สมารท์ โฟนมีภัยหากใช้อย่างไร้ขอบเขต
ภัยคุกคามจากการตดิ สาร์ทโฟน ยคุ สมยั การสอ่ื สารไร้สายมันมารวดเรว็ มาก ผคู้ นตา่ งก็เสพติดกันจนชินที่วา่ วางห่างมือไม่ไดเ้ ลย มอื ขา้ งนงึจะตอ้ งมสี มาร์ทโฟนติดไว้ตลอด ว่างเม่อื ไหร่เปน็ อันหยบิขนึ้ มาเชค็ น่นู นน่ี ั่น ขอบอกได้เลยว่าอาการเสพติดสมาร์ทโฟนมากๆ ไม่ดีนะจ๊ะ อาการเสพติดสมาร์ทโฟน หรอื Smartphone Syndrome จะ สง่ ผลเสยี ทั้งตวั เราเองและคนรอบขา้ งดว้ ย ผลเสียทว่ี า่ นน้ั จะมี อะไรบา้ ง เรามาดูกนั ดีกว่า
1.สมาธสิ ้นั ความจำ�ไม่ดี เวลาท่ีมีขอ้ ความเขา้ มา หรอื มกี ารแจ้งเตอื นตา่ งๆเขา้ มาทัง้ วัน ต้องเขา้ ไปเช็คบ่อยๆ จะท�ำ ให้เป็นคนสมาธิส้ัน ไมจ่ ดจอ่ กับงาน และจะจำ�อะไรในระยะยาวไม่ค่อยได้ 2.ระบบการเรยี นรู้ถดถอย การเสพข้อมลู ต่างๆ เข้ามากๆ ในเวลาเดยี วกัน ไม่วา่ จะเปน็ สอ่ื ชนิดไหนก็ตาม จะทำ�ให้ระบบวิเคราะห์ ของสมองถกู รบกวนตลอดเวลา3.สะสมความเครียด ถา้ เจอแต่เร่ืองดๆี กค็ งไมเ่ ป็นไร แตถ่ ้าหากเชค็บอ่ ยๆ แลว้ เจอแต่เรอ่ื งเครียด ก็ส่งผลใหเ้ ครียดได้ทง้ั วนั เหมอื นกัน
4.ร่างกายออ่ นล้า การเสพติดจากแอพพิลเคชน่ั ตา่ งๆ เช่น LINEหรือดู YouTube ไปนานๆ จะท�ำ ให้เพลินจนไม่ไดร้ บัการพกั ผ่อนที่เพียงพอ 5.ดวงตาล้า แดง ช้ำ�และแสบ การจอ้ งจอนานๆ ในทๆ่ี แสงสว่างไม่เพยี งพอ ส่งผลเสยี ตอ่ ระบบการกลอกตา กลา้ มเนือ้ ตาและ ประสาทตา6.กระดูกคอเสอ่ื ม ปวดคอ ปวดบ่า จากการก้มหน้ามากๆ เป็นระยะเวลานาน เพ่ือจ้องจอทไ่ี ม่ไดอ้ ยใู่ นระดบั สายตา จะท�ำ ให้เป็นโรคติดตวั ไปจนแกเ่ ฒา่ เลยนะเออ
7.ปวดข้อมอื ปวดน้วิ มอื และปวดหลัง เพราะนง่ั ท่าเดยี ว ท่าเดมิ นานๆ ก็จะส่งผลให้บรรดาอาการปวดทง้ั หมดน้ี แหม่ าในเวลาเดยี วกันปวดร้าวมาก ขอบอก!! 8.ความสัมพนั ธก์ บั คนรอบขา้ งแย่ลง มวั แต่กม้ หนา้ ก้มตาจ้องจอโทรศัพท์ ไมส่ นใจคน รอบขา้ ง ทำ�ตัวเปน็ หนงึ่ ในสังคมก้มหนา้ ไม่คยุ กับ คนท่อี ยู่ตอ่ หนา้ ถือว่าเปน็ มารยาททแ่ี ย่มากๆ นะ9.อาจก่อให้เกดิ อุบตั เิ หตุ หากมัวแต่เชค็ โทรศัพท์ในเวลาทไ่ี ม่สมควรอยา่ งเช่น เวลาขบั รถ อาจจะกอ่ ใหเ้ กดิ อบุ ัติเหตุขึ้นมาได้ มมี าหลายรายแล้วดว้ ย
ปัญหาเดก็ ตดิ สมาร์ทโฟน และวธิ กี ารแกไ้ ข เดก็ ติดสมารท์ โฟน หมายถึง เดก็ ท่ีใชเ้ วลาส่วนใหญ่อยู่กบั โทรศัพทส์ มาร์ทโฟน หรอื แท็บเลต็ วันละหลายๆช่วั โมงตดิ ต่อกนั จนส่งผลกระทบต่อกิจวัตรประจำ�วัน หรือ พัฒนาการของเดก็ บางอยา่ งเชน่ เด็กปฏเิ สธท่ีจะท�ำ การบา้ น หากไม่ได้เลน่ เกมส์ ดูคลปิ ยูทปู ในสมาร์ทโฟน หรือแท็ปเลต็ เป็นการแลกเปล่ียน หรอื บางครง้ั เล่นสมาร์ทโฟนบนเตยี งจนหลับไป เป็นตน้ สงิ่ เหล่านีม้ ผี ลกระทบตอ่ พัฒนาการของเด็ก ซง่ึ เป็นส่งิ หนกั ใจสำ�หรับพอ่ แม่หลายๆ คนเปน็ อยา่ งมาก หลายครอบครัวลงทนุ ควกักระเป๋าเพอ่ื ซอื้ ของไฮเทค็ เช่น พวกสมาร์ทโฟน หรือแทบ็ เล็ต เพ่อืต่อยอดเสริมพฒั นาการของเด็ก แตผ่ ลลัพธ์กับตรงกันขา้ ม หลายคนตดิ โทรศัพท์งอมแงมจนกระทบการเรยี น และ พัฒนาการของเดก็ทางดา้ นรา่ งกาย และจติ ใจอีกดว้ ย ท้ังน้ี สถาบนั ทีเ่ ชยี่ วชาญทางดา้ นพัฒนาการเดก็ ในสหรัฐอเมรกิ าเปดิ เผยวา่
“ เดก็ ทารกจนถึงวยั 2 ขวบ ไม่ควรหยบิ จับอุปกรณ์ไฮเทคตา่ งๆสว่ นเด็กอายุ 3 - 5 ขวบนน้ั ใหเ้ ลน่ ไดว้ นั ละไมเ่ กนิ 1 ช่ัวโมงในวัยทโ่ี ตกวา่ นั้นจนถงึ อายุ 18 ปี ควรเลน่ แค่วันละ 2 ชวั่ โมง “ แต่จากขอ้ มลู ท่ีนำ�เสนอผา่ นสอ่ื สาธารณะได้ระบวุ า่ ชั่วโมงการใชง้ านอปุ กรณ์ทางด้านเทคโนโลยีของเดก็ ในสหรัฐฯ และแคนาดาสงู กวา่ จ�ำ นวนที่แนะนำ�ไว้ 4 ถงึ 5 เทา่ ดังนัน้ ปญั หาเดก็ ตดิ สมารท์ โฟน และแท็บเล็ตจะยง่ิ ปรากฏมากขึน้ ในสงั คมทว่ั โลกรวมถึงประเทศไทยของเราเองท่ีมจี �ำ นวนผใู้ ช้งานสิง่ เหล่านเี้ พิ่มมากขึ้นทุกปี พ่อแมอ่ ย่างเราๆจงึ ไมค่ วรปล่อยใหเ้ ดก็ อยู่กับโทรศพั ทเ์ พียงลำ�พงั ควรดูแลพฤติกรรมของเดก็ อย่างใกล้ชิด เพือ่ ไมใ่ หเ้ กิดปัญหาเดก็ ตดิ สมารท์ โฟนในภายหลัง
เดก็ ตดิ สมารท์ โฟนมลี ักษณะอย่างไร? เนือ่ งจากในสังคมไทยมสี มารท์ โฟนและแท็บเล็ตอยูใ่ นครอบครองกนั มากข้ึน ท�ำ ใหส้ มารท์ โฟนเขา้ มามีบทบาทในการใชช้ วี ิตประจ�ำ วนั จนกลายเป็นเรือ่ งปกติ เดก็ ๆในยุคน้จี ึงเขา้ ถงึ ส่ิงเหลา่ นี้ไดอ้ ย่างสะดวกจากการเล่นสมารท์ โฟนของพอ่ แมห่ รือของตนเองอยา่ งไรกต็ าม พ่อแม่ท่อี นญุ าตให้ลกู ใช้สมารท์ โฟนได้ ควรหมัน่สงั เกตพฤติกรรมของเด็กวา่ มีอาการเดก็ ตดิ สมาร์ทโฟนหรือไม่เพื่อหาทางแกไ้ ขไดท้ ันทว่ งที หากพบสญั ญาณดังตอ่ ไปน้ี
1. เดก็ ทใ่ี ชส้ มาร์ทโฟนมอี าการตื่นสายและอาการออ่ นเพลยี ในตอนเช้า 2. เดก็ หมดความสนใจในกิจกรรมรอบตัว สนใจแต่ เลน่ สมาร์ทโฟน เมอ่ื พ่อแมช่ วนเด็กใหไ้ ปทำ�กิจกรรม อย่างเชน่ กจิ กรรมกลางแจ้ง เดก็ ไม่อยากไป แม้แต่ การชมภาพยนตรใ์ นโรงหนัง เน่อื งจากเปน็ สถานทีท่ ่ี หา้ มใชอ้ ุปกรณ์ดงั กล่าว3. เด็กตั้งตารอเวลาทจ่ี ะไดเ้ ลน่ สมาร์ทโฟน และมักพดู ถึงเวลาทจี่ ะได้เลน่ สมารท์ โฟนในครั้งต่อไปเสมอ 4. เด็กหยุดความสนใจจากสิง่ ท่กี �ำ ลังท�ำ เพราะมี ข้อความแจ้งเตือนจากสมารท์ โฟน5. เด็กใชเ้ วลากบั สมารท์ โฟนนานขน้ึ กวา่ เดิม และมกั อารมณ์เสยี งา่ ยเมอ่ื พอ่ แมพ่ ดู เกี่ยวกบั เรอ่ื งการใช้งานของพวกเขา บา้ งคร้ังถึงกบั โตเ้ ถยี งออกมา เดก็บางคนอาจพูดว่า พ่อแม่ไมเ่ ข้าใจ เพราะพวกท่านไม่เคยได้ใช้สมารท์ โฟนตอนท่ียงั เป็นเดก็
6. เด็กรสู้ กึ หงดุ หงิดหรอื หดหู่เวลาท่ไี มไ่ ดเ้ ล่นโทรศัพท์ และอาการเหล่านมี้ ักหายไปเมือ่ เดก็ ได้เลน่ สมาร์ทโฟน 7. เดก็ พยายามแอบเลน่ สมาร์ทโฟน เชน่ แอบเลน่ ในหอ้ งนอนโดยท่ีไมใ่ ห้พ่อแม่รู้8. เด็กมกั จะมีพฤตกิ รรมกา้ วร้าวเวลาพ่อแมส่ อดส่องพฤตกิ รรมการเล่นสมาร์ทโฟนของเขา และโต้เถียงพ่อแม่บ่อยขึ้น 9. เดก็ เสยี สมาธิระหว่างทำ�การบา้ น โดยไม่สามารถ ทำ�ไดอ้ ย่างต่อเนอ่ื งจนเสรจ็ หรอื เด็กชอบเปดิ ดูสมารท์ โฟนเพอ่ื เลน่ เกมส์ แลว้ ท�ำ อยา่ งอนื่ ไปด้วย
การแก้ไขเด็กท่มี ปี ญั หาติดสมารท์ โฟน พ่อแมห่ ลายๆคนท่ีพบวา่ ลกู ติดโทรศัพท์ อาจปลอ่ ยใหเ้ ด็กเลน่ ได้ตามปกติ โดยคิดวา่ เป็นเรอ่ื งธรรมดาของเด็กสมยั นี้ แต่อันที่จริงแล้ว ปัญหาเดก็ ตดิ สมาร์ทโฟนมีความสำ�คัญอย่างย่งิ ที่ต้องรีบแก้ไข เพราะไมเ่ พยี งส่งผลกระทบต่อชีวิตประจ�ำ วันของเดก็ เท่านั้น แตย่ ังมีผลกระทบในเชงิ ลบต่อพฒั นาการของเดก็ทงั้ ทางดา้ นร่างกายและจติ ใจอีกด้วย
ท้งั น้ี มีงานวจิ ัยของผเู้ ช่ยี วชาญทางดา้ นเดก็ ในสหรัฐอเมรกิ า ชใี้ ห้เหน็ ว่า เดก็ ต้ังแต่วยั ทารกจนถงึ ปฐมวยั นั้นพอ่ แมไ่ ม่ควรใหเ้ ลน่ สมารท์ โฟน ดว้ ยเหตุผลดังต่อไปน้ี 1. ในชว่ งเด็กวัยแรกเกิดจนถงึ 2 ขวบ มกี ารพฒั นาทาง ด้านสมองเตบิ โตเปน็ 3 เทา่ (Infant’s brains triple in size) และสงิ่ แวดลอ้ มจะเปน็ ตวั กระต้นุ เสริมพฒั นาการ ด้านสมองในช่วงตน้ หากเราปลอ่ ยใหเ้ ด็กใกล้ชิดกับ เทคโนโลยอี ยา่ งโทรศพั ท์ แท็บเลต็ หรอื โทรทัศน์ ส่งิ เหลา่ นีจ่ ะบน่ั ทอนพัฒนาการด้านสมองของเด็ก จาก การวิจัยพบว่า พฤติกรรมตดิ สมารท์ โฟนมีสว่ นทำ�ให้ ประสทิ ธิภาพในการเรียนร้ลู ดลง พัฒนาการของเดก็ ท่ี ใกลช้ ิดกบั อปุ กรณเ์ หล่านจ้ี ะลา่ ช้ากวา่ เดก็ วัยเดยี วกัน ทำ�ให้เด็กเป็นโรคสมาธสิ นั้ เอาแตใ่ จตวั เองมากขนึ้ เพราะควบคุมตัวเองได้น้อยลง เป็นต้น
2. การใชส้ มาร์ทโฟนสงผลใหเ้ ด็กขยบั ตวั เคล่ือนท่นี ้อยลง สง่ ผลเสยี ตอ่ พฒั นาการของอวยั วะตา่ งๆของร่างกายเดก็ ผลวจิ ยั ชิ้นหนึง่ เผยวา่ 1 ใน 3 ของเดก็ ทถ่ี งึ วยั เข้าเรียนมีพัฒนาการทางด้านรา่ งกายล่าชา้ กวา่ เดก็ ท่ไี ม่ติดสมาร์ทโฟน มีผลต่อการเรียนรู้ การอ่านออกเขยี นได้เน่ืองจากสมารท์ โฟนมีส่วนปิดก้นั พัฒนาการดา้ นการเรยี นร้ขู องเด็ก 3. การท่ีเด็กใชส้ ายตาเพ่งดจู อสมารท์ โฟนต่อเนอื่ ง ทำ�ใหต้ าล้าหรืออักเสบภายหลงั ได้4. เด็กที่ตดิ สมารท์ โฟนจะไมใ่ ชเ้ วลาท่ีมเี พอื่ เสรมิพฒั นาการดา้ นอื่นๆเทา่ ทค่ี วร เชน่ ไม่ได้ฝกึ การใช้นิว้หยบิ จบั สง่ิ ของ และการกม้ หนา้ มองจอสมาร์ทโฟนถอืเปน็ ท่าผดิ หลกั ธรรมชาติ
5. เดก็ ทใี่ ช้โทรศพั ท์ในหอ้ งนอนของตวั เองได้ จะมีเวลานอนน้อยลง เนอื่ งจากสามารถเลน่ ได้ตามใจชอบเพราะไมไ่ ดอ้ ย่ใู นสายตาของพ่อแม่ สง่ ผลให้เด็กอดนอน และมีอาการอ่อนเพลียตามมา 6. การตดิ สมารท์ โฟนจะส่งผลกระทบต่อพฒั นาการ ดา้ นความคิดและจติ ใจของเดก็ โดยเดก็ อาจมีอาการ หดหูห่ รอื กระวนกระวาย เป็นโรคสมาธสิ นั้ มีปัญหาใน การควบคุมอารมณ์ หรือเป็นโรคอารมณ์สองขัว้ (Bipolar disorder) เปน็ ตน้7. เด็กอาจจะเหน็ ภาพการใช้ความรนุ แรงหรือสิ่งท่ีไม่เหมาะสมผา่ นส่อื บนสมารท์ โฟน เชน่ เกมส์ คลิป หรอืภาพยนตร์ ส่งผลให้เด็กมพี ฤติกรรมกา้ วรา้ ว หรือลอกเลยี นแบบ
8. ในปัจจุบนั พบว่ามีเด็กทป่ี ่วยเป็นโรคสมองเสือ่ มดิจิตอล(Digital dementia) เพ่มิ สงู ขึน้ ในตา่ งประเทศ เชน่ เกาหลีใต้โดยเด็กท่ีเป็นโรคนี้ไม่สามารถเรียนรู้หรือให้ความสนใจกับส่ิงใดๆได้ สาเหตุนัน้ มาจากความรวดเรว็ ของเน้ือหาบนสอื่ อยา่ งสมาร์ทโฟน เดก็ จึงใหค้ วามสนใจกบั ส่ิงรอบตัวนอ้ ยลง สงผลตอ่ พัฒนาการของเด็กทางดา้ นสมองเพราะเดก็ ลดการใช้สมองในส่วนของความจ�ำ และอาจเปน็ สาเหตุของโรคสมาธิส้ัน 9. ทางดา้ นองคก์ ารอนามยั โลก (World Health Orga- nization) จัดใหส้ มาร์ทโฟนรวมถึงอุปกรณ์ไร้สายอ่นื ๆ อยใู่ นหมวดหมขู่ องความเสีย่ งระดับ 2B (2B risk) คอื มี ความเปน็ ไปไดท้ ีจ่ ะท�ำ ให้เกิดโรคมะเร็ง เนือ่ งจากมกี าร ปล่อยรงั สีออกจากอุปกรณ์เหลา่ นั้นซงึ่ เดก็ ที่ตดิ สมารท์ โฟน มีความเส่ียงท่ีจะได้รบั รังสที ี่ก่อให้เกิดมะเร็งตาม ไปดว้ ย “สดุ ท้าย พ่อแมค่ วรเปน็ ตวั อย่างที่ดใี หก้ ับลกู ด้วยการใช้สมารท์ โฟนแต่พอดี หลีกเลย่ี งการเช็คอีเมล์หรือข้อความบนมอื ถอื ตลอดเวลาทใี่ ช้เวลารว่ มกับคนในครอบครัว โดยเฉพาะต่อหน้าเดก็ ”
ทม่ี า : อ้างองิ ข้อมูลและรปู ภาพจาก ถามครดู อ็ ทคอมเดก็ ติดสมารท์ โฟน - http://taamkru.com/th
Search
Read the Text Version
- 1 - 16
Pages: