Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการใช้แผน62ภาค1

รายงานการใช้แผน62ภาค1

Published by edeekru, 2019-10-06 23:46:44

Description: รายงานการใช้แผน62ภาค1

Search

Read the Text Version

รายงานการใช้แผนการจดั การเรียนรู้ ว 31104 เทคโนโลยี(การออกแบบ และเทคโนโลยี) ชั้น มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2562 นางสาวจันทรด์ ี ดฝี ั้น ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ชานาญการพเิ ศษ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ อาเภอแม่รมิ จงั หวดั เชียงใหม่

2 บันทึกข้อความ ส่วนราชการ โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะห์เชียงใหม่ ท่ี ……………………. วนั ที่ 4 กนั ยายน 2562 เร่อื ง ขอรายงานผลการใช้แผนการจดั การเรยี นรู้ ว 31104 เทคโนโลยี(การออกแบบ และเทคโนโลย)ี เรยี น ผอู้ านวยการโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชยี งใหม่ ด้วยผู้สอน นางสาวจันทร์ดี ดีฝ้ันรับผิดชอบสอนวิชา ว 31104 เทคโนโลยี(การออกแบบ และ เทคโนโลยี) ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ ได้ จัดทา แผนการจดั การเรยี นรู้ วิชาว 31104 เทคโนโลย(ี การออกแบบ และเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ใช้ สอนใน ปีการศึกษา 2562 บัดนี้ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้เสร็จส้ินเรียบร้อยแล้ว ผู้สอนจึงขอ รายงานการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าข้อมูลดังกล่าวคงเป็นประโยชน์ในการนาไปใช้เป็น ขอ้ มูลของโรงเรียนตอ่ ไป จงึ เรยี นมาเพ่ือโปรดพิจารณา ลงช่ือ.................................ผ้สู อน (นางสาวจันทร์ดี ดีฝั้น) เสนอ หวั หน้าสาระวิทยาศาสตร์ เสนอ รองผู้อานวยการรักษาการในตาแหนง่ ผู้อานวยการ .................................................................... ............................................................. ลงช่ือ........................................ ลงช่อื ……………………………….. (นายอรุณไสว ปนิ อนิ ต๊ะ) (นางสาวเอื้องไพร สุขพนิ ิจ) 4 กันยายน 2562 4 กันยายน 2562

3 รายงานการใชแ้ ผนการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะห์เชยี งใหม่ 1. วตั ถุประสงค์ของการรายงาน 1.1 ศกึ ษาผลสัมฤทธิท์ างการเรียนทเี่ รียนโดยใช้แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า ว 31104 เทคโนโลย(ี การ ออกแบบ และเทคโนโลยี) ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 4 กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ 1.2 เพื่อประเมินความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อการจัดการเรียนการสอน โดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้ วิชา ว 31104 เทคโนโลยี(การออกแบบ และเทคโนโลยี) ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มสาระการ เรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ 2. ขอบเขตการรายงาน 2.1 แผนการจัดการเรียนรู้วิชาวทิ ยาศาสตร์วิชา ว 31104 เทคโนโลย(ี การออกแบบ และเทคโนโลยี) ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ จานวน 7 แผน 2.2 นกั เรียนระดับช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2562 จานวน 118 คน 3. เอกสารประกอบการรายงาน 3.1 แบบบันทึกผลการเรียนประจารายวิชา แผนภูมิแท่งแสดงผลการเรียนของนักเรียนและ สถิติผลการ เรยี นของนักเรียน (ดังแนบ)

4 4. ความพงึ พอใจของนกั เรียนท่ีมีต่อการจัดการเรยี นการสอนวชิ า วิชา ว 31104 เทคโนโลยี (การออกแบบ และเทคโนโลยี) ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 4 กลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ ตารางที่ 2 ความพงึ พอใจของนกั เรียนทมี่ ตี อ่ การจดั การเรยี นการสอน วชิ า ว 31104 เทคโนโลยี (การออกแบบ และเทคโนโลยี) ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ท่ี รายการ ระดับความคิดเหน็ X S.D. แปลผล ด้านเนื้อหา 1 มีความยากงา่ ยพอเหมาะ 4.26 0.40 มาก 2 มีประโยชน์น่าสนใจ 4.59 0.68 มาก 3 เหมาะสมกบั เวลา 4.38 0.60 มาก เฉลี่ย 4.41 0.56 มาก ด้านการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน 4.21 0.47 มาก 4 นกั เรียนมีส่วนร่วมในการเรียน 4.43 0.55 มาก 5 นกั เรียนมีกาลงั ใจในการเรียน 4.34 0.71 มาก 6 มีความสุขสนุกสนานกบั การเรียน 4.33 0.58 มาก เฉล่ีย 4.40 0.59 มาก ด้านสื่อการเรียนการสอน 4.41 0.50 มาก 7 มีภาพอุปกรณ์ แบบฝึกประกอบการสอนเสมอ 4.41 0.55 มาก 8 ภาพอุปกรณ์ แบบฝึกทาใหน้ กั เรียนเรียนอยา่ งเขา้ ใจ เฉลี่ย 4.25 0.60 มาก 4.23 0.51 มาก ด้านการวดั ผลประเมินผล 4.24 0.56 มาก 9 มีการทดสอบการซกั ถามสม่าเสมอ 4.35 0.56 มาก 10 มีการทดสอบหลายรูปแบบ เฉล่ีย เฉลยี่ รวม จากตารางที่ 2 พบว่า ความพึงพอใจเก่ยี วกบั การจัดการเรียนการสอนวิชา ว 31104 เทคโนโลย(ี การ ออกแบบ และเทคโนโลยี) ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ ค่าเฉลี่ยรวมอยใู่ นระดับ มาก X = 4.35 S.D. = 0.56

5 ด้านเน้ือหาผลการประเมินอยใู่ นระดับมาก มคี า่ เฉลี่ย X = 4.41 S.D.= 0.56 ด้านการจัดกิจกรรมการ เรียนการสอน ผลการประเมินอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย X = 4.33 S.D.= 0.58 ด้านสื่อ การเรียนการสอน ผลการประเมินอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย X = 4.41 S.D. = 0.55 ด้านการวัดและ ประเมนิ ผล ผลการประเมนิ อย่ใู นระดับมาก มีค่าเฉลีย่ X = 4.35 S.D. = 0.56 5. สรุปผลลพั ธ์จากการดาเนินงาน จากการศกึ ษาผลการใชแ้ ผนการจดั การเรยี นรู้วิวิชา ว 31104 เทคโนโลย(ี การออกแบบ และเทคโนโลย)ี ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ดังนี้ 5.1 ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นทีเ่ รียนโดยใช้แผนการจัดการเรยี นรู้ วชิ า ว 31104 เทคโนโลย(ี การออกแบบ และเทคโนโลยี) ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ มผี ลการเรียนเฉล่ยี เท่ากับ 2.83

6

7 5.2 นกั เรียนจานวน 102 รอ้ ยละ 86.44 ไดร้ ะดับผลการเรียน 2.0 ข้นึ ไป 5.3 จากการประเมินความพงึ พอใจของนักเรียนทมี่ ีต่อการจัดการเรียนการสอน โดยใช้แผนการจัดการ เรียนรู้วชิ า ว 31104 เทคโนโลย(ี การออกแบบ และเทคโนโลย)ี ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 4 กลุม่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ พบว่า ความพึงพอใจเกย่ี วกบั การจัดการเรียนการสอน ค่าเฉล่ยี รวมอยูใ่ นระดบั มาก X = 4.35 S.D. = 0.56 6. จุดเดน่ ของแผนการจัดการเรียนรู้ มีการวิเคราะหห์ ลักสูตร เนื้อหา กิจกรรมการเรียนรู้ โดยการจดั ทาแผนการจัดการเรยี นรูท้ เ่ี รียนด้วย แบบฝกึ ทกั ษะประกอบการเรียนการสอนโดยศึกษาวิธีการจัดการเรียนรู้ ท่หี ลากหลาย เช่น การจัดการเรียนรู้ แบบ การแก้ปัญหา การเรียนรู้แบบรว่ มมือ การใชไ้ อซีที การจดั การเรยี นร้แู บบระดมสมอง เพ่ือจดั กจิ กรรม ทห่ี ลากหลาย ใหน้ ักเรยี น ได้มีสว่ นร่วมในการคิด การใช้กระบวนการทางปัญญา การทดสอบโดยใช้ Plickers 7. จุดด้อยของแผนการจัดการเรยี นรู้ 7.1 การใช้สื่อ 7.2 การบันทึกหลงั สอนยงั ไม่ชัดเจน 8. ส่ิงท่ีควรปรบั ปรุงในภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2561 8.1 จดั กิจกรรมที่หลากหลายเน้นทกั ษะกระบวนการคดิ 8.3 การบันทึกหลังสอน 9. ผลการจดั การเรยี นร้อู ย่างต่อเน่อื ง 9.1 ดา้ นวสิ ยั ทศั น์ของหลกั สูตร ในการจัดการเรียนการสอน วิชา ว 31104 เทคโนโลยี(การออกแบบ และเทคโนโลย)ี ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ มงุ่ พัฒนาผ้เู รียนทุกคน ซึง่ เปน็ กาลังของชาติใหเ้ ปน็ มนุษย์ทม่ี ีความ สมดุลทั้งด้านรา่ งกาย ความรู้ คณุ ธรรม มีจิตสานึกในความเปน็ พลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยดึ มั่นในการ ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพ้ืนฐาน รวมทง้ั เจตคติ ท่จี าเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศกึ ษาตลอดชีวิต โดยม่งุ เนน้ ผ้เู รียนเปน็ สาคญั บนพ้นื ฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ 9.2 ด้านการบรู ณาการความรู้เนอื้ หา ทกั ษะกระบวนการคดิ และเจตคติ ได้เช่ือมโยงความรู้ที่เรียนให้นาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ โดยนาหลักการที่เรียนรู้ไปอธิบาย ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจาวัน นาวิธีการทางวิทยาศาสตร์lไปใช้ในการคิดหาคาตอบ เน้นทักษะ กระบวนการคิด เช่น คิดอย่างมีวิจารณญาณ คิดวิเคราะห์ ให้รู้จักการคิดอย่างเป็นระ บบ สอดแทรก คณุ ธรรมความพอเพียง การใชช้ ีวติ อยา่ งพอดี และพอเพียง 9.3 ด้านสมรรถนะ 5 ขอ้ : สือ่ สาร คดิ แกป้ ัญหา ใชท้ ักษะชวี ิต และเทคโนโลยี จดั การเรยี นรใู้ ห้นักเรียนไดน้ าเสนอหน้าช้นั เรียน สรปุ บทเรียน ได้สารวจข้อมูลจากบุคคล ฝึกทักษะ การคิดในแบบฝึกทกั ษะประกอบการเรยี น วเิ คราะหจ์ ากรปู ภาพ ศึกษาจากเว็บไซด์ (youtube.com) จัดทา สอ่ื นาเสนอหนา้ ชนั้ ใหน้ า่ สนใจ ในการจดั การเรียนรู้

8 9.4 ด้านคุณลักษณะ 8 ข้อ : รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มงุ่ มน่ั ในการทางาน รกั ความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ ในการจัดการเรียนการสอน วชิ าวชิ า ว 31104 เทคโนโลยี(การออกแบบ และเทคโนโลย)ี ชั้น มัธยมศึกษาปีท่ี 4 กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ มุง่ สอนให้ผู้เรยี น รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ซื่อสตั ย์ มี วนิ ยั ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุง่ ม่ันในการทางาน รักความเปน็ ไทย และมจี ิตสาธารณะ 10. ปญั หาอุปสรรค/ข้อเสนอแนะ 1. ควรเตรยี มวสั ดุอุปกรณ์ ใหพ้ ร้อมก่อนเขา้ หอ้ งเรยี น 2. ควรส่งเสริมใหแ้ ต่ละกลุ่มสาระจดั มุมความรู้ ของแตล่ ะห้องเรยี น 3. ใช้เกมส่งเสริมการเรียนใหม้ ากขึน้ (ลงช่ือ)..........................................ผูส้ อน (นางสาวจนั ทร์ดี ดีฝัน้ )

9 บนั ทกึ หลงั การสอน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ผลการเรยี นรู้สรุปได้ดังนี้ ด้านความรู้ จากการตรวจผลงานนกั เรียนสามารถวิเคราะห์ระบบเทคโนโลยีและระบบยอ่ ยของเทคโนโลยแี ละ อธิบายความสมั พนั ธ์ของระบบย่อย ได้ทุกคนโดยมีคะแนนเฉลยี่ ในระดบั ดี จากการตรวจงานนักเรยี นสามารถวิเคราะหร์ ะบบทางเทคโนโลยีที่ซบั ซอ้ นได้ทุกคน ได้คะแนนเฉล่ยี ใน ระดับดี จากการตรวจแผนภาพนักเรยี นสามารถเขยี นแผนภาพแสดงความสัมพันธ์ของระบบทางเทคโนโลยีได้ คะแนนเฉลยี่ ในระดับดมี าก ด้านทกั ษะ จากการตรวจแผนภาพนักเรยี นสามารถเขยี นแผนภาพแสดงความสัมพนั ธ์ของระบบทางเทคโนโลยีได้ คะแนนเฉลีย่ ในระดับดมี าก ด้านคณุ ลกั ษณะ นักเรยี นมีความรบั ผิดชอบในการทางาน นักเรยี นสง่ งานครบและตรงเวลาเปน็ ส่วนใหญ่ มีนกั เรยี น กลมุ่ คอมพวิ เตอรธ์ ุรกจิ ท่ีไมส่ ่งงาน ปญั หา เวลาในการเรียนไมพ่ อจึงไดป้ รบั การทากจิ กรรมแบ่งกลุม่ นักเรียนเรยี งบัตรคาระบบเทคโนโลยี กลมุ่ ละ 1 เทคโนโลยี เรียงตาม Input process out และ feedback พร้อมท้ังบันทกึ ในสมุด สาหรับเทคโนโลยีที่ซับซอ้ นให้นกั เรยี นศึกษาดว้ ยตนเอง แล้วเลน่ เกมเปิดแผ่นป้ายโดยใช้ Power point บันทกึ การแก้ปัญหา / พัฒนา นักเรียนสามารถเรียงลาดับระบบเทคโนโลยี ได้ กลมุ่ ละ 3 เทคโนโลยี . ลงช่อื .....................................................ผจู้ ัดกจิ กรรม (นางสาวจนั ทร์ดี ดฝี ้ัน)

10 บนั ทกึ หลงั การสอน แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 2 ผลการเรยี นรู้สรปุ ไดด้ ังน้ี ด้านความรู้ วเิ คราะหส์ าเหตหุ รอื ปจั จยั ทท่ี าใหเ้ กิดการเปลยี่ นแปลงเทคโนโลยี จากการตรวจใบกิจกรรมเรอื่ งสาเหตุหรือปจั จยั ของการเลยี่ นแปลงเทคโนโลยี มนี กั เรียนไม่ผ่านจานวน 10 คน นอกนัน้ ผา่ นทกุ คน ดา้ นทกั ษะ จากการสืบค้นและนาเสนอข้อมลู การพัฒนาอุปกรณ์เทคโนโลยีทใ่ี ช้ในชวี ติ ประจาวัน ได้คะแนนเฉล่ียในระดับดีมาก ดา้ นคุณลักษณะ นกั เรยี นใฝ่เรียนรใู้ นเรยี น รว่ มกันสืบคน้ ข้อมลู การพัฒนาอุปกรณ์เทคโนโลยีทีใ่ ช้ในชวี ิตประจาวันไดร้ ะดบั ดีมาก ปญั หา การเขา้ เรียนช้าของนักเรยี น บนั ทึกการแก้ปญั หา / พัฒนา สรา้ งแรงจูงใจในการเข้าเรียนโดยเลน่ เกมตอบปัญหา Flipquizz กลุ่มไหนได้คะแนนมากได้คะแนนโบนัส ลงชอ่ื .....................................................ผูจ้ ดั กิจกรรม (นางสาวจนั ทร์ดี ดีฝั้น)

11 บันทกึ หลงั การสอน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ผลการเรียนรู้สรุปไดด้ งั น้ี ด้านความรู้ จากการตรวจใบกิจกรรม วเิ คราะห์ผลกระทบของเทคโนโลยที ั้งดา้ นบวกและดา้ นลบทสี่ ง่ ผลตอ่ มนษุ ย์ สงั คม เศรษฐกจิ และสิ่งแวดล้อมนกั เรียนทุกคนสามารถทาได้ในระดบั ดีข้ึนไป ด้านทกั ษะ นาเสนอแนวทางในการป้องกันและแก้ไขปัญหาท่เี กดิ จากผลกระทบของเทคโนโลยี นกั เรียนทาคะแนนเฉลย่ี ในระดับดีมาก จานวน 9 คน ท่ีเหลอื ได้ในระดับดี ดา้ นคณุ ลกั ษณะ นกั เรยี นมีใฝ่เรยี นรู้ นักเรียนช้ัน ม 4/1มคี วามใฝ่เรยี นรู้ในระดบั ดมี ากทุกคน นักเรียน ชั้น ม 4/2 มี ความใฝ่เรยี นรู้จานวนระดับดีมาก จานวน 24 คน ม 4/3 มีความใฝเ่ รียนรใู้ นระดับดมี าก 31 คน ท่ีเหลอื อยู่ใน ระดับ ดี ปญั หา ความร่วมมอื ในการทางานกลุ่ม บันทึกการแก้ปญั หา / พัฒนา แกป้ ัญหาโดยการแบ่งกลุ่มโดยการแบ่งตามเลขที่ และสรา้ งความสามัคคี โดยมีคะแนนโบนัสให้ นักเรยี นกลมุ่ ท่ชี ว่ ยกันตอบปัญหาและได้คะแนนมากที่สุด ลงชอ่ื .....................................................ผู้จดั กจิ กรรม (นางสาวจันทรด์ ี ดฝี นั้ )

12 บันทกึ หลงั การสอน แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 4 ผลการเรยี นรสู้ รปุ ได้ดังน้ี ดา้ นความรู้ จากการประเมิน วิเคราะห์ประเภทและอธิบายสมบตั ิของวัสดุ ในสง่ิ ของเครื่องใชพ้ ร้อมท้ังให้เหตุผล ประกอบ ไดถ้ ูกตอ้ งครบถว้ น ระดบั ดมี ากได้ จานวน 79 คน ไดค้ รบถว้ นถูกตอ้ งเป็นสว่ นใหญ่ ระดับดี จานวน 26 คน ได้ค่อนขา้ งครบถว้ นถูกต้อง ระดับพอใช้ จานวน 13 คน วเิ คราะห์เครื่องมือชา่ งพน้ื ฐาน ในการสร้างเคร่ืองมือเคร่ืองใช้ ได้ถูกตอ้ ง ครบถ้วนระดับดีมากได้ จานวน 113 คน ถูกต้องเป็นส่วนใหญร่ ะดบั ดี จานวน 5 คน วเิ คราะห์การใช้งานและสว่ นประกอบของ อปุ กรณ์ไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนิกสข์ องเครื่องใช้ ไดถ้ ูกตอ้ งครบถ้วน ระดบั ดมี ากได้ จานวน 89 คน ไดค้ รบถว้ นถกู ตอ้ งเป็นส่วนใหญ่ ระดบั ดี จานวน 26 คน ได้คอ่ นขา้ งครบถว้ นถกู ต้อง ระดบั พอใช้ จานวน 13 คน ด้านทักษะ ใช้อปุ กรณ์หรือเคร่ืองมือ วสั ดุ ในการสร้างกระเป๋าได้ ไดอ้ ย่างเหมาะสมดีมาก ระดบั ดมี ากได้ จานวน 89 คน ไดอ้ ย่างเหมาะสมมาก ระดับดี จานวน 26 คน ไดเ้ หมาะสม ระดบั พอใช้ จานวน 13 คน ดา้ นคุณลักษณะ นักเรียนมคี วามพอเพียงมีความรู้ คุณธรรม พอประมาณ เหตุผล ภมู คิ ุ้มกนั นาสูว่ ตั ถุ สังคม วฒั นธรรม และส่ิงแสดล้อม ครบทกุ ดา้ นทกุ คน ปญั หา นักเรยี นส่งงานชา้ บนั ทกึ การแกป้ ัญหา / พัฒนา ได้ปรับแก้ไขโดยใหเ้ พื่อนเตือนเพอื่ น ลงชอ่ื .....................................................ผู้จัดกจิ กรรม (นางสาวจนั ทรด์ ี ดีฝั้น)

13 บนั ทกึ หลงั การสอน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 ผลการเรยี นรู้สรปุ ไดด้ ังน้ี ดา้ นความรู้ จากการตรวจใบกิจกรรม วิเคราะห์กลไก และการทางานของอุปกรณ์ไฟฟา้ และเล็กทรอนิกส์ ไดถ้ ูกต้องครบถว้ น ระดับดีมากได้ จานวน 77 คน ได้ครบถ้วนถูกตอ้ งเปน็ สว่ นใหญ่ ระดับดี จานวน 28 คน ไดค้ ่อนข้างครบถว้ นถูกต้อง ระดับพอใช้ จานวน 8 คน ไมค่ รบถ้วนหรือไมค่ ่อยถูกตอ้ ง ระดับปรบั ปรุง จานวน 5 คน นกั เรยี นวิเคราะห์และอธบิ ายความสมั พนั ธ์ของการทางานอุปกรณ์ไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ได้ ดา้ นทกั ษะ ออกแบบวิธีแกป้ ญั หาหรือพัฒนางานโดยประยุกต์ใชค้ วามรู้เก่ยี วกบั กลไก อุปกรณ์ไฟฟ้าและอุปกรณ์ อเิ ล็กทรอนิกส์ ไดอ้ ยา่ งถกู ต้องและปลอดภัย ระดบั ดมี าก จานวน 66 คน ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งหรือปลอดภยั ระดับดี จานวน 41 คน ไดพ้ อใช้ จานวน 8 คน ดา้ นคณุ ลกั ษณะ นกั เรยี นมีใฝ่เรยี นรู้ นกั เรยี นช้ัน ม 4/1มคี วามใฝ่เรียนรู้ในระดบั ดีมาก 42 คนนกั เรียน ชั้น ม 4/2 มี ความใฝ่เรียนร้จู านวนระดบั ดีมาก จานวน 24 คน ม 4/3 มีความใฝเ่ รียนรู้ในระดบั ดีมาก 31 คน นอกน้ันใน ระดับ ดี ปัญหา เวลา ในการเรียนไม่พอ จึงไดใ้ ช้สอ่ื ของจริง เป็นของเล่นเด็ก และอุปกรณ์ทีใ่ ช้ในชีวติ ประจาวัน และได้ ปรับกิจกรรม บันทึกการแก้ปญั หา / พัฒนา เพิม่ เวลา เป็น 3 ช่วั โมง และปรบั กจิ กรรม ให้นักเรยี นออกแบบช้นิ งานทาเป็นกระเปา๋ สาหรับ นกั เรียนกลุม่ ที่ไม่มผี า้ ในการทากิจกรรม ครูผสู้ อนไดเ้ ตรียมกระเป๋าผ้าไว้ใหแ้ ละใหน้ กั เรียนออกแบบและเตรียม วัสดุ อยา่ งอน่ื เช่น วัสดุในการตกแตง่ ดา้ ย เข็ม และอน่ื ๆ ลงชอ่ื .....................................................ผู้จดั กจิ กรรม (นางสาวจนั ทรด์ ี ดีฝนั้ )

14 บันทกึ หลงั การสอน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 ผลการเรยี นรสู้ รุปไดด้ งั นี้ ด้านความรู้ จากการตรวจกจิ กรรม วเิ คราะห์ชนิ้ งานหรอื วธิ ีการแกป้ ญั หาตามกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ไดถ้ ูกต้องทัง้ หมด ระดบั ดีมากได้ จานวน 94 คน ได้ถูกต้องเปน็ ส่วนมาก ระดบั ดี จานวน 17 คน ค่อนข้างถูกตอ้ ง ระดบั พอใช้ จานวน 3 คน ถกู ต้องเล็กน้อย ระดบั ปรบั ปรุง จานวน 4 คน ด้านทักษะ ตรวจกิจกรรม วิเคราะหช์ ้นิ งานหรือวิธกี ารแก้ปญั หาตามกระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม ตามจุดประสงคใ์ ช้เทคนิคหรือวธิ กี ารเพื่อวิเคราะห์ข้อมูลในการแกป้ ัญหาตามกระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม ไดถ้ ูกตอ้ งทั้งหมด ระดับดมี ากได้ จานวน 86 คน ได้ถกู ต้องเปน็ สว่ นมาก ระดับดี จานวน 25 คน ค่อนข้างถูกต้อง ระดบั พอใช้ จานวน 3 คน ถูกต้องเลก็ น้อย ระดับปรับปรุง จานวน 4 คน ดา้ นคุณลักษณะ ความม่งุ ม่ันการทางาน ความม่งุ ม่นั การทางาน ดีมากทกุ คน ปัญหา กิจกรรมวเิ คราะห์ชนิ้ งานหรอื วธิ กี ารแก้ปญั หาตามกระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรมนักเรียนไมไ่ ดท้ า ในเวลาเนอ่ื งจากเวลาไม่พอได้มอบหมายให้นักเรียนทาเป็นการบ้าน บนั ทกึ การแกป้ ญั หา / พัฒนา มอบหมายนักเรยี นทางานเป็นการบ้าน ลงชอื่ .....................................................ผจู้ ดั กจิ กรรม (นางสาวจนั ทรด์ ี ดฝี ั้น)

15 บนั ทกึ หลงั การสอน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 ผลการเรียนรู้สรุปไดด้ ังน้ี ด้านความรู้ จากการตรวจกจิ กรรม ประยุกต์ใช้กระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรมในการแก้ปัญหาหรือพฒั นางาน ในชวี ติ ประจาวัน ไดถ้ ูกต้องทกุ ประเดน็ ระดับดมี ากได้ จานวน 82 คน ได้ถกู ต้อง4-5 ประเดน็ ระดับดี จานวน 23 คน ได้ถูกต้อง 2-3 ประเดน็ ระดบั พอใช้ จานวน 13 คน ถูกต้องน้อยกวา่ 2 ประเดน็ ระดับปรับปรุง จานวน - คน ดา้ นทักษะ ตรวจกิจกรรมประยุกต์ใช้กระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม ใหน้ กั เรยี นสร้างช้นิ งานโดยใช้ กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรมในการแกป้ ัญหาหรือพัฒนางานในชวี ติ ประจาวันวิศวกรรม ไดด้ มี าก ระดบั ดมี ากได้ จานวน 82 คน ได้ดี ระดบั ดี จานวน 23 คน พอใช้ ระดบั พอใช้ จานวน 13 คน ปรับปรุง ระดับปรบั ปรงุ จานวน - คน ด้านคณุ ลักษณะ ความมุ่งม่ันการทางาน ความมุ่งมนั่ การทางาน ดีมาก 83 คน ความมุง่ มน่ั การทางาน ดี 35 คน ปญั หา เนอ่ื งจากเวลาไม่พอไดพ้ ัฒนากจิ กรรม ไดป้ รับลดเวลา จาก 3 คาบ เหลอื 1 คาบ โดยใชก้ จิ กรรม แบบ JIGSAW แบง่ นักเรยี นออกเป็น 6 กลมุ่ ให้จับฉลากศึกษากรณีศกึ ษา 3 กรณี กรณีศึกษา 1 แบบชดุ อปุ กรณ์รบั ประทานอาหารสาหรบั ผสู้ งู อายทุ ่ีขอ้ น้วิ มือเส่ือม จานวน 2 กลุ่ม กรณศี ึกษา 2 การพฒั นาข้ันตอนการให้บริการสาหรบั โรงพยาบาลทางจิตเวชจิตเวช จานวน 2 กลุม่ กรณศี ึกษา 3 ขาเทยี มสาหรบั คนพกิ ารแบบปรบั อัตราหน่วง จานวน 2 กลุม่ ให้นกั เรยี นศึกษา 15 นาที และสรปุ ตามกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เพอ่ื นาเสนอกลมุ่ ละ 3 – นาที ปัญหานักเรียนท่ีไมแ่ สดงความคิดเห็น ได้แก้ปัญหาโดยการให้เป็นผู้บนั ทึก บันทึกการแกป้ ญั หา / พัฒนา ไดพ้ ัฒนา ความม่งุ มั่นในการทางาน โดยใหค้ ะแนนโบนสั สาหรับกลุ่มนกั เรียนทีส่ ง่ งานตรงเวลาและ ผลงานเป็นแบบอย่างท่ีดี 1 คะแนน และ ลงช่ือ.....................................................ผจู้ ัดกจิ กรรม (นางสาวจนั ทร์ดี ดฝี ัน้ )

16 ภาคผนวก ผลงานนกั เรียน

17

18


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook