รชั กาลท่ี1: พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช
ประวตั โิ ดยยอ่ ของรชั กาลท่ี1: พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ า โลกมหาราช
“ พระบาทสมเดจ็ พระบรมราชาธิราชรามาธบิ ดี ศรสี นิ ทรบรมมหาจกั รพรรดริ าชาธิบดนิ ทร์ ธรณินทราธิราชรตั นากาศภาสกรวงศอ์ งคป์ รมาธิเบศร ตรภี วู เนตรวรนารถนายก ดลิ กรตั น ชาตอิ าชาวศรยั สมทุ ยั วโรมนตส์ กลจกั รฬาธิเบนทร์สรุ เิ ยนทราธิบดนิ ทรหรหิ รนิ ทรธาดาธิ บดี ศรสี วุ บิ ลุ ยคณุ ธขนษิ ฐ์ ฤทธิราเมศวรมหนั ตบ์ รมธรรมิกราชาธิราชเดโชไชย พรหมเทพา ดเิ ทพนฤดนิ ทรภ์ มู ินทรปรามาธิเบศร โลกเชฎฐวสิ ทุ ธ์ิรตั นมกฎุ ประเทศคตามหาพทุ ธางกรู ” บรมบพิตร พระพทุ ธเจา้ อยหู่ วั \"
ทรงประสตู ิเม่อื วนั ท่ี 20 มนี าคม พ.ศ. 2279 พระราชบดิ าทรงพระนามว่า ออกอกั ษรสนุ ทร ศาสตร์ พระราชมารดาทรงพระนามว่า ดาวเรอื ง มบี ตุ รและธิดารวมทงั้ หมด 5 คน คอื คนท่ี 1 เป็นหญิงช่อื \"สา\" ( ต่อมาไดร้ บั สถาปนาเป็นพระเจา้ พ่ีนางเธอกรมสมเดจ็ พระเทพสดุ าวดี ) คนท่ี 2 เป็นชายช่อื \"ขนุ รามนรงค\"์ ( ถงึ แกก่ รรมกอ่ นท่จี ะเสยี กรุงศรอี ยธุ ยาแก่พม่าครงั้ ท่ี 2 ) คนท่ี 3 เป็นหญิงช่อื \"แกว้ \" ( ตอ่ มาไดร้ บั สถาปนาเป็นพระเจา้ พ่นี างเธอกรมสมเด็จพระศรสี ดุ ารกั ษ์ ) คนท่ี 4 เป็นชายช่อื \"ดว้ ง\" (พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช ) คนท่ี 5 เป็นชายช่อื \"บญุ มา\" ( ต่อมาไดร้ บั สถาปนาเป็นกรมพระราชวงั บวรมหาสรุ สงิ หนาท สมเด็จพระอนชุ าธิราช ) เม่อื เจรญิ วยั ไดถ้ วายตวั เป็นมหาดเลก็ ในสมเดจ็ พระเจา้ ลกู ยาเธอเจา้ ฟา้ อทุ มุ พร พระชนมายุ 21 พรรษา ออกบวชท่วี ดั มหาทลาย แลว้ กลบั มาเป็นมหาดเลก็ หลวงในแผ่นดินพระเจา้ อทุ มุ พร พระชนมายุ 25 พรรษา ไดร้ บั ตวั แหน่งเป็นหลวงยกกระบตั ร ประจาํ เมอื งราชบรุ ใี นแผ่นดินพระท่นี ่งั สรุ ยิ ามรนิ ทร์ พระองคไ์ ดว้ วิ าหก์ บั ธิดานาค ธิดา ของท่านเศรษฐี ทองกบั สม้
พระชนมายุ 32 พรรษา ในระหวา่ งที่รบั ราชการอยกู่ บั พระเจา้ กรุงธนบรุ ี ไดเ้ ลอื่ น ตาํ แหนง่ ดงั นี้ พระชนมายุ 33 พรรษา พ.ศ. 2312 ไดเ้ ลื่อนเป็นพระยาอภยั รณฤทธิ์ เมื่อพระเจา้ กรุงธนบรุ ีปราบชมุ นมุ เจา้ พิมาย พระชนมายุ 34 พรรษา พ.ศ. 2313 ไดเ้ ลื่อนเป็นพระยายมราชที่สมหุ นายก เม่อื พระเจา้ กรุงธนบรุ ีไปปราบชมุ นมุ เจา้ พระฝาง พระชนมายุ 35 พรรษา พ.ศ. 2314 ไดเ้ ล่ือนเป็นเจา้ พระยาจกั รี เมอ่ื คราวเป็น แมท่ พั ไปตีเขมรครงั้ ท่ี 2 พระชนมายุ 41 พรรษา พ.ศ. 2321 ไดเ้ ลอ่ื นเป็นสมเด็จเจา้ พระยามหากษัตรยิ ศ์ กึ เมื่อคราวเป็นแมท่ พั ใหญ่ไปตีเมอื งลาวตะวนั ออก พ.ศ. 2323 เป็นครงั้ สดุ ทา้ ยท่ีไปปราบเขมร ขณะเดียวกบั ที่กรุงธนบรุ ีเกิดจลาจล จึงเสด็จยกกองทพั กลบั มากรุงธนบรุ ี เม่ือ พ.ศ. 2325 พระองคท์ รงปราบปราม เสยี้ นหนามแผ่นดินเสร็จแลว้ จงึ เสด็จขนึ้ ครองราชสมบตั ิปราบดาภิเษก แลว้ ไดม้ ี พระราชดาํ รสั ใหข้ ดุ เอาหีบพระบรมศพของพระเจา้ กรุงธนบรุ ขี นึ้ ตง้ั ณ เมรุวดั บาง ยเ่ี รือพระราชทานพระสงฆบ์ งั สกุ ลุ แลว้ ถวายพระเพลงิ พระบรมศพ เสร็จแลว้ ใหม้ ี การมหรสพ
ผลงานท่โี ดดเดน่ เป็นเอกลกั ษณ์
ดา้ นการเมอื งการปกครอง 1.1) ทรงสถาปนาราชวงศจ์ กั รีและกรุงรัตนโกสินทร์ใหเ้ ป็นราชธานีแห่งใหม่ โดยทรงยา้ ย ราชธานีจากกรุงธนบุรีมาอยทู่ ่ีกรุงเทพมหานคร 1.2) โปรดเกลา้ ฯ ใหช้ าระกฎหมายใหถ้ ูกตอ้ งยุติธรรม เรียกวา่ \"กฎหมายตราสามดวง\" เพราะประทบั ตราสาคญั 3 ดวง ไดแ้ ก่ ตราราชสีหข์ องสมุหนายก ตราคชสีหข์ องสมุหพระกลาโหม และตราบวั แกว้ ของกรมท่า 1.3) ทรงใหข้ ดุ คลองรอบกรุง เช่น คลองบางลาพูทางตะวนั ออก คลอง โอ่งอ่างทางใต้ ทาใหก้ รุงรัตนโกสินทร์เป็นเหมือนเกาะท่ีมีแม่น้าลอ้ มรอบเหมือกบั กรุง ศรี อยธุ ยา รวมท้งั สร้างกาแพงพระนครและป้อมปราการไวโ้ ดยรอบ ปัจจุบนั คงเหลือเพียง ป้อมพระสุเมรุและป้อมปราการไวโ้ ดยรอบ ปัจจุบนั คงเหลือเพยี งป้อมพระสุเมรุ และป้อม มหากาฬที่สะพานผา่ นฟ้าลีลาศ 1.4) ทรงเป็นจอมทพั ในการทาสงครามกบั รัฐเพอ่ื นบา้ น สงครามคร้ัง สาคญั คือ สงครามเกา้ ทพั กบั พม่า
ดา้ นเศรษฐกิจ 2.1) ในตอนตน้ รัชกาลท่ี 1 เศรษฐกิจยงั ไม่ดีเพราะมีการทา สงครามกบั พมา่ หลายคร้ัง การติดต่อคา้ ขายกบั ต่างประเทศกล็ ดลง มาก แต่ในปลายรัชกาลบา้ นเมืองปลอดภยั จากสงคราม ทาให้ ประชาชนมีเวลาประกอบอาชีพ ส่วนการคา้ ขายกบั จีนเพม่ิ มากข้ึน ทาใหเ้ ศรษฐกิจดีข้ึน มีเงินใชจ้ ่ายในการทานุบารุงบา้ นเมอื ง สร้าง พระนคร สร้างและบูรณปฏิสงั ขรณ์วดั รวมท้งั สง่ั ซ้ือและสร้าง อาวุธเพอ่ื ใชป้ ้องกนั พระราชอาณาเขต ทาใหบ้ า้ นเมอื งและราษฎร เกิดความมนั่ คงและมง่ั คงั่
ดา้ นสงั คมและวฒั นธรรม 3.1) โปรดเกลา้ ฯ ใหส้ ร้างพระราชวงั และวดั ใหม้ รี ูปแบบเหมือนสมยั อยธุ ยา เพ่ือสร้างขวญั กาลงั ใจแกร่ าษฎรใหเ้ สมือนอยใู่ นสมยั อยธุ ยาเมอ่ื คร้ัง บา้ น เมืองเจริญรุ่งเรือง เชน่ โปรดเกลา้ ฯ ใหล้ อกแบบพระทีน่ ง่ั สรรเพชญ์ ปราสาทข้ึนมาใหม่ และพระราชทานนามวา่ \"พระที่นงั่ ดสุ ิตมหาปราสาท\" รวมท้งั โปรดเกลา้ ฯ ใหส้ ร้างวดั พระศรีรัตนศาสดารามหรือวดั พระแกว้ ไว้ ในเขตพระบรมมหาราชวงั เพื่อ ใชใ้ นการประกอบพิธีทางพระพุทธศาสนา เชน่ เดียวกบั วดั พระศรีสรรเพชญใ์ นสมยั อยธุ ยา 3.2) ทรงทานุบารุงพระพุทธศาสนา ดว้ ยการออกแบบ กฎหมายคณะสงฆเ์ พือ่ ใหพ้ ระสงฆอ์ ยใู่ นพระธรรมวินยั โปรดเกลา้ ฯ ใหม้ ี การสังคายนาพระไตรปิ ฏกใหม้ ีความถูกตอ้ งสมบูรณ์ โปรดเกลา้ ฯ ใหส้ ร้าง วดั และบรู ณปฏสิ ังขรณ์วดั วาอารามต่าง ๆ เช่น วดั พระเชตุพนวมิ ลมงั คลา ราม (วดั โพธ์ิ) วดั สุทศั นเทพวราราม วดั สระเกศ วดั ระฆงั โฆสิตาราม วดั สุวรรณดารารามตลอดจนบูรณปฏิสงั ขรณ์พระพุทธรูปที่ถกู ทงิ้ ร้างตามหวั เมอื ง ต่าง ๆ แลว้ นามาประดิษฐานไวต้ ามวดั วาอารามท่สี ร้างข้ึนใหม่ เช่น อญั เชิญพระศรีศากยมนุ ี จากวหิ ารหลวงวดั มหาธาตุ จงั หวดั สุโขทยั มา ประดษิ ฐานทีว่ ดั สุทศั นเทพวราราม เป็นตน้
ดา้ นวรรณกรรม การฟ้ื นฟูศลิ ปวฒั นธรรม ส่วนใหญ่เป็นการฟ้ื นฟดู า้ นอกั ษรศาสตร์ เป็นสาคญั ซ่ึงพระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เป็นผพู้ ระราชนิพนธเ์ องบา้ ง กวีและผรู้ ู้เขียนข้ึนบา้ ง ดว้ ยทรงสน พระทยั ในดา้ นวรรณศลิ ป์ เป็นอยา่ งมาก ทรงพระราชนิพนธ์ วรรณกรรมท่ีทรงคุณค่าไวจ้ านวนหน่ึง โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ วรรณคดี รามเกียรต์ิท่ีทรงพระราชนิพนธ์ รู้จกั กนั ในชื่อวา่ รามเกียรต์ิ รัชกาล ที่ 1 โดยสานวนโวหารในพระองคท์ ่านจะเป็นสานวนแบบทหาร ถอ้ ยคาท่ีใชต้ รงไปตรงมา
แบบอย่างความดีตอ่ การปฏิบตั ติ น
แบบอยา่ งความดี : ทรงมีความสามารถในการป้องประเทศการปอ้ งกนั ตนเอง การนาํ ไปใช้ : 1.สรา้ งความเข็มแรงใหก้ บั เรา 2.มคี วามสามารถในการป้องกนั ตวั เอง 3.มคี วามสามคั คี
แบบอยา่ งความดี : ทรงแตง่ บทกวีและวรรณคดี การนาํ ไปใช้ : 1. ทาํ ใหค้ วามคิดสรา้ งสรรคใ์ หต้ นเอง 2. ชว่ ยในการอนรุ กั ษภ์ าษาไทย
จดั ทาํ โดย 1. นาย ววิ ฒั น์ ดาํ สภุ าพ ม.5/5 เลขท่ี6 2. นาย สงิ หา พมุ่ ทบั ทิม ม.5/5 เลขท่ี7 3. นายเอกสทิ ธิ์ มหาเทวี ม.5/5 เลขท่ี1 4. ธนพนธ์ ศรมี าพงษ์ ม.5/5 เลขท่ี12 5. นรากร วงษน์ ิกร ม.5/5 เลขท่ี28
Search
Read the Text Version
- 1 - 14
Pages: