เรื่อง คอมพวิ เตอร์และประเภทของคอมพิวเตอร์ จดั ทำโดย นาย ธนภูมิ ชมภศู รี สทย.1/1-2 016 เสนอ อาจารย์ ศิริลกั ษณ์ รายงานเลม่ น้ีเป็นส่วนหน่ึงของวิชา เทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือการจดั การอาชีพ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2565 วิทยาลยั เทศนิคลาพูน
สำรบัญ หน้ำ 1 เรื่อง 1-3 ความหมายของคอมพิวเตอร์ 3-5 ประโยชน์ของคอมพวิ เตอร์ 6-8 ประเภทของคอมพวิ เตอร์ 8-12 คอมพิวเตอร์ยคุ ใหม่ คอมพิวเตอร์ในอนาคต มแี นวโนม้ จะพฒั นาไปทิศทางใด 13 ปัญหาและขอ้ จำกดั ของการใช้งานคอมพวิ เตอร์ 14 แหล่งทมี่ า
หน่วยท่ี 1 คอมพิวเตอร์และประเภทของคอมพิวเตอร์ 1.ควำมหมำยของคอมพวิ เตอร์ คอมพิวเตอร์ (Computer) หมายถึงอิเล็กทรอนิ กส์ สามารถเก็บและจาขอ้ มูลรวมถงึ ชุดคาสัง่ ในการทางาน ได้ทาให้สามารถทางานได้โดยอัตโนมัติ ด้วยอัตรา ความเร็วท่ีสูงมาก ใชเ้ พือ่ ประโยชน์ในการคานวณหรือ ทางานต่าง ๆ ได้เกือบทุกชนิดทุกประเภทและแสดง ผลลพั ธ์ออกมาในรูปแบบต่าง ๆไดอ้ ย่างรวดเร็วถูกต้อง คอมพิวเตอร์มาจากรากศพั ท์ภาษาลาตินว่า Computer พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ( 2540) ได้ บญั ญตั ิไว้ว่า Computer : คอมพิวเตอร์,คณิตกรณ์ หมายถึง เคร่ืองคานวณหรือผูค้ านวณ มีหน้าที่คานวณและ เปรียบเทยี บ (ประมวลผลขอ้ มลู ) ตามคาสั่งท่มี นุษยจ์ ดั เตรียมไวใ้ นรูปแบบของโปรแกรมหรือชดุ คาสง่ั ตา่ ง ๆ 2.ประโยชน์ของคอมพวิ เตอร์ 1. ด้ำนกำรศกึ ษำ - ชว่ ยนาเสนอขอ้ มูลไดห้ ลากหลายรูปแบบ - ช่วยรวบรวมขอ้ มูลต่าง ๆ ไว้ในแหล่งขอ้ มูลเดยี วกัน - ช่วยให้ผเู้ รียนสามารถศกึ ษาหาความรูไ้ ดด้ ว้ ยตนเอง - ชว่ ยแลกเปล่ยี นและนาเสนอแนวความคิดของผเู้ รียนและผอู้ ่ืน 2. ด้ำนกำรสื่อสำร - ชว่ ยประหยดั เวลาและคา่ ใช้จา่ ยในการติดต่อส่ือสาร - เป็นส่ือกลางในรับและส่งขอ้ มูลจากท่ีหน่ึงไปยงั อกี ทหี่ น่ึง - ชว่ ยกระจายขอ้ มูลจากแหลง่ ขอ้ มูลหน่ึงไปยงั ผู้ใช้ทุกคน
3.ด้ำนกำรบรหิ ำรประเทศ - เป็นช่องทางการรับรู้ขอ้ มูลจากประชาชน - เป็นช่องทางการนาเสนอขอ้ มลู ไปสู่ประชาชน - ส่งเสริมการแสดงออกซ่ึงประชาธิปไตย - เพิ่มทศั นคตทิ ี่เกย่ี วกบั การบริหารประเทศดา้ นบวกให้แกป่ ระชาชน 4. ด้ำนสังคมศำสตร์ - ช่วยเก็บขอ้ มลู สถติ ดิ า้ นสงั คมศาสตร์ - ชว่ ยคานวณแนวโน้มปัญหาทีอ่ าจเกดิ ข้ึนในอนาคต 5. ด้ำนวิศวกรรม - ชว่ ยออกแบบและคานวณโครงสรา้ งบา้ นและอาคาร - สร้างโมเดลจาลองก่อนการสร้างโมเดลจริง - ช่วยประมวลผลและประเมินสถานการณ์ท่ีอาจเกดิ ปัญหาข้ึนในอนาคต 6. ด้ำนวิทยำศำสตร์ - ช่วยเก็บและประมวลผลขอ้ มลู ในงานวจิ ยั และการทดลองต่าง ๆ - เชื่อมต่อกบั อปุ กรณ์ทางวิทยาศาสตร์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของอุปกรณน์ ้ัน - ชว่ ยทางานวจิ ยั หรืองานทดลองท่มี คี วามละเอียดและมขี นาดท่เี ลก็ ๆ ได้ - สรา้ งแบบจาลองงานทดลองเพ่ือลดความผดิ พลาดจากการทดลองกบั ของจริง 7. ด้ำนกำรแพทย์ - ลดความผดิ พลาดและเพ่ิมความแม่นยาในการวนิ ิจฉัยและรักษาโรค - เผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกบั การดแู ลรักษาสุขภาพ - ชว่ ยลดเวลาในการักษาโรค 8. ด้ำนอุตสำหกรรม - ช่วยควบคมุ การผลิตชนิ้ งานให้ไดป้ ริมาณและคุณภาพตามตอ้ งการ - ช่วยทางานในพื้นท่เี สี่ยงภยั หรืองานที่มนุษยไ์ ม่สามารถทาได้
- ชว่ ยลดปัญหาการขาดแคลนแรงงาน - ช่วยคานวณปริมาณวตั ถดุ ิบ สินคา้ และกาไร 9. ด้ำนธุรกจิ - เป็ นช่องทางในการนาเสนอสินคา้ - ช่วยตรวจสอบและสง่ั ซ้ือสินคา้ ตา่ ง ๆ - ขยายโอกาสทางธุรกจิ ให้แกผ่ ทู้ ี่มีเงินทุนต่า - ช่วยคานวณตวั เลขทางธุรกิจไดอ้ ย่างแม่นยา - เพ่ิมความสะดวกในการซ้ือและขายสินคา้ จากทวั่ โลก 10. ด้ำนควำมบันเทงิ - ช่วยใหเ้ กิดความสนุกสนานและทาใหร้ ู้สึกผ่อนคลาย - เพ่ิมทกั ษะการใช้คอมพิวเตอร์ - ส่งเสริมความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ - ส่งเสริมพฒั นาการทางดา้ นสมอง 3. ประเภทของคอมพิวเตอร์ มีอะไรบ้ำง 3.1 แบ่งตำมลักษณะของข้อมูล มี 3 ประเภท คอื 1.อนำล็อกคอมพิวเตอร์ (Analog Computer) เป็นเครื่องคอมพวิ เตอร์ที่สร้าง ข้นึ เป็นพิเศษ เพื่อใช้กับงานเฉพาะดา้ น มีการทางานโดยใช้หลกั ในการวดั มี ลักษณะเป็ นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ท่ีแยกส่วนทาหน้าที่เป็ นตัวกระทาและ ฟังก์ชนั ทางคณิตศาสตร์ โดยใชค้ ่าระดบั แรงดนั ไฟฟ้าเป็นหลกั ในการคานวณ และการรับขอ้ มูลจะรับในลักษณะของปริมาณท่ีมีคา่ ต่อเน่ือง ส่วนการรับข้อมูลสามารถรับขอ้ มูลได้โดยตรงจาก แหล่งเกิดข้อมูล แลว้ แสดงผลออกมาทางจอภาพ หรืออ่านค่าไดจ้ ากเครื่องวดั และแทนคา่ เป็ นอุณหภูมิ ความเร็ว หรือความดนั มีความละเอียดและสามารถคานวณได้น้อยกว่าดิจิทัลคอมพิวเตอร์ ไม่สามารถเก็บขอ้ มูลไ ด้เป็ น
จานวนมากเหมือนกบั ดจิ ิทัลคอมพิวเตอร์ ไดแ้ ก่ เคร่ืองที่ใชว้ ดั ปริมาณทางฟิ สิกส์ ซ่ึงผลลพั ธท์ ี่ไดจ้ ะออกมาในรูป ของกราฟ เครื่องคอมพิวเตอร์ทตี่ รวจสภาพอากาศ และที่ใช้ในวงการแพทย์ เช่น เคร่ืองตรวจวดั สายตา ตรวจวดั คลื่นสมองและการเตน้ ของหัวใจ 2 .ดิจิทัลคอมพิวเตอร์ (Digital Computer) เป็ น เค รื่ อง ค อ ม พิว เต อ ร์ ท่ี ท า ง า น โด ย ใ ช้ห ลัก ใ น ก า ร คานวณแบบลูกคิด หรือหลักการนับ และทางานกบั ขอ้ มูลแบบไม่ต่อเน่ือง ลักษณะการคานวณจะแปลง เลขเลขฐานสิบก่อน แลว้ จึงประมวลผลดว้ ยระบบ เลขฐานสอง แล้วให้ผลลัพธ์ออกมาอยู่ในรูปของ ตวั เลข ซ่ึงคอมพิวเตอร์จะแปลงเป็ นเลขฐานสิบเพอื่ แสดงให้ผใู้ ช้เขา้ ใจง่าย มคี วามสามารถในการคานวณและมีความแม่นยามากกว่าอนาล็อกคอมพิวเตอร์ สามารถ เก็บขอ้ มูลได้เป็ นจานวนมากจึงต้องใช้สื่อในการบันทึกข้อมูล เช่น จานแม่เหล็ก และเทปแม่เหล็ ก เป็ นต้น เนื่องจากดิจิทลั คอมพิวเตอร์มีอุปกรณ์ช้ินส่วนต่าง ๆ เป็ นมาตรฐานเดยี วกันและใช้กับงานไดอ้ ย่างแพร่หลายใน ปัจจุบนั ทาให้ดิจิทลั คอมพิวเตอร์มีการพฒั นาใหส้ ามารถทางานไดเ้ หมาะสมกบั สภาพงานทั่วไป เช่น งานพิมพ์ เอกสาร งานคานวณ งานวจิ ยั เปรียบเทยี บคา่ ทางสถติ ิ งานบนั ทึกนดั หมาย งานส่งขอ้ ความในรูปเอกสาร ภาพและ เสียง ตลอดจนงานกราฟิกเพอ่ื นาเสนอในรูปแบบต่าง ๆ 3.ไฮบริดคอมพิวเตอร์ (Hybrid Computer) เป็ นเคร่ื อง คอมพิวเตอร์ท่ีใช้กบั งานเฉพาะดา้ น มีประสิทธิภาพสูงและ สามารถทางานที่ซับซ้อนได้ เนื่องจากการนาเทคนิคการ ทางานของอนาล็อกคอมพิวเตอร์และดิจทิ ลั คอมพิวเตอร์มา ใช้งานร่วมกนั เช่น การส่งยานอวกาศขององค์การนาซา จะ ใช้เทคนิคของอนาล็อกคอมพวิ เตอร์ในการควบคุมการหมุน ของตวั ยานอวกาศ ซ่ึงเกีย่ วขอ้ งกบั ความกดดนั อากาศ อุณหภมู ิ ความเร็ว และใช้เทคนิคของดิจิทลั คอมพวิ เตอร์ใน การคานวณระยะทางจากพื้นผวิ โลก เป็นตน้
3.2 แบ่งตำมขนำดและควำมสำมำรถ มี 5 ประเภท คือ 1. ซุปเปอร์คอมพวิ เตอร์ (Supercomputer) คือ เป็นคอมพิวเตอร์ท่ีมี ขนาดใหญท่ ่สี ุด สร้างสามารถประมวลผลได้กวา่ 100 ลา้ นคาสงั่ ตอ่ วินาที จึงทาให้ทางานไดร้ วดเร็วและมีประสิทธิภาพสูง มีราคาแพงที่สุด เป็ น เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เหมาะกบั งานคานวณที่ต้องคานวณตวั เลขจานวน มหาศาล ให้เสร็จภายในระยะเวลาอนั ส้นั 2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer) เป็ นเครื่ อง คอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ มีความเร็ ว ใน การ ประ มวลผ ลสู ง ร อง ลง มา จ า ก ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ตอ้ งอยู่ในห้องท่ีควบคุมอุณหภูมิและปราศจากฝ่นุ ละออง และได้รับการพฒั นาให้มีหน่วยประมวลผลหลายหน่วยทางาน พรอ้ ม ๆ กนั 3. มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) เป็ นเคร่ืองคอมพิวเตอร์ที่มี ขนาดกลางท่ีมีประสิทธิภาพในการทางานน้อยกว่าเมนเฟรม แตส่ ูงกว่า ไมโครคอมพิวเตอร์สามารถรองรับการทางานจากผู้ใช้หลายร้อยคน (Multi-user) ในการทางานทแี่ ตกตา่ งกนั (Multi Programming) 4. เวิร์คสเตชันคอมพวิ เตอร์ (Workstation Computer) เป็นเครื่อง คอมพิวเตอร์แบบต้ังโต๊ะ ที่สนับสนุนการทางานของคอมพิวเตอร์ เครือข่าย ซ่ึงใช้ในการจดั สรรและใช้ทรัพยากรร่วมกนั เช่น แฟ้มข้อมูล โปรแกรมประยกุ ต์ อุปกรณค์ อมพวิ เตอร์ เชน่ เครื่องพมิ พแ์ ละอุปกรณ์อื่น ๆ โดยการเช่ือมโยงกบั เทอร์มินอล (Terminal) หลาย ๆ เครื่อง 5. ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) เป็ นเครื่องคอมพิวเตอร์ ขนาดเล็ก ราคาถกู สามารถเรียกไดอ้ ีกอย่างหน่ึงวา่ เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วน บุคคล (Personal Computer หรือ PC) เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์จาแนกออกไดเ้ ป็ น 2 ประเภทใหญๆ่
4. คอมพิวเตอร์ยุคใหม่ ในการใช้คอมพวิ เตอร์ในปัจจุบนั มีแนวโน้มที่สูงข้ึนเร่ือย ๆ และนามาใช้กบั งานที่ซับซ้อนมากย่ิงข้ึน จากที่แตเ่ ดมิ บางหนว่ ยงานเอาคอมพวิ เตอร์มาชว่ ยสาหรับงานประมวลผลเล็กๆ เทา่ น้ันแตป่ ัจจบุ นั ไดพ้ ฒั นาให้สามารถ เช่อื มโยงกนั ไดอ้ ย่างทว่ั ถึงการออกแบบตวั เคร่ืองคอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ๆก็ไดม้ ีการปรับปรุงขนาดใหเ้ ล็กลงและมี รูปลกั ษณท์ ่แี ปลกตามากย่งิ ข้ึน บางเครื่องมีการออกแบบทีเ่ น้นให้รูปลักษณ์ภายนอก สามารถเป็ นเคร่ืองประดบั หรือเฟอร์นิเจอร์ของห้องทางานไดอ้ ีกดว้ ย รูปลักษณ์ของไมโครคอมพวิ เตอร์ทวั่ ๆ ไป รวมถงึ คอมพวิ เตอร์มือถือ ที่เราอาจพบเห็นหรือหามาใชง้ านไดข้ อจาแนกออกไดเ้ ป็นรายกล่มุ ดงั น้ี 4.1 เดสก์ท็อป (Desktop) เป็ นคอมพิวเตอร์ขนาด ต้งั โตะ๊ ท่ใี ชใ้ นสานกั งานหรือตามบา้ นทว่ั ไป นิยาม ใช้สาหรับการประมวลผล เช่น พิมพ์รายงาน ดู หนัง ฟังเพลง ท่องอินเทอร์เน็ตหรือเล่นเกม เป็ น ตน้ ตวั เครื่องและจอภาพสามารถจดั วางเพ่ือทางาน บนโต๊ะได้อย่างสบาย ซ่ึงปัจจุบันจะมีการผลิตท่ี เน้นให้มีความสวยงามน่าใช้มากย่ิงข้นึ และได้รับ ความนิยมในการใช้งานมากเน่ืองจากราคาท่ถี ูกลง 4.2 โน้ตบ๊คุ (Notebook ) คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊คน้ันมี คณุ สมบตั ิทีใ่ กลเ้ คียงกบั เคร่ืองซีพี แต่จะมีขนาดเล็ก และบางลงมีน้าหนักเบา สามารถพกพาไดส้ ะดวก มากย่ิงข้ึน และมีข้อแตกต่างอีกประการหน่ึงคือ โน้ตบุ๊ค จะมีแบตเตอรี่ไว้ใช้สาหรับการทางาน ด้ว ย ที่ ส า คัญ คื อ ร า ค า ถู ก ล ง ก ว่ า เ มื่ อ ก่ อ นน้ี มาก โน้ตบุ๊ครุ่นใหม่ในปัจจุบันได้รับการพัฒนา
อยา่ งต่อเน่ือง ส่วนใหญ่เหมาะกบั ผทู้ ี่ ตอ้ งการความสะดวกสบายในการทางาน เช่น ตอ้ งยา้ ยสถานท่ีในการทางาน บอ่ ย ๆ หรือจาเป็นตอ้ งเตรียมขอ้ มลู นาเสนองานลูกคา้ นอกสานักงาน เป็นตน้ 4.3 เดสก์โน้ต( Desknote) เป็ นเคร่ืองคอมพิวเตอร์พกพาอีกแบบหน่ึงที่คลา้ ยๆกบั เคร่ืองแบบโน้ตบ๊คุ แต่ต่างกนั ตรงท่ีเดสก์โน้ตน้ันไม่มีแบตเตอร่ีท่ีคอยจ่ายไฟให้ จึง ตอ้ งเสียบปลกั๊ ตลอดเวลาท่ีใชอ้ ีกท้งั ราคาถูกกวา่ โน้ตบุ๊ค เหมาะสาหรับผู้ใช้งานที่มีสานักงานหลาย ๆ ท่ี และ เดินทางไปมาบ่อย ๆ เคร่ืองคอมพิวเตอร์แบบน้ีจะมี คุณสมบัติต่าง ๆ เหมือนกบั โน้ตบุ๊ค เพียงแต่ตัวเครื่อง จะมีขนาดหนากว่าโน้ตบุค๊ บา้ งเลก็ น้อยเท่าน้ัน 4.3.1 ควำมแตกต่ำงระหว่ำง เดสก์โน้ตกับโน๊ตบ๊คุ เป็นเครื่องคอมพวิ เตอร์พกพาอีกแบบหน่ึงท่ีคลา้ ย ๆ กบั เครื่องแบบโน๊ตบุ๊ค แตต่ ่างกนั ตรงที่เดสกโ์ น้ตน้นั ไม่มีแบตเตอร่ีท่ีคอยจา่ ยไฟให้ จงึ ตอ้ งเสียบปล๊ัก ตลอดเวลาท่ีใช้อีกท้งั ราคาถกู กว่าโนต๊ บุ๊ค เหมาะสาหรบั ผใู้ ชง้ านท่ีมสี านกั งานหลาย ๆ ท่ี และเดนิ ทางไปมา บ่อย ๆ เครื่องคอมพิวเตอร์แบบน้ีจะมคี ุณสมบตั ติ ่าง ๆ เหมือนกบั โน๊ตบคุ๊ เพียงแตต่ วั เคร่ืองจะมขี นาดหนา กวา่ โน๊ตบคุ๊ บา้ งเล็กน้อยเทา่ น้ัน 4.4 แท็บเล็ต (Tablet) เป็ นคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลชนิดหน่ึงที่มี ขนาดเลก็ กวา่ คอมพิวเตอร์โนต้ บคุ๊ พกพาง่าย น้าหนกั เบา มคี ียบ์ อร์ด (keyboard) ในตัว หน้าจอเป็ นระบบสัมผัส (Touch-screen) ปรับ หมนุ จอไดอ้ ตั โนมตั ิ แบตเตอร่ีใชง้ านไดน้ านกว่าคอมพิวเตอร์พกพา ทั่วไป ระบบปฏิบัติการมีท้ังท่ีเป็ น Android, IOS และ Windows ระบบการเชอื่ มตอ่ สญั ญาณ 4.4.1 แท๊บเล็ตพีซี Tablet PC (Table Personal Computer)แท็บ เล็ตพีซี (Tablet PC) เป็นเครื่องคอมพวิ เตอร์อีกประเภทหน่ึงที่ มคี ณุ สมบตั ิการทางานใกลเ้ คียงกบั คอมพวิ เตอร์แบบโน้ตบุ๊กโดยทว่ั ไป แตค่ ุณสมบตั ิทแี่ ตกตา่ งกนั อย่างเห็น
ไดช้ ดั ก็คือ ผู้ใช้สามารถป้อนข้อมูลเขา้ ไปได้โดยการเขียนบนจอภาพเหมือนกบั การเขยี นขอ้ ความลงไปใน สมุดโน๊ตและเครื่องสามารถทีจ่ ะปลอ่ ยขอ้ มลู ต่างๆเหล่าน้ันเกบ็ ไวไ้ ด้ 5. คอมพวิ เตอร์ในอนำคต มแี นวโน้มจะพัฒนำไปทิศทำงใด อปุ กรณ์สาหรับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในอนาคตมีแนวโน้มเป็ นดงั น้ีคือ มขี นาดเล็กลง พกพาได้ ง่าย แต่มปี ระสิทธิภาพสูงข้ึน เช่น เก็บขอ้ มลู ได้มากข้ึน ประมวลผลไดเ้ ร็วข้ึน ใช้งานไดห้ ลากหลายมากข้นึ โดยมี การผนวกอุปกรณ์หลายๆอย่างไวใ้ นเคร่ืองเดียว ( all-in-one )ปัจุบนั มีการใช้แลนไร้สาย ( wireless LAN ) ใน สถาบนั การศึกษา และองค์กรหลายแห่ง การให้บริการแลนไร้สาย หรือ ( Wi-Fi ) ตามห้างสรรพสินค้า ร้านขาย เครื่องด่ืม หรือห้องรับรองของโรงแรมใหญ่ ภายใตค้ วามร่วมมือของผู้ใหบ้ ริการ ทาให้นักธุรกิจสามารถดาเนิน ธุรกรรมผ่านระบบอินเทอร์เน็ตแบบไร้สายได้ หรือบางรายอาจซื้อบริการอินเทอร์เน็ตแบบไร้สายผ่านทาง โทรศพั ทม์ ือถือ นอกจากน้ียงั เร่ิมมีการใช้เทคโนโลยตี ดิ ตามตาแหน่งรถดว้ ยจีพีเอส ( Global Positioning System: GPS ) กบั รถแทก็ ซ่ีเพอ่ื ความปลอดภัยท้งั ผูโ้ ดยสารและผขู้ บั รถ ระบบทางานอตั โนมตั ทิ ่สี ามารถตดั สินใจไดเ้ องจะ เขา้ มาแทนที่ ระบบทางานอตั โนมตั ิเช่นน้ี อาจกลายเป็นระบบหลกั ในการดาเนินการของหนว่ ยงานต่างๆ โดยเข้า มาแทนท่กี ารทางานของมนษุ ย์ มีการเช่ือมต่อเครือขา่ ยอย่างกวา้ งขวางไปยงั หน่วยงานทเี่ กยี่ วข้องมากกวา่ ทเ่ี ป็ นอยู่ ในปัจจบุ นั 5.1 ห่นุ ยนต์หรือโรบอต (Robot) หุ่นยนต์ หรือ โรบอต (robot) คอื เคร่ืองจกั รกลชนิด หน่ึง มลี กั ษณะโครงสรา้ งและ รูปร่างแตกต่างกนั หุ่นยนต์ในแต่ละประเภทจะมีหน้าทก่ี ารทางานในด้านตา่ ง ๆ ตามการควบคุมโดยตรงของมนุษย์ การควบคมุ ระบบต่าง ๆ ในการสง่ั งานระหว่าง หุ่นยนตแ์ ละมนษุ ย์ สามารถทาไดโ้ ดยทางออ้ มและอตั โนมตั ิ โดยทว่ั ไปหุ่นยนต์ถูก สร้างข้ึนเพ่ือสาหรับงานท่ีมีความยากลาบาก เช่น งานสารวจในพื้นที่บริเวณแคบ หรืองานสารวจดวงจนั ทร์ ดาวเคราะห์ทไ่ี ม่มีสิ่งมีชีวิต ในปัจจุบันเทคโนโลยีของ หุ่นยนต์เจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว และเริ่มเข้ามามีบทบาทกับชวี ิตของมนุษยใ์ น ด้านต่าง ๆ เช่น ด้านอุตสาหกรรมการผลิตแตกต่างจากเมื่อก่อนที่หุ่นยนต์มกั ถูก
นาไปใช้ ในงานอุตสาหกรรมเป็ นส่วนใหญ่ ปัจจุบันมีการนาหุ่นยนต์มาใช้งานมากข้ึน เช่น หุ่นยนต์ท่ีใช้ในทาง การแพทย์ หุ่นยนตส์ าหรับงานสารวจ หุ่นยนตท์ ่ใี ช้งานในอวกาศ หรือแมแ้ ต่หุ่นยนต์ที่ถูกสรา้ งข้ึนเพ่ือเป็นเคร่ือง เล่นของมนุษย์ จนกระทงั่ ในปัจจุบนั น้ีไดม้ ีการพัฒนาให้หุ่นยนต์น้ันมีลักษณะท่ีคล้ายมนุษย์ เพื่อให้อาศัยอยู่ ร่วมกนั กบั มนุษย์ ใหไ้ ดใ้ นชีวติ ประจาวนั 5.1.1 ประโยชน์และควำมสำมำรถของห่นุ ยนต์ - ทางานไดเ้ ร็วกว่า - ทางานไดอ้ ย่างตอ่ เนื่อง ไม่เหนด็ เหนื่อย - สำมำรถเลือกโปรแกรมห่นุ ยนต์ทต่ี อบโจทย์การทางานได้ - ทางานท่เี สี่ยงอนั ตรายได้ - ทางานไดอ้ ย่างแม่นยา - มีขอ้ ผดิ พลาดน้อยหรือไม่มเี ลย - ประหยดั เวลา - ลดตน้ ทุนดา้ นค่าแรงงาน 5.1.1.1 ควำมสำมำรถทำงด้ำนกำรแพทย์ ในงานดา้ นการแพทย์ เร่ิมนาเอาหุ่นยนต์แขนกลเข้ามามี ส่วนร่วมในการช่วยทาการผ่าตดั คนไข้ แพทยห์ ุ่นยนต์ที่ เข้ามาช่วยวินิจ ฉัยกา รรักษา โรค บาง ช นิดร่ ว มกับ แ พท ย์ ผเู้ ช่ยี วชาญ เนื่องจากหุ่นยนตน์ ้ันสามารถทางานในด้านที่มี ความละเอียดสูงที่เกินกว่ามนุษยจ์ ะทาได้ เช่น การนาเอา หุ่นยนต์มาใช้งานด้านการผ่าตัดสมอง ซ่ึงมีความจาเป็ น อย่างมากท่ีต้องการความละเอียดในการผ่าตดั หุ่นยนต์ แขนกลจึงกลายเป็ นส่วนหน่ึงของการผ่าตัดในด้าน การแพทย์ การทางานของหุ่นยนต์แขนกลในการผา่ ตดั จะ เป็นลกั ษณะการทางานของการควบคุมการผา่ ตดั โดยผ่าน ทางแพทย์ผู้ทาการผ่าตดั อีกที ซ่ึงการผ่าตัดโดยมีหุ่นยนต์ แขนกลเข้ามามีส่วนร่วมน้ันจะเน้นเร่ืองความปลอดภัยเป็ นอย่างสูง รวมท้ังความสามารถในการ เคลื่อนที่ของหุ่นยนต์ รวมถึงงานเภสัชกรรมทม่ี บี างโรงพยาบาลนาหุ่นยนต์มาใช้ในการจา่ ยยา
5.1.1.2 ควำมสำมำรถในงำนวิจัย หุ่นยนต์สามารถทาการสารวจงานวิจยั ทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์ ร่วมกบั มนุษย์ เช่น กา รสา รว จ ท้อง ทะเ ล ห รื อ มหาสมุทรที่มีความลึกเป็ นอย่างมาก หรือการสารวจบริเวณปากปลอ่ งภูเขา ไ ฟ เ พื่ อ เ ก็ บ บั น ทึ ก ข้ อ มู ล ก า ร เปล่ียนแปลงต่าง ๆ ซ่ึงเป็ นงานเส่ียง อันตรายที่เกินขอบเขตความสามารถ ของมนุษย์ที่ไม่สามารถปฏิบัติงาน สารวจเช่นน้ีได้ ทาให้ปัจจุบันมีการ พัฒนาหุ่นยนต์เพื่อใช้ในงานวิจัยและสารวจ เพ่ือให้หุ่นยนต์สามารถทนต่อสภาพแวดล้อมและ สามารถทาการควบคุมหุ่นยนต์ได้ในระยะไกลดว้ ยระบบคอนโทรล โดยมีเซนเซอร์ติดต้ังที่ตัว หุ่นยนต์เพื่อใช้ในการวดั ระยะทางและเกบ็ ขอ้ มลู ในส่วนต่าง ๆ ทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์ 5.1.1.3 ควำมสำมำรถในงำนอุตสำหกรรม หุ่ นยนต์เริ่ มมีบทบา ททา งด้า น เทคโนโลยีอุตสาหกร รมในข ณะ ท่ี งา นด้า นอุตสา ห กรรม มีค วา ม ต้องการดา้ นแรงงานเป็ นอย่างมาก การจ้างแรงงานจานวนมากเพ่ือใช้ ในงานอุตสาหกรรม ทาให้ต้นทุน ก า ร ผ ลิ ต ข อ ง แ ต่ ล ะ โ ร ง ง า น อุตสาหกรรม เพ่ิมจานวนสูงข้ึน และงาอุตสาหกรรมบางงานไม่สามารถท่ีจะใช้แรงงงานเขา้ ไปทาไดซ้ ่ึงบางงานน้ันอันตรายและมี ความเส่ียงเป็ นอย่างมาก หรือเป็นงานที่ต้องการความรวดเร็วและแม่นยาในการผลติ รวมท้งั เป็ นการ ประหยดั ระยะเวลา ทาใหห้ ุ่นยนตก์ ลายเป็นทางออกของงานดา้ นอตุ สาหกรรม
5.1.1.4 ควำมสำมำรถในด้ำนบริกำร โดยในปี 2564 น้ีทางบริษทั เฉิงกงั ไดร้ บั การ แต่งต้งั จาก Keenon Robot ให้เป็ นตัวแทน จ า ห น่ า ย หุ่ น ย น ต์ บ ริ ก า ร ( Service Robot) ในโรงงานอุตสาหกรรม ในยุค New Normal ชีวิตวิถีใหม่ ที่หลากหลาย ธุรกิจเร่ิมมีการปรับตัว รวมถึงโรงงาน อุตสาหกรรม ท่ีจาเป็ นต้องมีกา ร เว้น ระยะห่างหุ่นยนต์บริการ (Service Robot) ก็ยงั สามารถนามาใช้เป็ นหุ่นยนต์ส่งของ กบั บริษัท โรงงานอุตสาหกรรม ได้ดว้ ย ไม่ว่าจะเป็ นการเดินในไลน์ผลิต การนาส่งเอกสารไปยงั แผนก ตา่ งๆ เป็น Front Office , หอ้ งประชมุ สัมมนา เสิร์ฟน้า เสิร์ฟกาแฟ ฯลฯ ซ่ึงลว้ นเป็นการช่วยแบ่ง เบาภาระของพนักงานท่ีตอ้ งเสียเวลาในการเดินไปเดินมาได้ปฏิบตั ิหน้าที่ในส่วนอื่นๆให้เกิด ประสิทธิภาพแก่องค์กรไดด้ ยี ่งิ ข้ึน ลกั ษณะการทางานคลา้ ยกบั หุ่นยนต์ AGV แตม่ ีความคล่องตัว สูงกว่ารวมถงึ ราคาประหยดั กว่าพอสมควร
6. ปัญหาและขอ้ จำกดั ของการใช้งานคอมพวิ เตอร์ การนาเอาคอมพวิ เตอร์ไปประยุกตใ์ ช้ในงานตา่ งๆ จะเห็นไดว้ า่ ก่อให้เกดิ ประโยชน์มากมาย เช่น ชว่ ยใหท้ างานได้ เร็วและสะดวกข้นึ การวินิจฉัยหรือใหผ้ ลลัพธ์มีความแม่นยามากกว่าเดิม สามารถแบ่งเบาภาระงานของมนุษย์ลงไป อยา่ งมาก ในทางตรงกนั ขา้ มหากเราจะพิจารณาถึงขอ้ จากดั ของการใช้งานคอมพิวเตอร์แลว้ จะเห็นวา่ คอมพวิ เตอร์ เป็นเพยี งอุปกรณท์ ่ีมนุษยส์ รา้ งข้นึ มาสาหรบั แกไ้ ขปัญหาในรูปแบบตา่ งๆตามทม่ี นษุ ยส์ อนหรือกาหนดไวเ้ ท่าน้ัน คอมพวิ เตอร์ยงั ไม่สามารถเขา้ มาแทนที่มนุษยไ์ ด้ 100% เพราะถึงอยา่ งไรกต็ ามมนุษย์ก็ตอ้ งคอยเป็ นผคู้ วบคุมและ สร้างคาสั่งใหค้ อมพิวเตอร์ทางานไดอ้ ยดู่ ี ระบบคอมพิวเตอร์ ถึงแมจ้ ะมีความสามารถในเร่ืองของการคดิ และ ตดั สินใจไดแ้ ทนมนุษย์ แต่ก็เป็ นแคบ่ างเร่ืองหรือบางกรณีเทา่ น้นั ซ่ึงไมใ่ ช่ท้งั หมดทีเดียว การประมวลผลงาน บางอย่างของคอมพิวเตอร์อาจไมฉ่ ลาดเท่ากบั การคิดและตดั สินใจของมนุษย์ เพราะคอมพิวเตอร์จะทางานตามท่ี ไดร้ ับคาส่งั หรือตามขอ้ มลู ทไี่ ดร้ ับมาเท่าน้ัน กล่าวง่ายๆ ก็คือไดข้ อ้ มูลมาอยา่ งไรก็ทาตามไปแบบน้ัน หากไดร้ บั ขอ้ มูลท่ีผดิ พลาดหรือขอ้ มูลท่ไี ม่มีคุณค่าเขา้ ไปในระบบ ผลลพั ธท์ ไ่ี ดอ้ อกมากจ็ ะเป็นขอ้ มลู ท่ีผดิ พลาดและไม่เป็น ประโยชนต์ ามไปดว้ ย ปัญหาของผใู้ ช้คอมพิวเตอร์ท่ีพบมากท่ีสุดกค็ ือ \"ความรู้ไมท่ ันเทคโนโลยี\" ท่ีมีการ เปลีย่ นแปลงไปอยา่ งรวดเร็ว โดยเฉพาะเทคโนโลยที างดา้ นคอมพวิ เตอร์ ผู้ใชง้ านจึงจาเป็นอยา่ งย่ิงท่ีจะตอ้ งติดตาม ขา่ วสารและปรบั ตวั ให้ทนั สมัยตลอดเวลา อีกปัญหาทพี่ บเหน็ บ่อยกค็ ือ ปัญหาอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ ซ่ึงมกั จะ เกิดจากคนท่ีมีความรูแ้ ละความชานาญทางคอมพิวเตอร์เป็นพิเศษ แตก่ ลบั นาเอาความรูน้ ้ันไปใช้ในทางที่ผดิ และ สรา้ งความเสียหายแก่ผอู้ ื่นอยา่ งมากดงั น้ัน การที่คอมพวิ เตอร์จะทางานไดด้ แี ละมปี ระสิทธิภาพมากท่ีสุดจึงอยทู่ ่ี \"มนุษย\"์ ซ่ึงจะตอ้ งรูจ้ กั เลือกใชง้ านใหถ้ ูกวธิ ี ติดตาม ขา่ วสารเทคโนโลยที างดา้ นคอมพิวเตอร์อย่างสม่าเสมอ และมีความตระหนกั ถึงจริยธรรมในการใชง้ านโดยทว่ั ไปที่จะไม่สรา้ งความเสียหายแก่ผูอ้ ่นื ซ่ึงจะทาใหเ้ กิดปัญหา ในการใช้งานตามมาน้อยท่สี ุดนน่ั เอง ปญั หำของกำรใช้คอมพิวเตอร์ที่พบมำกท่ีสุด 1. คอมพิวเตอร์มีเสียงร้อง 2. อุปกรณต์ ่าง ๆ ไม่ทางาน 3. ไม่สามารถเขา้ Windows ได้ 4. ปัญหาตอ้ งต้งั เวลาใหม่ 5. แอพหรือโปรแกรมคา้ ง ทางานไมไ่ ด้ ปิดก็ไม่ได้ 6. เปิดคอมไมต่ ดิ
แหล่งทีม่ า 1. แหล่งทมี่ า: https://sites.google.com/a/suratham.ac.th/computer228/reuxng-thi-1-khwam-hmay-laea-rup- baeb-khxng-khxmphiwtexr 2. แหล่งทม่ี า: https://sites.google.com/site/karyktawxyangngan/prayochn-khxng-khxmphiwtexr 3. แหลง่ ทม่ี า: http://fonfoncom.blogspot.com/2014/11/blog-post_89.html 4. แหลง่ ที่มา: https://sites.google.com/site/khumxwu/khxmphiwtexr-laea-xupkrn-thorkhmnakhm/chnid- khxng-khxmphiwtexr 5. แหล่งที่มา: https://sites.google.com/site/charlottecedsiriruk/prapheth-khxng-khxmphiwtexr/baeng-tam- smrrthna-khnad-laea-rakha 6. แหล่งทม่ี า: https://sites.google.com/site/thipthanyaswc/khxmphiwtexr-yukh-him 7. แหล่งทมี่ า: https://lifestyle.campus-star.com/knowledge/181327.html 8. แหลง่ ทมี่ า: https://sites.google.com/site/ayutthayacomputer/chapter-01/1-4-payha-laea-khx-cakad- khxng-kar-chi-ngan-khxmphiwtexr 9. แหล่งที่มา: https://www.1belief.com/article/computer-problem/
Search
Read the Text Version
- 1 - 15
Pages: