระหนักและ “กฎหมายใชไ้ ด้เสมอไป” (+1) สามารถบอก ก. กฎหมายบังคับใช้ได้ทุกสถานท่ีเทา่ ข3 - - ความสาคญั ของ กฎหมายได้ เทยี มกัน ข. กฎหมายใช้บังคบั ไดจ้ นกว่าจะยกเลิก ค. กฎหมายใช้ไดต้ ลอดกาลเปลย่ี นไม่ได้ ง. กฎหมายตอ้ งประกาศเป็นทางการ 2) ขอ้ ใดเปน็ ปัจจยั สาคญั ตอ่ การบังคบั ใช้ ข 3 - - 1.00 กฎหมายได้อยา่ งมีประสิทธิภาพมาก ค 3 - - 1.00 ท่ีสุด ก. มบี ุคคลท่ีมคี วามสามารถ ข. ความรว่ มมือในการปฏบิ ัติของ ประชาชน ค. มเี จา้ หน้าทป่ี ฏบิ ตั งิ านอยา่ งพอเพียง ง. มเี ครอ่ื งมือท่ีทันสมยั ในการปฏบิ ัตงิ าน 3) ขอ้ ใดคือส่ิงสาคญั ที่สุด ทีป่ ระชาชน ต้องรกู้ ฎหมาย ก. ป้องกันไม่ใหผ้ ู้อนื่ ละเมดิ สทิ ธิ ข. ป้องกันไม่ใหผ้ ู้อื่นเอารัดเอาเปรียบ ค. ไดร้ ู้สทิ ธขิ องตนเองและผู้อื่น ง. ไดร้ ู้หนา้ ท่ขี องตนเอง
50 ระดบั ความคิดเหน็ สอด ไม่ ไม่ จุดประสงค์ ข้อสอบ เฉลย คลอ้ แนใ่ จ สอด คา่ IOC ง (0) คลอ้ ง 1.00 (+1) (-1) ง3 - - 1.00 4) นายดาขับรถฝ่าไฟแดง 1.00 ชนรถจักรยานยนต์ มผี ู้บาดเจ็บ ถกู ตารวจจบั ดาเนนิ คดี นกั เรียนคิดว่าสงิ่ ท่ี เกดิ กบั นายดา เปน็ ผลจากข้อใดถูกต้อง ท่ีสุด ก. ความรีบร้อน ข. กฎแหง่ กรรม ค. ขาดความรบั ผดิ ชอบ ง. ไม่ปฏิบัตติ ามกฎหมาย 2. เพือ่ ให้นักเรียน 5) จากข่าวกรณนี ักเรยี นเผารถครูฝา่ ย ค3 - - ข3 - - สามารถวเิ คราะห์ ปกครอง จัดเป็นความผิดเก่ยี วกบั และบอกพฤติกรรม ทรพั ย์สนิ ประเภทใด ทม่ี คี วามผดิ เกี่ยวกับ ก. ชงิ ทรัพย์ กฎหมายอาญา ข. กรรโชกทรัพย์ ความผิดเก่ียวกับ ค. ทาใหเ้ สียทรพั ย์ ทรพั ย์ได้ ง. รดี เอาทรัพย์ 6) การครอบครองทรัพย์ของผอู้ นื่ แล้ว เบียดบังทรพั ย์น้นั มาเปน็ ของตน มี ความผิดข้อหาใด ก. รดี เอาทรัพย์ ข. ยักยอกทรพั ย์ ค. ฉ้อโกงทรัพย์ ง. กรรโชกทรัพย์ 7) ข้อใดเป็นความผดิ ที่ยอมความได้ ข 3 - - 1.00 ก. ลักทรพั ย์ ข. ฉ้อโกง ค. วิ่งราวทรัพย์ ง. ฉ้อโกงประชาชน
51 ระดับความคดิ เหน็ คา่ สอด ไม่ ไมส่ อด IOC จดุ ประสงค์ ขอ้ สอบ เฉลย คลอ้ ง แนใ่ จ คลอ้ ง 8) นายเอกข่มขนู่ ายโท ให้นายโทมอบ (+1) (0) (-1) ทรพั ยส์ ินใหแ้ กต่ น จัดเปน็ ความผดิ ทาง ค 3 - - 1.00 อาญาเกยี่ วกับทรัพย์สินประเภทใด ก. รีดเอาทรัพย์ ข. ยักยอกทรัพย์ ค. กรรโชกทรัพย์ ง. ชิงทรพั ย์ซงึ่ หนา้ 9) แดงใชป้ ืนยงิ ดาเพื่อชงิ ทรัพย์ ดาจึงยิง ง 3 - - 1.00 สวนกลับ แดงถงึ แก่ความตาย จากการ กระทาดังกล่าวดามีความผิดหรือไม่ ก. ดาไมต่ ้องรบั โทษ เพราะทาด้วยความ จาเปน็ ข. ดาไมม่ ีความผดิ เพราะกระทาด้วย ความจาเป็น ค. ดาไมต่ ้องรบั โทษ เพราะเป็นการ ปอ้ งกันโดยชอบ ง. ดาไมม่ คี วามผดิ เพราะเปน็ การ ปอ้ งกนั โดยชอบ 10) นาย ก. ซอ้ื สลากกาชาดและถูก ก 3 - - 1.00 รางวลั ที่ 1 ไดร้ ถจักรยานยนต์ นาย ข. เห็นดงั นนั้ ตรงเข้าไปแย่งสลากกาชาด ฉบบั ดังกลา่ วไปจากมือนาย ก. แลว้ นาไปขอรบั รถจักรยานยนตท์ ่ีถูกรางวลั นาย ข. มคี วามผิดฐานใด ก. วงิ่ ราวทรพั ย์ ข. ชงิ ทรพั ย์ ค. ปล้นทรัพย์ ง. ลกั ทรัพย์
52 ระดับความคิดเหน็ คา่ สอด ไม่ ไม่สอด IOC จดุ ประสงค์ ข้อสอบ เฉลย คล้อง แน่ใจ คลอ้ ง 1.00 11) นายแดง หยบิ ร่มสีแดงของนายเอก (+1) (0) (-1) 1.00 ไปโดยเข้าใจวา่ เปน็ ร่มของตวั เอง นาย แดงผดิ ฐานใดหรือไม่ ก3 - - 1.00 ก. ไมผ่ ดิ เพราะไม่มเี จตนา ข. ผดิ ลกั ทรพั ย์ ข3 - - ค. ผดิ ฐานประมาท ง. ไมม่ ขี ้อใดถกู ง3 - - 12) นายดาและนายขาวซ้อนมอเตอร์ไซค์ ไปดว้ ยกัน นายเขียวต้องการยงิ นายดา เพราะคิดว่านายดาลกั ทรพั ย์ไป จึงยิงไป แตก่ ลบั ถูกนายขาวตาย ดังนี้ การกระทา ของนายเขียวเป็นความผดิ ฐานใด ก. ฆา่ คนตายโดยประมาท ข. ฆ่าคนตายโดยเจตนาเลง็ เห็นผล ค. ฆ่าคนตายโดยเจตนาประสงคต์ ่อผล ง. ฆา่ คนตายโดยไม่เจตนา 13) นายแดงลักทรัพย์บา้ นนายดา พอดี สนุ ัขเหา่ นายแดงจึงกระโดดข้ามรัว้ โดย ไม่ไดน้ าทรัพย์สนิ อะไรออกมาเลย ตารวจ ตามจบั นายแดงมคี วามผิดขอ้ หาใด ก. ลกั ทรพั ย์ ข. ปล้นทรัพย์ ค. ทาให้เสยี ทรัพย์ ง. บุกรุก
53 ระดับความคดิ เห็น ค่า สอด ไม่ ไมส่ อด IOC จดุ ประสงค์ ข้อสอบ เฉลย คล้อง แน่ใจ คลอ้ ง 1.00 (+1) (0) (-1) 1.00 1.00 14) นายแดงลักทรัพยบ์ ้านนายดา พอดี ค 3 - - 1.00 สุนัขเหา่ นายแดงจึงกระโดดข้ามรัว้ โดย ไม่ไดน้ าทรัพย์สนิ อะไรออกมาเลย ตารวจ ตามจับนายแดงมคี วามผิดข้อหาใด ก. ลักทรพั ย์ ข. ปลน้ ทรพั ย์ ค. บกุ รกุ ง. ไม่มีความผิด 15) ถา้ รถยนตข์ องนักเรียนถูกขโมย ส่ิง ก 3 - - แรกท่ีนกั เรียนควรปฏิบัติคอื ข้อใด ก. แจง้ ความกับตารวจ ข. ปรึกษาทนายความ ค. ตามจับขโมยด้วยตนเอง ง. จ้างนกั สืบค้นหา 16) การลักทรัพยโ์ ดยร่วมกนั ชิงทรพั ย์ ค 3 - - ต้ังแต่ 3 คนขนึ้ ไปพร้อมอาวุธ จัดเปน็ ความผิดเกยี่ วกับทรัพย์สินประเภทใด ก. ลกั ทรัพย์ ข. ชงิ ทรัพย์ ค. ปลน้ ทรพั ย์ ง. รีดเอาทรัพย์ 17) การขู่เอาทรัพย์ของผูอ้ น่ื โดยจะ ค3 - - เปิดเผยความลับ จัดเป็นความผดิ เกี่ยวกบั ทรพั ย์สนิ ประเภทใด ก. ฉอ้ โกงทรัพย์ ข. กรรโชกทรัพย์ ค. รดี เอาทรพั ย์ ง. ยกั ยอกทรัพย์
54 ระดับความคิดเห็น ค่า สอด ไม่ ไม่สอด IOC จุดประสงค์ ขอ้ สอบ เฉลย คลอ้ ง แนใ่ จ คล้อง 1.00 3. เพ่ือให้นักเรยี น บอกบทลงโทษใน (+1) (0) (-1) กฎหมายอาญา ความผิดเกี่ยวกบั 18) ข้อใดคือลกั ษณะสาคญั ของความผดิ ข 3 - - ทรพั ย์ได้ ลหุโทษ ก. ยอมความไม่ได้ ข. ความผดิ ทม่ี ีโทษจาคกุ ไมเ่ กิน 1 เดอื น หรอื ปรบั ไมเ่ กนิ 1,000 บาท หรือ ทง้ั จา ทั้งปรับ ค. พยายามกระทาความผดิ ลหโุ ทษ ก็ ตอ้ งรบั โทษตามกฎหมาย ง. ผ้สู นับสนุนความผิดลหุโทษ ตอ้ งรบั โทษ 2 ใน 3 ของอตั ราโทษที่กฎหมาย กาหนด 19) ข้อใดถูกต้องในการเรยี งอัตราโทษ ก 3 - - 1.00 ตามประมวลกฎหมายอาญาจากสูงสดุ ไป ก 3 - - 1.00 เบาสุด ก. จาคกุ ปรับ รบิ ทรัพยส์ ิน ข. กักขัง รบิ ทรัพย์สิน ปรับ ค. ริบทรพั ย์สนิ กักขงั ปรบั ง. ปรบั ริบทรพั ยส์ ิน กกั ขัง 20) ตามประมวลกฎหมายอาญา ข้อใด คือโทษเบาสุด ก. รบิ ทรพั ย์ ข. กกั ขัง ค. ปรับ ง. จาคุก สรปุ ระดับความเหน็ จากผเู้ ช่ียวชาญท้งั 3 ท่าน อยใู่ นช่องสอดคลอ้ งระหว่างคาถามกบั วัตถปุ ระสงค์ ซึง่ สามารถคิดเป็นคา่ เฉลีย่ IOC มคี ่าเฉลี่ยอยู่ที่ 1.00
55 ภาคผนวก ข - แผนการจัดการเรยี นรกู้ ารแสดงบทบาทสมมติ เรื่อง กฎหมายอาญาความผดิ เกี่ยวกับทรัพยส์ ิน - แบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรยี น เรอ่ื ง กฎหมายอาญาความผดิ เกย่ี วกบั ทรพั ยส์ นิ
56 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 1 หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 5 กฎหมายอาญา กฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ เร่ือง กฎหมายอาญา ความผดิ เก่ยี วกับทรพั ยส์ นิ ช่ือรายวิชา สังคมศกึ ษา (ส 31101) กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และ วฒั นธรรม ชั้น มธั ยมศึกษาปที ี่ 4/6 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2562 เวลา 1 ชวั่ โมง ครูผู้สอน นายธนวรรธน์ พาสศรี 1. สาระสาคัญ กฎหมายอาญา คอื กฎหมายท่ีรวมเอาลกั ษณะความผดิ ตา่ งๆ และกาหนดบทลงโทษมาบญั ญัติข้ึน โดยมีจุดประสงค์ที่จะรักษาความสงบเรียบร้อยภายในสังคม การกระทาท่ีมีผลกระทบกระเทือนต่อสังคม หรือคนส่วนใหญข่ องประเทศถือว่าเป็นความผดิ ทางอาญา ผู้กระทาผดิ ทางอาญาแลว้ ตอ้ งถูกลงโทษ 2. มาตรฐานการเรียนรูช้ ว่ งชั้น มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงามและ ธารงรักษาประเพณแี ละวฒั นธรรมไทย ดารงชวี ิตอยรู่ ว่ มกนั ในสังคมไทยและสังคมโลกอยา่ งสนั ติสขุ 3. ตวั ชี้วดั ตวั ชีว้ ัดชน้ั ปี ม 4-6/1 วเิ คราะห์และปฏบิ ัติตนตามกฎหมายท่ีเกย่ี วข้องกับตนเอง ครอบครวั ชุมชน ประเทศชาติ และสงั คมโลก 4. ผลการเรียนรู้ มีความรู้ ความเข้าใจ เกย่ี วกับกฎหมายอาญา และตระหนักถงึ โทษในการกระทาความผิด จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ด้านความรู้ 1. อธิบายความหมาย และความสาคัญของกฎหมายอาญาความผิดเก่ยี วกบั ทรัพยส์ นิ ได้ 2. มีความรทู้ ถ่ี ูกตอ้ งเก่ียวกับเรื่องกฎหมายอาญาความผดิ เกี่ยวกบั ทรัพย์สิน 3. สามารถวิเคราะหส์ ถานการณ์ และจาแนกประเภทการกระทาความผิดทางกฎหมายอาญา ความผดิ เกย่ี วกบั ทรพั ย์สนิ ได้ ด้านทกั ษะ / กระบวนการ 1. นกั เรยี นมีทักษะทางการเรียน เช่น ทักษะการฟัง การสังเกต การปฏิบตั ิ 2. มที กั ษะการคิด เชน่ ความคิดรวบยอด การวิเคราะห์ 3. มีทักษะการสบื คน้ ข้อมลู ทางสอื่ อิเล็กทรอนิกส์
57 ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคุณลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ 1. มีวนิ ัย 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 3. มงุ่ มนั่ ในการทางาน 4. มีจิตสาธารณะ 5. สาระการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนนิ ชวี ติ ประกอบด้วย ระบบการเมอื งการปกครองในสังคม ปัจจุบันการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ลักษณะและความสาคัญ การเป็นพลเมืองดี ความแตกต่างและความหลากหลายทางวัฒนธรรม ค่านิยม ความเชื่อ ปลูกฝังค่านิยม ดา้ นประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ สิทธิ หนา้ ท่ี เสรีภาพการดาเนนิ ชีวติ อย่างสันติสุข ในสงั คมไทยและสังคมโลก 6. กจิ กรรมการเรียนรู้ ขน้ั สรา้ งความสนใจ/นาเขา้ สบู่ ทเรยี น 1. ครูช้ีแจงจุดประสงค์ในการเรียน เรื่องกฎหมายอาญาความผิดเก่ียวกับทรัพย์สิน พร้อมท้ัง สอบถามความรู้เบ้ืองต้นเก่ียวกับกฎหมายอาญาความผิดเก่ียวกับทรัพย์สิน ยกตัวอย่างสถานการณ์ข่าว ปัจจุบัน เช่น ข่าวชิงทรัพย์ไอโฟนจนเป็นเหตุให้ผู้ถูกกระทาถึงแก่ชีวิต,เหตุการณ์นักเรียนลักลอบเผา รถจักรยานยนต์คุณครูฝ่ายปกครอง ซ่ึงเป็นการกระทาท่ีเข้าข่ายความผิดทางอาญาความผิดเกี่ยวกับ ทรัพย์สิน โดยให้นักเรยี นตัวแทนออกมาจาลองสถานการณ์ พรอ้ มรว่ มกนั แสดงความคดิ เห็น 2. ครูแจกใบความรทู้ ี่ 4 เรือ่ งกฎหมายอาญา พรอ้ มช้ีแจงขอบเขตและความสาคัญของเน้ือหาที่จะ สอน ข้นั การสอน 1. ครูเปิดโปรแกรม Microsoft PowerPoint เร่ืองกฎหมายอาญา พร้อมอภิปรายให้นักเรียนได้ เรียนรู้ เก่ียวกับความหมายของกฎหมายอาญา ประเภทของกฎหมายอาญา ลักษณะการกระทาความผิด กฎหมายอาญาความผิดเกี่ยวกับทรัพย์สิน ผ่านการฟัง พูด อ่าน และเขียน จากโปรแกรม Microsoft PowerPoint 2. ครอู ธบิ ายโทษของกฎหมายอาญา 5 สถาน ไดแ้ ก่ ประหารชีวิต จาคกุ กกั ขัง ปรับ รบิ ทรัพยส์ ิน โดยจะเนน้ ในเรื่องผลกระทบต่อตนเองและคนรอบข้าง เมอ่ื ไดก้ ระทาความผิดไปแล้ว เพือ่ ใหน้ กั เรยี นได้คิด วเิ คราะห์และตระหนักถงึ โทษอาญา ในทางกฎหมาย ขนั้ อธบิ ายและลงข้อสรุป 1. ครูมอบหมายภาระงาน ให้นักเรียนแบ่งเป็น 5 กล่มุ กล่มุ ละ 7-8 คน (นารายชือ่ สมาชกิ ในกลุ่ม มาส่งในวันถัดไป) เตรียมตัวศึกษาเร่ือง การกระทาความผิดต่อทรัพย์สินในทางกฎหมายอาญาพร้อม บทลงโทษ โดยในคาบเรียนถัดไป จะให้นักเรียนออกมานาเสนอผลงานการแสดงบทบาทสมมติหน้าช้ัน เรียน โดยมีหวั ขอ้ ในการนาเสนอดงั น้ี 1.1 การลักทรัพย์ 1.2 การว่งิ ราวทรพั ย์ 1.3 การชิงทรพั ย์ 1.4 การปลน้ ทรพั ย์
58 1.5 การบกุ รุก 2. ครูชี้แจงเกณฑ์การให้คะแนน และวิธีการปฏิบัติ โดยในการแสดงบทบาทสมมติ จะให้นักเรียน ได้จาลองสถานการณ์เหตุการณ์การกระทาความผิดเกี่ยวกับชี วิตและทรัพย์สินในทางกฎหมาย อา ญา ความผิดเกยี่ วกบั ทรัพยส์ ินพร้อมบทลงโทษในทางกฎหมายโดยให้บันทึกเปน็ ไฟล์วิดีโอ 3. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามข้อสงสัย พร้อมให้หัวหน้าห้องนาส่ือการสอนจากโปรแกรม Microsoft PowerPoint เร่ืองกฎหมายอาญาความผิดเก่ียวกับทรัพย์สิน ไปเผยแพร่ให้เพ่ือนๆในแต่ละ กลมุ่ ได้ศกึ ษาทบทวนเพม่ิ เตมิ 7. ส่ือ และแหล่งเรียนรู้ - โปรแกรม Microsoft PowerPoint เรอ่ื งกฎหมายอาญาความผดิ เก่ียวกับทรพั ยส์ ิน - ใบความร้ทู ่ี 4 เร่ืองกฎหมายอาญา 8. ภาระงาน การนาเสนอผลงานการแสดงบทบาทสมมติ เก่ยี วกบั ชวี ิตและทรัพย์สนิ ในทางกฎหมายอาญา พร้อมบทลงโทษ ในคาบเรียนถัดไป 9. การวดั และการประเมนิ ผล 9.1 เครือ่ งมือท่ีใชใ้ นการวัดและประเมนิ ผล - แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องกฎหมายอาญา (ใช้วธิ ีการสอบนอกเวลา ให้เฉพาะกลมุ่ เปา้ หมายได้ ทา จานวน 6 คน) 9.2 เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน - การมีส่วนรว่ มในช้ันเรยี น
59 10. บนั ทกึ ผลหลงั การสอน ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................ ............................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... .................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................. ......... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ลงชื่อ……...…………….…..…..……… ผูส้ อน (นายธนวรรธน์ พาสศรี) ตาแหน่ง ครูผ้ชู ่วย ลงชื่อ .................................................... (นายปฏิญญะ สงั สะนา) หัวหน้ากลุม่ สาระการเรียนร้สู ังคม ศึกษาฯ
60 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2 หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 5 กฎหมายอาญา กฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ เร่ือง การนาเสนอผลงานการแสดงบทบาทสมมตกิ ฎหมายอาญา ความผิดเกย่ี วกับทรัพยส์ ิน ชือ่ รายวิชา สังคมศกึ ษา (ส 31101) กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ช้ัน มธั ยมศึกษาปที ี่ 4/6 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2562 เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นายธนวรรธน์ พาสศรี 1. สาระสาคญั กฎหมายอาญา คือ กฎหมายทร่ี วมเอาลักษณะความผิดต่างๆ และกาหนดบทลงโทษมาบญั ญัติข้ึน โดยมีจุดประสงค์ท่ีจะรักษาความสงบเรียบร้อยภายในสังคม การกระทาที่มีผลกระทบกระเทือนต่อสังคม หรอื คนส่วนใหญข่ องประเทศถือว่าเปน็ ความผิดทางอาญา ผ้กู ระทาผิดทางอาญาแล้ว ตอ้ งถกู ลงโทษ 2. มาตรฐานการเรียนรูช้ ว่ งชั้น มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าท่ีของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงามและ ธารงรกั ษาประเพณแี ละวัฒนธรรมไทย ดารงชวี ติ อยู่ร่วมกนั ในสังคมไทยและสงั คมโลกอย่างสนั ติสุข 3. ตวั ชี้วดั ตวั ช้ีวดั ช้นั ปี ม 4-6/1 วิเคราะห์และปฏบิ ตั ิตนตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน ประเทศชาติ และสังคมโลก 4. ผลการเรยี นรู้ มีความรู้ ความเขา้ ใจ เก่ียวกับกฎหมายอาญาความผดิ เกย่ี วกับทรพั ย์ และตระหนกั ถึงโทษในการ กระทา ความผิด จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ 1. อธบิ ายความหมาย และความสาคญั ของกฎหมายอาญาความผดิ เกยี่ วกับทรัพย์สนิ ได้ 2. มคี วามรู้ที่ถูกตอ้ งเกีย่ วกับเรอ่ื งกฎหมายอาญาความผดิ เกี่ยวกับทรพั ย์สนิ 3. สามารถวิเคราะห์สถานการณ์ และจาแนกประเภทการกระทาความผดิ ทางกฎหมายอาญา ความผดิ เกย่ี วกบั ทรัพย์สนิ ได้ ดา้ นทักษะ / กระบวนการ 1. นักเรยี นมีทักษะทางการเรียน เช่น ทักษะการฟัง การสังเกต การปฏิบตั ิ 2. มีทักษะการคิด เชน่ ความคดิ รวบยอด การวิเคราะห์ 3. มีทกั ษะการสืบค้นข้อมูลทางส่อื อิเล็กทรอนกิ ส์
61 ด้านคุณธรรม จริยธรรม และคณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์ 1. มวี นิ ัย 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มงุ่ มน่ั ในการทางาน 4. มีจติ สาธารณะ 5. สาระการเรยี นรู้ หน้าทีพ่ ลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนนิ ชวี ติ ประกอบด้วย ระบบการเมอื งการปกครองใน สังคมปัจจุบนั การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ ลกั ษณะและ ความสาคญั การเปน็ พลเมืองดี ความแตกต่างและความหลากหลายทางวฒั นธรรม คา่ นิยม ความเชื่อ ปลกู ฝงั ค่านิยมด้านประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมขุ สิทธิ หนา้ ท่ี เสรภี าพการดาเนิน ชีวิตอยา่ งสันตสิ ุขในสังคมไทยและสงั คมโลก 6. กจิ กรรมการเรียนรู้ ข้นั สรา้ งความสนใจ/นาเข้าสู่บทเรยี น 1. ครพู ูดคุยกบั นักเรยี นเกี่ยวกบั ความพรอ้ ม ทงั้ ในด้านเน้อื หา ด้านการนาเสนอผลงาน 2. ครูชแี้ จงการออกมานาเสนอผลงานของนักเรียน โดยใหน้ ักเรยี นออกมาอธบิ ายบทบาทหนา้ ที่ ในการทางาน แสดงท่าประจากลมุ่ แสดงบทบาทสมมตปิ ระกอบเรื่องราวระหว่างการนาเสนอไฟลว์ ิดีโอ ข้นั การสอน 1. ให้นักเรยี นดาเนินกิจกรรมการนาเสนอการแสดงบทบาทสมมติ โดยใช้วิธีการจบั ฉลาก 2. เมื่อกลุ่มที่ 1 แสดงจบแลว้ ใหก้ ลมุ่ ที่ 2 ทาการวจิ ารณ์ กลุม่ ที่ 1 เม่อื กลมุ่ ที่ 2 แสดงจบ ให้กลุม่ ที่ 1 วจิ ารณ์ กลุ่มท่ี 2 เช่นเดยี วกนั ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป 1. ครชู ้แี จง ขอ้ ดี ข้อเสีย ในแต่ละกล่มุ ใหน้ กั เรียนได้ทราบ 2. ครูอธิบายความสาคัญของการแสดงบทบาทสมมติ พร้อมสรุปเน้ือหาร่วมกับนักเรียนในเรื่อง กฎหมายอาญาเกย่ี วกับการกระทาความผดิ ต่อชวี ิตและทรัพยส์ ิน 7. ส่ือ และแหลง่ เรียนรู้ - วดิ โี อการแสดงบทบาทสมมติ เรอื่ งการลักทรพั ย์ การวิ่งราวทรัพย์ การชงิ ทรัพย์ การปลน้ ทรัพย์ การบกุ รกุ 8. ภาระงาน - 9. การวดั และการประเมินผล 9.1 เครือ่ งมอื ทใี่ ช้ในการวดั และประเมินผล - แบบทดสอบหลังเรยี น เรอ่ื งกฎหมายอาญา (ใช้วธิ ีการสอบนอกเวลา ใหเ้ ฉพาะกลุ่มเปา้ หมายได้ ทา จานวน 6 คน) - แบบบนั ทกึ การแสดงบทบาทสมมติ เร่ือง การนาเสนอผลงานการแสดงบทบาทสมมติเกย่ี วกบั ชีวิตและทรัพยส์ นิ ในทางกฎหมายอาญา
62 9.2 เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน - ประเมินจากแบบบนั ทึกการแสดงบทบาทสมมติ เร่ืองความผิดเก่ยี วกับทรัพยส์ นิ ในทางกฎหมาย อาญา สาหรบั ครู ให้สงั เกตพฤติกรรมของนักเรยี นแตล่ ะกลุ่มตามรายการดังต่อไปนี้ พฤตกิ รรมท่สี ังเกต ลาดับ การมีส่วนรว่ ม ความถูกต้อง เสยี ง ภาพ รวมคะแนน ผลการประเมิน ของกลมุ่ ของสมาชิก ของเนอ้ื หา ความสมจริงในบทบาท การแสดง 5 10 5 20 ผา่ น ไม่ผา่ น กลุ่มที่ 1 กลุ่มท่ี 2 กลุ่มที่ 3 กลมุ่ ที่ 4 กลมุ่ ท่ี 5 ระดับคุณภาพการประเมนิ แบบบนั ทึกการแสดงบทบาทสมมติ เรอื่ งความผิดเกย่ี วกบั ทรัพย์สิน ในทางกฎหมายอาญา 18-20 คะแนน ดีมากทส่ี ุด = 10 16-17 คะแนน ดมี าก = 8 14-15 คะแนน ปานกลาง = 6 12-13 คะแนน พอใช้ = 5 0-11 คะแนน ปรับปรุง = 4 เกณฑ์การประเมินร้อยละ 60 0-11 ไมผ่ า่ น 12-20 ผา่ น
63 10. บนั ทกึ ผลหลงั การสอน ....................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................. ..................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................. .......................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ ............... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... .... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ลงชื่อ……...…………….…..…..………ผู้สอน (นายธนวรรธน์ พาสศรี) ตาแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย ลงชง่ื .................................................... (นายปฏิญญะ สงั สะนา) หัวหน้ากลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ
64 ภาคผนวก ค - ภาพการดาเนนิ กจิ กรรมการแสดงบทบาทสมมติ (Role-Play)
65 บรรยากาศการทาแบบทดสอบก่อนเรียน เรือ่ งกฎหมายอาญา ความผดิ เกี่ยวกับทรพั ย์สิน วนั ที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ.2562
66 บรรยากาศการนาเสนอผลงาน กลมุ่ ท่ี 1 เรอื่ งการชิงทรัพย์ วันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ.2562 สามารถสแกน QR Code เพือ่ รบั ชมการแสดงบทบาทสมมติ เร่อื งการชงิ ทรัพย์
67 บรรยากาศการนาเสนอผลงาน กล่มุ ท่ี 2 เรื่องการปลน้ ทรพั ย์ สามารถสแกน QR Code เพอื่ รับชมการแสดงบทบาทสมมติ เรื่องการปล้นทรัพย์
68 บรรยากาศการนาเสนอผลงาน กลุม่ ท่ี 3 เรอื่ งการปล้นทรัพย์ 2 สามารถสแกน QR Code เพ่ือรับชมการแสดงบทบาทสมมติ เรื่องการปลน้ ทรัพย์ 2
69 บรรยากาศการนาเสนอผลงาน กลุ่มที่ 4 เรอ่ื งการว่ิงราวทรพั ย์ สามารถสแกน QR Code เพ่ือรับชมการแสดงบทบาทสมมติ เรอื่ งการการว่งิ ราวทรัพย์
70 บรรยากาศการนาเสนอผลงาน กลมุ่ ท่ี 5 เรื่องการรับซ้อื ของโจร สามารถสแกน QR Code เพอื่ รบั ชมการแสดงบทบาทสมมติ เร่ืองการรับซ้ือของโจร
71 บรรยากาศการทาแบบทดสอบหลังเรยี น เร่อื งกฎหมายอาญา ความผิดเกีย่ วกบั ทรัพย์สิน วนั ที่ กรกฎาคม พ.ศ.2562
72 ประวัติยอ่ ผู้วิจยั ช่อื – สกลุ นายธนวรรธน์ พาสศรี ประวัติการศึกษา 1. ระดับประถมศึกษา : ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 – ประถมศึกษาปีที่ 6 2. ระดบั มัธยมศึกษา : มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 – มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 3. ระดับปรญิ ญาตรี สาเร็จการศกึ ษาจากโรงเรียนบวั หลวงวิทยาคม : สาขาวิชาสังคมศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั สวนสุนันทา ปัจจบุ ัน ดารงตาแหน่ง ครผู ชู้ ่วย โรงเรียนพุทไธสง สานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 จงั หวัดบุรีรมั ย์ .
Search