Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปวิชา กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์

สรุปวิชา กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์

Published by channarong.56op, 2021-08-04 08:25:27

Description: สรุปวิชา กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์

Search

Read the Text Version

วิชา กจิ กรรมกลุ่มสัมพนั ธ์ โครงการพฒั นาหมบู่ า้ นเศรษฐกจิ พอเพียง ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 กิจกรรมย่อยท่ี 1 สรา้ งและพัฒนากลไกขับเคล่ือนในระดับพืน้ ที่ กจิ กรรมย่อยท่ี 1.1 สร้างแกนนำขับเคลื่อนหมบู่ า้ นเศรษฐกิจพอเพียง วิทยากร นายชาญณรงค์ จิรขจรกลุ นักทรัพยากรบคุ คล และทีมวทิ ยากร ศพช.ลำปาง วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพอ่ื สรา้ งความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งกลุ่มเป้าหมายด้วยกนั และทมี วทิ ยากรเพ่ือใหเ้ กดิ บรรยากาศ ทด่ี ีในการเรียนรู้ 2. เพ่ือแบง่ กลุ่มในการรว่ มดำเนินกจิ กรรมในแตล่ ะรายวชิ า ระยะเวลา จำนวน 1 ชั่วโมง ขอบเขตเนื้อหา 1. การแนะนำตนเองและทำความรู้จักกัน 2. การสรา้ งสัญลักษณ์ร่วม 3. การปรับฐานการเรียนรู้ ละลายพฤตกิ รรม 4. การสรา้ งผู้นำกลุ่ม/ผนู้ ำรุ่น 5. การรบั ผ้าพนั คอ 6. การมอบหมายภารกจิ กลมุ่ /บทบาทหน้าที่ 7. ความคาดหวงั เทคนิค/วธิ กี าร 1. ละลายพฤติกรรมด้วยวิธีการ “ถอดหัวโขน” ลดอายุให้เหมาะสมแก่กิจกรรม โดยใช้หลัก 3ค (คึกคัก คล่องแคล่ว คร้นื แครง) 2. แบง่ กล่มุ ให้คละกนั (ช/ญ) จำนวนเท่า ๆกัน คดั เลือกผู้นำกลุม่ (ผ้ใู หญ่บา้ น) สมาชกิ กลมุ่ พรอ้ มตำแหนง่ 3. ผูน้ ำกลุ่ม (ผใู้ หญ่บา้ น)คดั เลือกผู้นำร่นุ การอบรม (กำนนั ) 4. พิธรี บั มอบ ผ้าสมี อบภารกิจดูแลพน้ื ท่ี (กว.ประจำวนั /รับผิดชอบ) ขนั้ ตอน/การดำเนนิ การ ทีมวิทยากร ศพช.ลำปาง เริ่มต้นสร้างความ คึกคัก ครื้นเครง ด้วยเพลงสร้างบรรยากาศ จากนั้นส่ง ให้วทิ ยากรหลักแนะนำตนเอง และเร่มิ กิจกรรมการถอดหัวโขน พูดคุยพบปะ สร้างบรรยากาศให้เกิดความผ่อน คลาย สร้างความคุน้ เคย หลังจากน้ันวิทยากรให้ผูเ้ ขา้ รับการฝึกอบรมยกมอื ขวาขึน้ พร้อมกับจินตนาการว่า กำลังถอดหัวโขน (ยศ/ตำแหน่ง/อื่น ๆ) แล้วเขวี้ยงออกไปยังหม้อดินที่วิทยากรถืออยู่หน้าเวที เพื่อให้เกิด ความรู้สึกว่าทุกคนมีความเท่าเทียมกัน เกิดความเป็นกันเองมากขึ้น จากนั้นวิทยากรจะสอบถามอายุ ดำเนินการลดอายผุ ู้เขา้ ร่วมอบรมให้มีอายุเท่ากันทุกคน เพอื่ ใหเ้ หมาะสมกับการทำกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้ หลกั 3ค (คึกคกั คล่องแคล่ว ครื้นเครง)

วิทยากรเข้าสูก่ ระบวนการสร้างความพร้อม 1. เริ่มต้นด้วยกิจกรรมเพลง “หากว่าเรากำลงั สบายจง ปรบมือพลัน” (กิจกรรมเรียกความพร้อม) 2. ปรบมือตามจำนวนครัง้ ของวทิ ยากร ด้วยการเพิม่ จำนวนคร้ังไป เรื่อย ๆ (1 ครั้ง,2 ครั้ง,3 ครั้ง, ......... ,10+ ครั้ง)จนผู้เข้าอบรมปรบมือพร้อมกันทัง้ ห้อง (กิจกรรมเรียกความ พร้อม) 3. เพลง “ปรบมอื 5 ครั้ง” (ยักไหล่ 5 ที,กระทืบเท้า 5 ครั้ง) “ปรบมือ 5 ครั้ง(1 2 345 ) ปรบให้ดัง กว่านี้(1 2 345 ) ปรบใหม่อีกที(1 2 345 ) ปรบให้ดังกว่าเดิม(1 2 345 )” (กิจกรรมเข้าจังหวะ) 4. ปรบมือ +(บวก) –(ลบ) วิทยากรเริ่มด้วยการ +(บวก) ให้ผู้เข้าอบรมเพิ่มจำนวนการปรบมืออีก 1 ครั้งจาก คำสั่งของวิทยากร เช่น สั่งปรบมือ 1 ครั้งให้ผูเ้ ข้าอบรมปรบมือ 2 ครั้ง เป็นต้น และวิทยากรบอก –(ลบ) ให้ผู้ เข้าอบรมลดจำนวนการปรบมอื 1 ครัง้ จากคำสง่ั ของวิทยากร เชน่ คำสั่งปรบมือ 6 ครั้ง ให้ผ้เู ขา้ อบรมปรบมือ 5 ครง้ั เป็นต้น (กจิ กรรมเรยี กสติ สมาธิ) จากนน้ั วิทยากรสรา้ งกระบวนการคร้ันเครง กจิ กรรม “เกม 5 เฮ” เป็นการแสดงท่าทางประกอบเสยี ง 1. วิทยากรมีคำส่ังวา่ “1 (หนึง่ )” ให้ผูเ้ ขา้ อบรมแสดงท่าทางดว้ ยการ “ชูมอื ขวาขึ้นมา พร้อมร้องว่า เฮ” 2. วทิ ยากรมคี ำส่งั วา่ “2 (สอง)” ใหผ้ ูเ้ ข้าอบรมแสดงท่าทางด้วยการ “ชูมอื ซ้ายข้นึ มา พรอ้ มร้องวา่ เฮ” 3. วทิ ยากรมคี ำส่งั ว่า “3 (สาม)” ใหผ้ ้เู ขา้ อบรมแสดงท่าทางดว้ ยการ “ชมู อื ไขว้กนั (เปน็ ลักษณะกากบาท) ขน้ึ มา พร้อมรอ้ งว่า เฮ” 4. วิทยากรมีคำสั่งว่า “4 (สี่)” ให้ผู้เข้าอบรมแสดงท่าทางด้วยการ “ชูมือทั้งสองข้างขึ้นมา พร้อมร้องว่า เฮ เฮ” 5. วิทยากรมีคำสัง่ ว่า “1 (หนึ่ง) 2 (สอง) 3 (สาม) 4 (สี่)” ให้ผู้เข้าอบรมแสดงท่าทางตัง้ แต่คำส่ังที่ 1 ถึง คำส่ังท่ี 4 ดว้ ยการ “ชูมือขวาขึ้นมา พร้อมร้องว่า เฮ,ชมู ือซา้ ยข้ึนมา พร้อมร้องว่า เฮ,ชูมือไขว้กัน(เป็นลักษณะ กากบาท)ขน้ึ มา พร้อมรอ้ งวา่ เฮ,ชูมอื ทั้งสองข้างขึน้ มา พร้อมรอ้ งว่า เฮ เฮ” เข้าสกู่ ระบวนการแบ่งกล่มุ โดยให้ผู้เข้าอบรมเข้าแถวตอนแยกผู้เขา้ อบรมตามเพศชาย-หญิง และผู้เข้า อบรมครวั เรือน-พักพัฒนาพน้ื ท่ีตน้ แบบ(นพต.) โดยเรียงลำดับตาม พ.ศ.เกดิ จากก่อนไปหลัง วทิ ยากรให้ผู้เข้า รับการอบรมนับ 1 ถึง 4 ทั้งฝั่งชายและหญิง เพื่อแยกสมาชิกออกเป็น 4 กลุ่ม ซึ่งแต่ละกลุ่มจะมีสมาชิกคละ กันทั้งชายและหญิงในปริมาณที่ใกล้เคียงกันทุกกลุ่ม วิทยากรให้แต่ละกลุ่มนั่งประจำกลุ่มเพื่อให้สมาชิกทำ ความรู้จกั กนั ในเบ้อื งต้น สุม่ 1 - 2 กลมุ่ ให้พดู ชอื่ สมาชกิ ในกลุ่มเรียงลำดับพร้อมกันทกุ คน วิทยากรนำเข้าสู่กระบวนการคัดเลือกผู้นำ บ้าน โดยใหท้ ุกคนยกมือชูน้ิวชข้ี ้ึนด้านบน วิทยากร ใช้ คำสั่งว่า “ให้ชี้ไปหาคนในกลุ่มตนเองที่คิดว่า เหมาะสมจะเป็นผู้ใหญ่บ้านของกลุ่ม หลังจากนับ 1 2 3” ให้ผู้ที่โดนเพื่อนชี้มากที่สุดได้รับเลือกเป็น ผู้ใหญ่บ้านประจำกลุ่ม ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน และ เลขานกุ ารบา้ น จากนนั้ ให้ชว่ ยกนั เลือกบทบาทให้กับ สมาชิกกลุ่ม และวิทยากรชี้แจงหน้าที่ความ รับผิดชอบ ผู้ใหญ่บ้าน - เตรียมความพร้อมของบ้าน ทุกกิจกรรม และก่อนเริ่มเข้าสู่วิชาต่าง ๆ และนำกล่าวใส่รหัส สวัสดี/ขอบคุณ วิทยากรประจำวิชาหรือฐาน

เรียนรู้ ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน – สนับสนุนและปฏิบัติหน้าที่แทนผู้ใหญ่บ้านกรณีผู้ใหญ่บ้านไม่อยู่/ติดภารกิจอ่ืน เลขานุการบา้ น – สนับสนนุ การทำงานของผใู้ หญบ่ า้ นและผู้ช่วยผใู้ หญบ่ ้านและคอยจดบนั ทึกข้อมลู ต่าง ๆ เจ้าหน้าที่แจกกระดาษฟลิบชาร์ตพร้อมปากกาเคมีสองหัว เพื่อให้แต่ละกลุ่มตั้งชื่อบ้าน สโลแกน พร้อมท่าประกอบ เพื่อนำไปใช้เริ่มต้นในการทำกิจกรรมฐานเรียนรู้ทุกครั้ง จากนั้นให้แต่ละกลุ่มนำเสนอชื่อ บ้าน สโลแกน พร้อมทา่ ประกอบ พรอ้ มนำเสนอ วิทยากรให้ทุกกลุ่มมานั่งเป็นแถวตอน 2 ถึง 3 แถว โดยให้ผูใ้ หญ่บา้ น และผู้ช่วยผู้ใหญ่บา้ นนั่งหนา้ สุด แล้วให้ผู้ใหญ่บ้านทั้ง 4 กลุ่ม พูดคุยปรึกษากันเพื่อเลือกกำนัน(ผู้นำรุ่น) จากนั้นให้กำนันเลือกสารวัตร กำนันจำนวน 1 คน วิทยากรบอกหน้าทค่ี วามรับผิดชอบ กำนนั - เตรียมความพร้อมลูกบ้านทั้งหมดก่อนเข้าสู่ วิชา หลังจากที่ผู้ใหญ่บ้านเตรียมความพร้อมของลูกบ้านตัวเองแล้ว และนำกล่าวใส่รหัสสวัสดี/ขอบคุณ วิทยากรประจำวิชาหรือฐานเรียนรู้ สารวัตรกำนัน - คอยช่วยเหลือสนับสนุนกำนัน และทำหน้าที่แทนกำนัน กรณีกำนนั ติดภารกิจ เข้าสู่การสร้างสัญลักษณ์ร่วมกันด้วยการปรบมือโดยมีคำสั่งว่า “ใส่รหัส...(คำสั่ง) สาม สอง หนึ่ง” จากนั้นให้ผู้เข้าอบรมปรบมือหลังสิ้นคำสั่งเป็นจังหวะ สาม สาม เจ็ดต่อด้วย (คำสั่ง) (ปรบมือ 123 123 1234567 ตามด้วยคำสั่ง) ทดสอบโดยให้ผู้เข้าอบรมทำตามคำสั่ง จากนั้นให้ผู้ใหญ่บ้านทดสอบคำสั่งกับ ลูกบา้ นของตนเอง และให้กำนันออกคำสง่ั ลกู บา้ นท้ังหมด เขา้ ส่กู ระบวนการรับผ้าสี โดยให้ทกุ คนอยู่ในความสงบ จากน้นั วทิ ยากรให้เจ้าหน้าที่เชญิ กลอ่ งสลาก สี เพอื่ ให้ผใู้ หญ่บ้านจับสลากสีประจำบา้ น แล้วใหผ้ ูใ้ หญ่บา้ นบอกลกู บา้ นวา่ กลุ่มตนเองไดส้ ีอะไร โดยไม่ส่งเสียง ดงั วทิ ยากรนำส่กู ระบวนการรับผ้าสโี ดยให้ผู้แทนของแต่ละกล่มุ สี (ผู้ใหญบ่ ้าน) เป็นผูเ้ ข้ารับ จากนั้น วิทยากร เชิญเจ้าหน้าที่เชิญพานผ้าสี เพื่อนำไปวางไว้หน้าพระบรมฉายาลักษณ์ของ ร.9 และ ร.10 ต่อจากนั้นเข้าสู่ กระบวนการรับผ้าสี เมื่อผู้แทนรับผ้าสีแล้ว ให้กลับมานั่งท่ี และส่งต่อผ้าสีให้ลูกบ้าน โดยส่งต่อ ๆ กัน ให้ ลูกบา้ นรับไว้คนละหน่ึงผนื (หา้ มคลผ่ี ้าออก) เม่อื ผเู้ ขา้ อบรมไดร้ บั ผ้าครบแล้ว วิทยากรใหน้ ำผา้ วางไว้บนฝ่ามือ ขวา และวางมือไว้บนหน้าตักขวา จากนั้นหลับตาเพื่อรำลึกถึงพระราชกรณียกิจของทั้งสองพระองค์ จากนั้น วทิ ยากรให้ลมื ตา และนำกล่าวคำปฏิญาณตนตามวทิ ยากร คำปฏญิ าณตน “ขา้ พเจา้ จะตง้ั ในฝึกอบรมศาสตรพ์ ระราชา เพอ่ื นำไปปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจำวันของข้าพเจ้า ครอบครัวของข้าพเจ้า ชุมชนของข้าพเจ้า ตลอดจนประเทศชาติ อย่างสุดความสามารถ” เมื่อกล่าวจบ วิทยากรแนะนำพี่เลี้ยงกลุ่มสี และสอนวิธีการ ผูกผ้าสี เมื่อผูกเสร็จแล้ว วิทยากรแนะนำภารกิจ การดูแล พืน้ ทีข่ องแต่ละกลุ่มสี โดยใหด้ ูตามตารางภารกิจ และบอกกฎกติกาการเข้าห้องอบรม โดยการเข้าห้องอบรม ทุกครั้ง จะมีการเปิดเพลงคืนชีวิตให้แผ่นดิน หลังจบเพลงคืนชีวิตให้แผ่นดิน ผู้เข้ารับการอบรมจะต้องอยู่ใน หอ้ งอบรมครบทกุ คน และผ้ใู หญ่บ้านตอ้ งเตรยี มความพรอ้ มของลกู บา้ น

วิทยากรนำเข้าสู่การเขียนความคาดหวังที่เข้าร่วมการฝึกอบรม และการหาข้อตกลงร่วมกันใน ระหว่างการอบรมตลอดระยะเวลา 5 วัน 4 คืนการใช้เพลงเพื่อกระตุ้นเข้ากระบวนการในแต่ละครั้งหลังจาก การพักเบรกในแต่ละช่วงเวลาโดยใช้เพลง “คืนชีวิตให้แผ่นดิน” ผลการเรยี นรโู้ ดยสรุป ผู้เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่ให้ความร่วมมือ และสนใจตลอดจนตื่นตัวกับกระบวนการเรียนรู้ ได้เครือขา่ ยกลุ่มสมั พันธผ์ า่ นกระบวนการละลายพฤติกรรมและกระบวนการแบง่ กลุ่มสี รุ่นที่ 1 ได้ชื่อบ้านดังนี้ บ้านแกงโฮ๊ะโมเดล บ้านร่มเย็น บ้านหนึ่งฝัน บ้านโคกพัฒนา รุ่นที่ 2 ได้ชื่อบ้านดังนี้ บ้านโคกสวรรค์ บ้านหรรษา บ้านสุขใจ บ้านพัฒนาสามัคคี และรุ่นที่ 3 ได้ชื่อบ้านดังนี้ บ้านเราชนะ บ้านโคกเจริญ บ้าน เกษตรสมบูรณ์ บ้านรวมใจ และกระบวนการภาวะผู้นำโดยไดผ้ ู้นำกลุ่ม(ผู้ใหญ่บ้าน)และผชู้ ่วย ทั้ง 4 บ้าน และ ผู้นำรุ่น(กำนัน) 1 ตำบล ผู้เข้ารับการอบรมเกิดการแลกเปลี่ยนกันในระหว่างกิจกรรมและทำความรู้จักกัน เข้าใจถึงกระบวนการกลุม่ ที่ตอ้ งมีภารกิจรับผิดชอบตลอดจนบทบาทของผู้ใหญ่บ้านและกำนันที่ต้องทำหน้าที่ ในแต่ละวันตลอดกระบวนการเรียนรู้วิทยากรได้ใช้หลัก 3ค (คึกคัก คล่องแคล่ว ครื้นเครง) เป็นการเตรียม ความพรอ้ มสำหรับการเรียนรตู้ ลอดการฝึกอบรม การเขียนความคาดหว ัง ต่อ โครงการอบรมในครั้งนี้ เพื่อได้มาซึ่งความ คาดหวังผู้เข้ารับการอบรมนั้นนำมาปรับใน กระบวนการเรียนรู้ตลอดระยะเวลาการ อบรม และการหาข้อตกลงร่วมกันของผู้เข้า รับการอบรม โดยให้ผู้เข้ารบั การอบรมเสนอ และหามติร่วมกันประมาณ 4 ถึง 5 ข้อ ทั้ง 3 รุ่น นั้นได้รับการตอบสนองข้อเสนอ การ มีส่วนร่วม จึงได้เป็นข้อตกลงร่วมกันในแต่ ละรุ่น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook