Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการดำเนินงานกองทุนแม่ของแผ่นดิน

คู่มือการดำเนินงานกองทุนแม่ของแผ่นดิน

Published by พช.ศรีสะเกษ, 2020-03-26 04:17:29

Description: คู่มือการดำเนินงานกองทุนแม่ของแผ่นดิน

Search

Read the Text Version

แนวทางการดาเนินงาน “กองทุนแม่ของแผ่นดิน” โดย กรมการพฒั นาชุมชน กระทรวงมหาดไทย สานักงานคณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามยาเสพตดิ กระทรวงยตุ ธิ รรม



คานา นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณอย่างหาท่ีสุดมิได้ต่อปวงชนชาวไทย สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงห่วงใยต่อปัญหายาเสพติดที่แพร่ระบาดในสังคมไทยที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นเร่ือยๆ จึงได้พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ให้นาไปใช้ประโยชน์ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพ ติดอย่างยั่งยืน จึงเป็นจุดกาเนิดของโครงการ “กองทุนแม่ของแผ่นดิน” สานักงาน ป.ป.ส. จึงได้นาพระราช ทรัพย์ดังกล่าวสมทบกับงบประมาณของสานักงาน ป.ป.ส. จัดตั้งเป็น “กองทุนแม่ของแผ่นดิน” เพื่อมอบ เงินกองทุนให้กับหมู่บ้าน/ชุมชน เป็นเงินประเดิมเร่ิมต้นกองทุนละ 8,000 บาท โดยมีพิธีพระราชทาน เงินกองทุนแม่ของแผ่นดินครั้งแรกในปี 2547 และมีการดาเนินงานต่อเน่ืองจนถึงปัจจุบันมี “กองทุนแม่ของ แผ่นดิน” จานวน 12,189 กองทนุ กรมการพัฒนาชุมชน ได้รับความไว้วางใจจากกระทรวงมหาดไทยและ สานักงาน คณะกรรมการปูองกันและปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.) ให้เป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลักในการเสริมสร้าง ความเข้มแข็งกองทุนแม่ของแผ่นดิน จึงได้จัดทา แนวทางการดาเนินงาน “กองทุนแม่ของแผ่นดิน” สาหรับ เจ้าหน้าท่ีพัฒนาชุมชนทุกระดับและผู้ที่เก่ียวข้อง ใช้เป็นคู่มือในการดาเนินงาน เพื่อเป็นการสนองพระราช ปณธิ านการแก้ไขปญั หายาเสพตดิ ภายใต้พระบารมีของสถาบันพระมหากษตั รยิ ์ต่อไป กรมการพัฒนาชมุ ชน กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕

สารบัญ ๑ ๑  ทาความรู้จัก : กองทุนแมข่ องแผ่นดิน ๓  ความเปน็ มา ๓  ปรัชญาแนวคดิ กองทุนแม่ของแผน่ ดนิ ๔  แนวคิดความร่วมมือระหวา่ งภาคประชาชนกบั ราชการ ๕  ลักษณะทแี่ ตกตา่ งจากกองทุนอื่นๆ  การสรา้ งความเขา้ ใจต่อคุณค่าของกองทนุ แมข่ องแผ่นดิน ๖  กรมการพฒั นาชุมชน เก่ียวขอ้ งอย่างไร กับกองทนุ แมข่ องแผ่นดนิ ๖  แล้วจะดาเนินงานกองทุนแม่ของแผน่ ดินอยา่ งไร ๘ ๑๐  กลยทุ ธก์ ารสรา้ งความเข้มแข็งกองทุนแม่ของแผน่ ดิน  แผนปฏบิ ตั ิการเสรมิ สรา้ งความเข้มแข็งกองทนุ แม่ของแผ่นดนิ ๑๑  กลไกการขบั เคล่อื นกองทนุ แมข่ องแผน่ ดนิ ๑๑ ๑๑  กจิ กรรมหลักที่ 1 การตรวจสขุ ภาพกองทนุ แม่ของแผน่ ดิน ๑๑  วัตถปุ ระสงค์ ๑๒  เปาู หมาย ๑๒  กลไกดาเนนิ งาน ๑๔  ขั้นตอน วิธกี าร ๑๔  เครื่องมือ  ขอ้ มลู แบบตรวจสขุ ภาพกองทุนแม่ของแผน่ ดิน ๑๕  วธิ กี ารตรวจสขุ ภาพกองทุนแม่ของแผ่นดิน ๑๕  เอกสารท่ีตรวจ ๑๕ ๒๖  กิจกรรมหลกั ที่ 2 ตน้ กลา้ กองทุนแม่ของแผ่นดนิ  เปูาหมาย  กลไกการดาเนินงาน  วธิ ีการ/ขน้ั ตอน  เมื่อได้รับพระราชทานเงินกองทุนแมข่ องแผ่นดนิ

 กิจกรรมหลักที่ ๓ การดาเนนิ งานศูนยเ์ รียนรู้กองทนุ แมข่ องแผ่นดินระดับอาเภอ ๓๐ ๑. แนวคิดเรื่องศนู ย์เรียนรู้ชุมชน ๓๐  ความหมายศนู ย์เรยี นรู้ชุมชน ๓๐  หลักการของศนู ย์เรียนรู้ชุมชน ๓๐  ภารกิจของศูนย์เรยี นรู้ชมุ ชน ๓๑  องค์ประกอบของศูนย์เรยี นร้ชู ุมชน ๓๒  ขั้นตอนการดาเนนิ งานของศนู ยเ์ รียนรู้ชมุ ชน ๒. ศนู ย์เรียนร้กู องทนุ แมข่ องแผน่ ดิน ๓๓  วตั ถุประสงค์ ๓๓  เปูาหมายศูนย์เรียนรู้กองทนุ แม่ของแผ่นดนิ ๓๔  กลไกการดาเนินงานกองทนุ แม่ของแผ่นดิน ๓๔  ลักษณะประสบการณ์/องค์ความรขู้ องศูนย์เรยี นรกู้ องทุนแม่ของแผน่ ดิน ๓๔  ขั้นตอน วิธกี ารดาเนนิ งานศูนยเ์ รยี นรกู้ องทุนแม่ของแผ่นดิน บรรณานกุ รม ภาคผนวก ๑. แบบตรวจสขุ ภาพกองทุนแม่ของแผน่ ดนิ ๒. เปูาหมายการเสรมิ สร้างความเขม้ แขง็ กองทุนแม่ของแผ่นดนิ ๓. ตน้ แบบ “หมู่บ้านกองทุนแมข่ องแผน่ ดนิ ” บ้านทางยาว หมทู่ ่ี 8 ตาบลคลองควาย อาเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี ๔. (ตัวอยา่ ง) คาส่ังแต่งต้งั คณะกรรมการขบั เคลอ่ื นกองทนุ แม่ของแผน่ ดนิ จังหวดั ........... ๕. (ตัวอย่าง) ระเบยี บคณะกรรมการขับเคล่ือนกองทุนแม่ของแผ่นดินจังหวัด……. ว่าด้วยเครอื ขา่ ยกองทุนแม่ของแผน่ ดิน ๖. ๑๐ขั้นตอนกองทนุ แม่ของแผ่นดนิ ๗. เพลงกองทุนแม่ของแผ่นดิน ๘. แบบฟอรม์ ต่างๆ

สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงมีพระราชดารสั เนื่องในวโรกาสวนั แม่แหง่ ชาติ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2554 ถึงเรอ่ื งยาเสพติดระบาด ในประเทศไทย ใจความวา่ …. อยากขอความรว่ มมอื อยา่ งจรงิ จงั จากรฐั บาล และคนไทยทั้งชาติ คือ การแก้ปญั หายาเสพติด บ่อนทาลายสังคมไทยมาหลายสิบปีแล้ว ที่นับวันรุนแรงข้ึน สมัยก่อนชาวไทยภูเขาปลูกฝิ่น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงอุตส่าห์อาบเหง่ือต่างน้าต้ังโครงการหลวงข้ึนมาแก้ไข ให้หันปลูกพืชเมืองหนาวแทน จนตอนนี้พวกเขาก็เลิกปลูกฝิ่น ไปแล้ว ก็นึกว่า จะเบาใจ เร่อื งยาเสพติดไป ที่ไหนได้กลับมีคนใช้ไทยเป็นทางผ่านของยาเสพติด และยังมีพวกลักลอบ ผลิตอีกด้วย โดยเฉพาะยาบ้าที่มีสารตั้งต้นหาได้ง่าย ผลก็คือ คนไทยตกเป็นทาสยาบ้าไป แล้วเปน็ ล้านๆ คน ทกุ คนสขุ ภาพ ทรดุ โทรม ทั้งรา่ งกาย จิตใจ สติปญั ญากเ็ สื่อมถอย ยาบ้าและยาเสพติดท้ังหลายทาลาย กาลังทาลายสังคมไทยอย่างน่ากลัว ขา้ พเจ้าไม่สบายใจเลย ที่มีข่าวว่า ยาบ้ามีขายทุกตรอกซอกซอย แม้กระท่ังในโรงเรียนหรือ วัด ผู้ผลิตและผู้ขายกาลังทาตนเป็นฆาตรกรฆ่าลูกหลานไทยอย่างเลือดเย็นน่าเป็นห่วง เหลือเกิน เมื่อพ.ศ. 2546 ข้าพเจ้าเคยมอบเงินจานวนหนึ่ง ให้กับคณะกรรมการป้องกัน และปราบปรามยาเสพติดเพ่ือสนับสนุนและแก้ปัญหา ซึ่งเอาไปสมทบจัดต้ัง กองทุนแม่ของ แผ่นดิน มอบให้หมู่บ้านที่เข้าร่วมแก้ปัญหายาเสพติดในปี พ.ศ. 2547 จานวน 672 หมู่บ้าน จากนั้นรัฐบาลของคุณอภิสิทธิ์ ได้นาไปขยายผลจัดตั้งกองทุนแม่ ยาเสพติดท่ัว ประเทศ เวลานี้มีหมู่บ้านต่างๆ เข้าร่วมแล้วจานวน 12,189 หมู่บ้าน และรัฐบาลชุด ที่แล้ว ได้จดั งานหาเงนิ สมทบทนุ โครงการน้ีประมาณ 300 ล้านบาท เมื่อเร็วๆ นี้ ข้าพเจ้า ได้มอบเงนิ แก่ผู้วา่ ฯ ทุกจังหวดั เพอ่ื นาไปเขา้ โครงการแม่ของแผน่ ดิน เชื่อว่ารัฐบาลต่อไปจะสานต่อโครงการนี้ แต่ถ้าสังคมไทยปล่อยให้รัฐบาลทางานฝ่าย เดียวก็คงไม่สาเรจ็ คนไทยต้องผนึกกาลังช่วยกัน เริ่มจากในครอบครัว และคนในสังคม เป็น หูตาให้แก่กัน ควรต่อต้าน ประนามผู้ผลิตและค้ายาเสพติด รวมทั้งแจ้งให้เจ้าหน้าที่ ดาเนินการ ทาไมปล่อยใหล้ กู หลายติดยาโดยไม่พาไปรกั ษา ท่านต้องใหเ้ วลาและใหก้ าลังใจ ฟืน้ ฟผู ตู้ ิดยา ใหก้ ลับมาเปน็ คนมีคณุ ภาพของสังคมและเป็นกาลังของครอบครัวต่อไป

ทาความรู้จัก : “กองทุนแมข่ องแผ่นดิน” ตามท่ีสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชนิ ีนาถ ไดม้ กี ระแสพระราชดารัสในโอกาสท่ีคณะบุคคล ได้เข้าเฝูาฯถวายพระพรเน่ืองในวันเฉลิมพระชนม์พรรษา เม่ือวันที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๕๔ ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต น้ัน พระองค์ได้แสดงความกังวลพระราชหฤทัยเป็นอย่างมากต่อปัญหาการแพร่ ระบาดของยาเสพติด และได้ทรงพระราชทานแนวทางการให้ภาคประชาชนได้ร่วมมือกันช่วยเหลือรัฐบาลใน การแก้ไขปัญหายาเสพติด ซ่ึงแนวทางหน่ึงที่ได้ทรงมีพระราชปรารภถึงก็คือ“กองทุนแม่ของแผ่นดิน” พระองค์ได้ทรงทบทวนว่าเคยพระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ให้สานักงาน ป.ป.ส. ต้ังแต่ปี ๒๕๔๖ ซง่ึ นับเปน็ การเร่มิ ตน้ กองทุนแม่ของแผน่ ดินตัง้ แตบ่ ดั น้ันเป็นต้นมา ทรงมีความมุ่งหวังว่ากองทุนแม่ของแผ่นดิน จะสามารถชว่ ยเหลือการแก้ไขปญั หายาเสพตดิ ของประเทศได้อยา่ งมาก เพ่ือให้การดาเนินงานกองทุนแม่ของแผ่นดินเป็นไปตามพระราชประสงค์ สามารถตอบโจทย์ การแก้ไขปัญหายาเสพติดของหมู่บ้าน/ชุมชนได้โดยตรง สานักงาน ป.ป.ส. จึงได้กาหนดแนวทางกระบวนการ ดาเนินงานกองทุนแม่ของแผ่นดินขึ้นใหม่ เพื่อให้ผู้นากองทุนแม่ของแผ่นดินและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องนาไปใช้ ดาเนินงานได้เอง ให้เป็นแนวทางเดียวกัน โดยให้มีการรายงานผลการดาเนินงานในแต่ละห้วงระยะเวลาได้ อย่างเป็นรูปธรรม ท้ังหมู่บ้าน/ชุมชนที่มีผลการดาเนินงานในระดับศูนย์เรียนรู้ กองทุนดีเด่น หรือกองทุน ของหมู่บ้าน/ชุมชนท่ีอยู่ในระดับท่ัวไป เพ่ือร่วมกันสนองพระราชปณิธานการแก้ไขปัญหายาเสพติดภายใต้ พระบารมีของสถาบนั พระมหากษตั รยิ ์ตอ่ ไป ความเปน็ มา เมือ่ ปีพทุ ธศกั ราช ๒๕๔๖ สมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถ ได้เสด็จแปรพระราชฐาน ไปเยี่ยมพสกนิกรในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พระองค์ได้เสด็จเย่ียมราษฎรของหมู่บ้านที่เคยมีปัญหายา เสพติดและสามารถไขปัญหาได้ด้วยพลังของประชาชน ที่ อ.วังสามหมอ จ.อุดรธานี ตามกระบวนการชุมชน เข้มแข็ง ด้วยการใช้แนวทางสันติวิธีให้ผู้เคยค้าเคยเสพในระดับหมู่บ้านปรับเปล่ียนพฤติกรรมจากผู้ที่เป็น “ภาระ”ให้กลับมาเป็น“พลัง”ในการแก้ไขปัญหายาเสพติดให้กับหมู่บ้านของตนเอง โดยท่ีภาครัฐเป็นผู้ให้การ สนบั สนุน ทรงพอพระราชหฤทยั ในการแกไ้ ขปญั หาด้วยวิธีน้อี ยา่ งมาก ในการเสด็จฯครั้งนั้นพระองค์ ได้ประทับแรม ณ พระตาหนักภูพาน ราชนิเวศน์ และได้เสด็จลงเย่ียมราษฎร ท่ีเป็นมวลชนกลุ่มต่าง ๆ ที่ไปเข้าเฝูาฯ ณ โครงการชลประทานสกลนคร(ห้วยเดียก) อ.ภูพาน จ.สกลนคร พล.ต.อ.ชิดชัย วรรณสถติ ย์ เลขาธิการ ป.ป.ส. (ในขณะ นั้น) จึงได้ขอพระราชทานพระราช วโรกาสนาตัวแทนกลุ่มราษฎรอาสา ปูองกันภัยยาเสพติด (รสปส.) เข้าเฝูาฯ ๑

ด้วย มีการแสดงละครหน้าพระที่น่ังเพ่ือสื่อให้ทอดพระเนตรถึงการแก้ไขปัญหายาเสพติดด้วยพลังของชุมชน และการให้อภัยผู้ค้าผู้เสพระดับหมู่บ้านตามแนวทางสันติ แล้วมีการปฏิญาณตนขอเลิกยุ่งเก่ียวกับยาเสพติด และขอเปน็ กาลงั ในการแก้ไขปัญหายาเสพตดิ ของชาติตลอดไป ในวันน้ันพระองค์ท่านได้พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ให้กับเลขาธิการ ป.ป.ส. จานวนหน่งึ เพือ่ นาไปใชใ้ นการแก้ไขปัญหายาเสพตดิ ให้กับประชาชนต่อไป ตั้งแต่ท่ีสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถ ได้พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ ผ่านเลขาธิการ ป.ป.ส. เพ่ือให้เป็นประโยชน์ของหมู่บ้านและชุมชนต่าง ๆ ในการปูองกันและแก้ไขปัญหา ยาเสพติดน้ัน หน่วยงานต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง รวมทั้งราษฎรอาสาสมัครทั้งหลาย จึงมีความเห็นร่วมกันว่า พระ ราชทรัพย์ท่ีได้รับพระราชทานนั้นถือเป็นมงคลสูงสุด เป็นเสมือนพระราชปณิธานของพระองค์ ท่ีทรงจะให้มี การปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในหมู่บ้านและชุมชน หากได้นาพระราชทรัพย์พระราชทานน้ี ไปไว้ที่ หมบู่ า้ นและชุมชน ก็จะเป็นขวัญกาลังใจสูงสุดของปวงราษฎรท้ังหลายที่จะดาเนินการให้พระราชปณิธานของ พระองคบ์ รรลุผล ซึ่งย่อมหมายถงึ ความสงบสุข ร่มเย็น ปราศจากปัญหายาเสพติด จึงได้เรียกพระราชทรัพย์ พระราชทานนี้ว่า “กองทุนแม่ของแผ่นดิน” และเรียกชื่อหมู่บ้านและชุมชนท่ีได้รับกองทุนแม่ของแผ่นดินว่า “หมู่บ้านกองทุนแม่ของแผ่นดิน” โดยมีการพระราชทานกองทุนแม่ของแผ่นดินครั้งแรก เมื่อวันท่ี ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๗ ณ ศูนย์ปฏิบัติธรรมสวนเวฬุวัน อ.เมือง จ.ขอนแก่น โดยทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ได้เสด็จแทนพระองค์สมเด็จ พระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถ มาเป็นประธานในพิธี พระราชทานกองทุนแม่ของแผ่นดินให้กับผู้แทนหมู่บ้าน/ชุมชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นจานวน ๖๗๒ หมู่บ้าน/ชุมชน ๒

ปรชั ญาแนวคดิ กองทุนแมข่ องแผ่นดิน คาว่า กองทนุ แมข่ องแผน่ ดิน มีองค์ประกอบ ๓ สว่ น ไดแ้ ก่ ส่วนท่ี ๑ เรียกว่า เงินขวัญถุงพระราชทาน เป็นพระราชทรัพย์ที่สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถได้พระราชทานให้กับหมู่บ้านและชุมชน โดยสานักงาน ป.ป.ส. ได้สมทบงบประมาณส่วนหน่ึงนามาจัดสรรให้กับหมู่บ้านและ ชมุ ชน แหง่ ละ ๘,๐๐๐ บาท เงนิ จานวนน้ี เปรียบเสมือนสิ่งท่ีระลึกถึงแห่ง พระราชปณิธานของสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ เป็นเงิน พระราชทานอนั เป็นสัญลักษณ์แห่งพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้น จึงถือ เป็นเงินศักดิส์ ทิ ธอิ์ ันหาท่เี สมอเหมือนมไิ ด้ จึงเกบ็ ไวเ้ ปน็ เงนิ ขวัญถุงในหมู่บ้าน/ชมุ ชน โดยไม่มีการใชจ้ ่าย ส่วนท่ี ๒ เรียกว่า ทุนศรัทธา เป็นเงินท่ีราษฎรในหมู่บ้านและชุมชนที่ได้รับกองทุนแม่ของ แผ่นดนิ จะรว่ มกนั บรจิ าคอย่างต่อเนอื่ งและรวบรวมขึ้นด้วยพลงั ความศรัทธา สมทบเข้ากองทุนแม่ของแผ่นดิน ในแต่ละหมู่บ้าน เป็นการแสดงออกถึงทุนทางสังคมของหมู่บ้าน/ชุมชนที่ ตอ้ งการไมใ่ ห้มปี ญั หายาเสพติดในหมู่บ้านอย่างเปน็ รูปธรรม ส่วนท่ี ๓ เรียกว่า ทุนปัญญา เป็นเงินท่ีราษฎรในหมู่บ้าน และชุมชนดังกล่าว คิดค้นข้ึนด้วยภูมิปัญญาของตนเองในการระดมทุนเพ่ือ ขยายกองทนุ ใหก้ องทนุ มกี ารงอกเงยข้นึ จนสามารถนาไปใช้จ่ายเพื่อการแก้ไข ปัญหายาเสพติดของหมบู่ า้ นได้อย่างเพยี งพอตอ่ ไป กองทุนแม่ของแผ่นดิน ท่ีเป็นผลจากการระดมทุนจากทุน ศรัทธา และทุนปัญญา ราษฎรในหมู่บ้านและชุมชนจะนาไปใช้ในการปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด รวมทั้งปัญหาอ่ืน ๆ จนสามารถยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนบนวิถีแห่งความพอเพียง ไม่ว่าจะเป็นการ สมทบทุนช่วยเหลือการบาบัดรักษาของผู้เสพยาเสพติด การ ส่งเสริมอาชีพ การสนับสนุนกิจกรรมกลุ่มเสี่ยงยาเสพติดและ กิจกรรมเยาวชน การเฝูาระวังและรักษาพ้ืนที่ การสนับสนุน ทนุ การศึกษาของเยาวชน การส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง การ ช่วยเหลือความเดือดร้อนต่างๆในชุมชน รวมถึง การฟื้นฟู ศลิ ปวัฒนธรรมของชุมชน ฯลฯ จนแทบจะกลา่ วไดว้ ่า กองทุน แม่ของแผ่นดิน คือ กองทุนท่ีรวมจิตใจของผู้คน เพ่ือช่วยเหลือ ผคู้ นที่ทกุ ข์ยาก นบั เป็นทุนเริ่มต้นแห่งความดีงาม แนวคดิ ความร่วมมือระหว่างภาคประชาชนกบั ราชการ มขี อ้ คดิ สาคญั ในการทางานร่วมกันระหวา่ งรัฐกับประชาชนว่าในการดาเนินงานโครงการต่างๆ ของรัฐทีผ่ ่านมา ไมว่ ่าการแก้ไขปัญหาใด ๆ ก็ตาม โดยเฉพาะการแก้ไขปัญหาด้านสังคม หากให้รัฐดาเนินการ แต่เพียงฝุายเดียวจะได้ผลไม่ถึงเปูาหมายที่ต้องการ และหากให้ประชาชนดาเนินการเองท้ังหมดก็ไม่สามารถ บรรลุเปูาหมายท่ีสมบูรณ์ได้เช่นกัน ฉะน้ันหากเห็นแล้วว่าทั้ง ๒ ภาคส่วนมีเปูาหมายร่วมกันก็ควรให้มีการ ๓

บูรณาการการดาเนินงานร่วมกัน โดยมีบทบาทท่ีชัดเจนของแต่ละภาคส่วนอย่างเกื้อกูลซ่ึงกันและกัน ยกตัวอย่างเป็นภาพดังนี้ ๑. ใหน้ าเสนอเร่ือง เรอื ๓ ลา เพ่อื ใหป้ ระชาชนมีความเข้าใจความสาคัญของการมีส่วนร่วมใน การขบั เคลือ่ นโครงการดังน้ี 3  2 1 สนั ติ เดือดรอ้ น สขุ เรอื ล่มเพราะ 1. หมดงบ 2. หมดเวลา อธบิ าย เรอื ลาท่ี ๑ : ในการแกไ้ ขปัญหาความเดือดรอ้ นของประชาชนทผ่ี ่านมาจะมีลักษณะคล้ายกับ การชว่ ยเหลือประชาชนแบบเรือลาที่ ๑ คือ เมื่อประชาชนมีความเดือดร้อนในเร่ืองใดก็จะมีหน่วยงานหรือคน ภายนอกชมุ ชนมาชวนให้ข้ึนเรือเพ่ือนาไปสู่ฝั่งโน้นที่เรียกว่า“สันติสุข”หรือแก้ไขปัญหาได้ แต่เรือแล่นไปโดย ยังไม่ทนั จะถงึ ฝั่ง หรือยังมอง ไม่เห็นฝ่งั เลย ก็ต้องล่มเสีย อนั เป็นสาเหตมุ าจาก (๑)หมดงบ หรือ (๒)หมดเวลา (เจ้าหน้าทขี่ บั เคล่ือนโครงการหมดเวลาการปฏิบัตงิ านเสยี ก่อน) เรือลาท่ี ๒ : คลา้ ยกบั เรอื ลาท่ี ๑ คอื เม่อื ประชาชนเดือดร้อนอีก ทางราชการก็มีงบประมาณ มาอีก ก็มาชักชวนประชาชนให้ขึ้นเรือเพื่อจะได้นาไปสู่ฝั่ง“สันติสุข”โน้นอีก แต่เน่ืองจากเหตุการณ์ท่ีเกิดกรณี เรือลาที่ ๑ เป็นเหตุทาให้ประชาชนไม่เช่ือมั่นในการชักชวนของรัฐว่าจะไปถึงฝ่ังได้จริง ทาให้ราชการต้อง ทางานทางความคดิ เพมิ่ ข้ึน เชน่ ต้องมีค่าตอบแทนเป็นค่าเสียเวลาให้กับชาวบ้านจานวนท่ีมากพอ ชาวบ้านจึง จะยอมข้นึ เรอื ไปด้วย เพื่อใหร้ าชการสามารถดาเนินโครงการได้ แต่แลน่ เรือไปได้ไมน่ านเรือก็ต้องล่มอีกเช่นเคย ด้วยสาเหตุเดยี วกัน คอื (๑) หมดงบ (๒) หมดเวลา และก็ได้ผลทานองเดยี วกัน คือ ยังไม่ทันได้เห็นฝ่ังโน้นเลยก็ ตอ้ งว่ายน้ากลบั ฝงั่ เดิมอีก เรือลาท่ี ๓ : เป็นการช้ีให้เหน็ ว่า หากชาวบ้านเห็นได้ว่าความเดือดร้อนที่เกิดขึ้นเป็นทุกข์ของ ชาวบา้ นเอง หากไม่ร่วมมือในการแก้ไขปัญหาย่อมเดือดร้อนเองอย่างไม่สิ้นสุด ยกตัวอย่าง เรือลาท่ี ๑ และ ๒ เมื่อชาวบ้านยอมเห็นด้วยและข้ึนเรือมาแล้วแต่ก็ไม่มีส่วนร่วมอะไรเลยต่างก็น่ังกอดอกเฉย ๆ ปล่อยให้ทาง ราชการขับเรอื ด้วยกาลังงบประมาณของรัฐฝุายเดียว หากชาวบ้านยังต้องการแต่ที่จะให้ราชการทาฝุายเดียวก็ จะไดผ้ ลเท่าท่ผี า่ นมาอีกอย่างแน่นอน ซึ่งย่อมเสยี เวลาท้ัง ๒ ฝุาย และต่างเห็นแล้วว่าไม่ได้ผล เพราะแล่นไปได้ ไม่นานเรือก็จะล่มอีก ฉะนั้นหากว่าชาวบ้านมีความทุกข์จริงเม่ือขึ้นมาบนเรือแล้วต้องสัญญากันว่าจะช่วยกัน พายเรือดว้ ยกาลงั ของตนที่มอี ยู่ แน่นอนว่าเรือลาท่ี ๓ นี้ เมื่อหมดงบราชการแล้วเรือลานี้จะแล่นไปได้ไกลมาก กว่าเดิม ซงึ่ จะทาใหเ้ รามองเหน็ ฝัง่ ข้างหน้าซ่ึงเหลืออีกไมไ่ กลแลว้ ระยะทางท่เี หลอื ไมไ่ กลแลว้ น่ีชาวบ้านย่อมจะ พากันไปเองได้จนถงึ ฝ่งั ข้างหนา้ อย่างแนน่ อน ๒. หลังจากเข้าใจเรื่องเรือ ๓ ลาแล้ว ให้ผู้นากล่าวถึงการแก้ไขปัญหายาเสพติดตามโครงการ “กองทุนแม่ของแผ่นดิน” จะเป็นโครงการท่ีช่วยเหลือพ่ีน้องประชาชนได้จริง แต่ต้องดาเนินการในลักษณะ เดียวกับเรือลาท่ี ๓ คือทุกคนต้องช่วยกัน ต้องถือว่าปัญหายาเสพติดเป็นทุกข์เป็นปัญหาของชุมชนท่ีรอการ แกไ้ ขมานาน เปน็ ความโชคดอี ย่างมากเลยท่สี มเด็จพระนางเจา้ ฯพระบรมราชินีนาถ และทางราชการมีน้าใจมา ช่วยเหลอื ด้วยอย่างไม่ทอดทิ้งให้เปน็ ปัญหาของประชาชนเพียงฝุายเดียว ๔

“พลงั ของประชาชนรว่ มกบั ราชการ ช่วยก่อช่วยสานให้งานยัง่ ยืน” ลกั ษณะท่ีแตกต่างจากกองทนุ อนื่ ๆ ๔ กองทุนแม่ของแผ่นดิน มีลักษณะแตกต่างจากกองทุนอื่นๆ ที่มีอยู่ในหมู่บ้าน/ ชุมชน ๔ ประการ ดงั นี้ ประการที่ ๑ เป็นกองทุนที่มีจุดเร่ิมต้นจากสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ จึงเป็น เสมอื นกองทุนพระราชทาน ประการท่ี ๒ เป็นกองทุนท่ีกระจายอยู่ตามหมู่บ้าน ชุมชน เท่าน้ัน ไม่มีกองทุนรวมใน สว่ นกลาง ประการที่ ๓ เป็นกองทุนที่มขี ้นึ เพ่ือประโยชน์สาธารณะในการแก้ไขปัญหายาเสพติด รวมถึง ปญั หาอน่ื ๆ ในหมบู่ ้าน ชมุ ชน เพ่อื เป็นกองทนุ ชว่ ยเหลือซึง่ กนั และกัน โดยไมม่ กี ารใหก้ ู้ยมื และไมม่ ดี อกเบยี้ ประการที่ ๔ เป็นกองทุนท่คี นในหมู่บ้าน ชุมชน ร่วมกันระดมทุน โดยไม่ได้เกิดจากภายนอก เพียงชอ่ งทางเดียว ซ่ึงเป็นการทาใหช้ มุ ชนร้จู กั พงึ่ พาตนเอง เหน็ พลงั ของตนเอง วัตถปุ ระสงค์ของกองทุน ๑. เพือ่ ขยายพลงั แห่งความดขี องคนในหมบู่ า้ น ชมุ ชน ใหก้ วา้ งขวางขึน้ ๒. เพ่ือเสริมสร้างกระบวนการในหมู่บ้าน ชุมชน ด้านความคิด ความรู้ การแลกเปล่ียน การรวมกลุ่มและความตื่นตัว เพ่ือร่วมกันแก้ไขปัญหาของหมู่บ้าน ชุมชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหายาเสพติด เพือ่ ให้หมบู่ ้าน ชมุ ชน ใชก้ ระบวนการดงั กลา่ วให้บรรลถุ ึงความเขม้ แขง็ ได้อยา่ งแทจ้ ริง ๓. เพอ่ื สนับสนุนค่าใชจ้ า่ ยที่เป็นประโยชน์แก่สาธารณะ สนับสนุนให้คนทาดี และเสียสละเพ่ือ หมู่บ้าน ชุมชน ๔. เพื่อสนับสนุนกิจกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจแบบพอเพียง เพื่อการพึ่งพาตนเอง และพึ่งพา ซ่ึงกันและกันอย่างย่งั ยนื เป็นผลทาใหป้ ญั หาพน้ื ฐานของหมบู่ ้าน ชุมชน ลดลง ๕. เพื่อสนับสนุนกิจกรรมการแก้ไขปัญหายาเสพติดในหมู่บ้าน ชุมชน อย่างยั่งยืน และพัฒนา เป็นศูนย์เรียนรู้หมู่บ้าน ชุมชน เพ่ือก่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ของชุมชนทั้งภายในและระหว่างหมู่บ้าน ชมุ ชน การสร้างความเข้าใจต่อคณุ ค่าของกองทนุ แมข่ องแผ่นดิน กองทุนแม่ของแผ่นดิน เป็นการแสดงออกถึงพระราชปณิธานของสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชนิ ีนาถทีพ่ ระราชทานเพื่อปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด สมควรท่ีพสกนิกรชาวไทยทุกหมู่เหล่าจะ น้อมรบั ใส่เกล้าใส่กระหม่อมและถือปฏิบัติอย่างจริงจัง สาหรับหมู่บ้าน ชุมชน ที่ได้รับคัดเลือกให้ได้รับกองทุนแม่ ของแผน่ ดนิ ในคร้งั น้ี ถือเปน็ เกยี รติสูงสุด จึงสมควรสร้างกระบวนการให้คนทั้งหมู่บ้าน ชุมชน เกิดจิตสานึกร่วมกัน สนองพระราชปณิธาน ซ่ึงจะนาไปสู่การเป็นแบบอย่างท่ีดีสาหรับพ้ืนท่ีอื่นต่อไป ดังนั้นการจัดกิจกรรมต่างๆ ที่ คัดสรรขน้ึ เพอ่ื รองรบั กองทนุ แมข่ องแผน่ ดินในจังหวดั และหม่บู า้ น ชมุ ชน จงึ ถือเป็นส่งิ สาคัญอยา่ งยิ่ง ๕

กรมการพฒั นาชุมชน เกี่ยวข้องอยา่ งไร กับกองทุนแมข่ องแผน่ ดิน ๕ การดาเนินงานกองทุนแม่ของแผ่นดิน เป็นการขยายพลังแห่งความดีของคนใน หมบู่ ้าน/ชุมชน เสรมิ สรา้ งกระบวนการการแลกเปลย่ี นความคิดความรู้รว่ มกนั ภายในหมู่บ้าน/ชุมชน สนับสนุน กิจกรรมการพฒั นาเศรษฐกิจแบบพอเพียง พึ่งพาตนเอง ท้ังนี้เพื่อร่วมกันแก้ปัญหายาเสพติดในหมู่บ้าน/ชุมชน อย่างย่ังยืน และพัฒนาเป็นศูนย์การเรียนรู้ของชุมชนทั้งภายใน และระหว่างหมู่บ้าน ชุมชน ซ่ึงสอดคล้องกับ ภารกจิ ของกรมการพัฒนาชุมชน ดังน้ัน กระทรวงมหาดไทยจึงมอบภารกิจให้กรมการพัฒนาชุมชนรับผิดชอบ ในการดาเนนิ การเรือ่ งกองทุนแม่ของแผ่นดิน แลว้ จะดาเนินงานกองทุนแม่ของแผน่ ดินอย่างไร?? ก ร ม ก า ร พั ฒ น า ชุ ม ช น ไ ด้ ก า ห น ด แ น ว ท า ง ก า ร ขั บ เ ค ลื่ อ น ก า ร ด า เ นิ น ง า น ก อ ง ทุ น แ ม่ ของแผ่นดนิ ดงั นี้ ๑. สรา้ งความร้คู วามเข้าใจแนวทางดาเนินงานกองทุนแม่ของแผ่นดนิ - ตั้งคณะกรรมการขบั เคลือ่ นการดาเนินงานกองทนุ แมข่ องแผ่นดินระดบั จงั หวดั - ตง้ั คณะกรรมการขบั เคลื่อนการดาเนนิ งานกองทุนแม่ของแผ่นดินระดบั อาเภอ - ประชมุ สร้างความร้คู วามเข้าใจแนวทางดาเนนิ งานกองทนุ แม่ของแผน่ ดนิ และ แนวทางการตรวจสขุ ภาพกองทนุ ๒. สรา้ งเครอื ขา่ ยกองทนุ แมข่ องแผ่นดนิ ระดบั อาเภอ - จัดตั้งเครือข่ายกองทุนแม่ของแผน่ ดินระดบั อาเภอ เพ่ือสร้างเครือข่ายการเรียนรู้และกลไก การขบั เคลอื่ นกิจกรรมระดบั อาเภอ กลยทุ ธ์การสร้างความเข้มแขง็ กองทนุ แมข่ องแผ่นดนิ กรมการพฒั นาชมุ ชนได้กาหนดกลยทุ ธก์ ารสรา้ งความเขม้ แข็งกองทุนแมข่ องแผ่นดิน ๓ กระบวนงาน ดังนี้ 1) การตรวจสุขภาพกองทุนแม่ของแผ่นดิน 2) ส่งเสริมตน้ กลา้ กองทุนแม่ของแผ่นดนิ 3) สง่ เสริมศนู ย์เรียนรู้กองทุนแม่ของแผ่นดิน ๖





แผนปฏิบตั กิ ารเสรมิ สร้างความเขม้ แข็งกองทนุ แมข่ อ กิจกรรม รายละเอียดกิจกรรม กจิ กรรมหลกั ท่ี 1 1. จดั ทาแนวทางการดาเนินงาน/แบบประเมินการตรว การตรวจสขุ ภาพกองทนุ แม่ สขุ ภาพกองทนุ แมข่ องแผ่นดินร่วมกับสานักงาน ป.ป.ส. ของแผ่นดิน 2. สร้างความรคู้ วามเขา้ ใจแนวทางการดาเนินงานกองท แม่ฯ แก่เจา้ หนา้ ท่ีพัฒนาชมุ ชน 3. สรา้ งความรู้ความเข้าใจแนวทางการดาเนนิ งานกองท แม่ฯ ระดับจังหวัดแก่เจ้าหน้าทีพ่ ัฒนาชมุ ชน ผนู้ าองคก์ เครอื ข่าย 4. แต่งต้งั คณะทางานสนบั สนุนการขับเคล่ือนกองทนุ แ ระดับจงั หวดั /อาเภอ 5. ตรวจสขุ ภาพกองทนุ แมข่ องแผ่นดนิ (ระดับหมบู่ ้าน) 6. สรา้ งเครอื ข่ายกองทุนแม่ของแผน่ ดนิ ระดบั อาเภอ/ จังหวัด กจิ กรรมหลกั ที่ 2 สง่ เสริม 1. สร้างความเข้าใจการดาเนินงานกองทนุ แม่ของแผ่นด ต้นกลา้ กองทนุ แม่ของ เปูาหมายใหม่ปี 2555 แผ่นดิน 2. คดั เลอื ก/เตรียมความพร้อมหมู่บ้านรบั มอบเงนิ พระราชทานกองทนุ แม่ของแผน่ ดนิ 3. ส่งเสริมการจัดระบบบริหารจัดการกองทนุ แม่ของ แผน่ ดนิ 4. ตดิ ตามประเมนิ ผล

องแผ่นดนิ กรมการพัฒนาชมุ ชน ประจาปี ๒๕๕๕ เป้าหมาย ระยะเวลาดาเนนิ การ งบประมาณ/แหลง่ ผรู้ ับผิดชอบ งบประมาณ วจ 11,586 16-31 ม.ค. 55 ศพสจ./ป.ป.ส. ศพส.พช. . กองทนุ ทนุ 1-3 ก.พ. 55 ศพส.พช. ทุน 6 - 15 ก.พ. 55 สพจ. กร แมฯ่ 6 - 15 ก.พ. 55 สพอ. ) 15 ก.พ. - 31 ม.ี ค.55 สพอ. เม.ย. – พ.ค. 55 สพอ./สพจ. ดนิ 2,975 พ.ค. 55 ศพสจ./ป.ป.ส. สพจ./สพอ. กองทุน พ.ค.55 สพจ./สพอ. ม.ิ ย. – ก.ค. 55 สพจ./สพอ. ทุกเดือน สพจ./สพอ. ๘

กิจกรรม รายละเอยี ดกิจกรรม กิจกรรมหลักที่ 3 สง่ เสริม 1. คดั เลอื กหมู่บา้ นกองทุนแม่ของแผน่ ดินดีเดน่ ศูนย์เรยี นร้กู องทนุ แมข่ อง ระดบั อาเภอ แผ่นดิน 2. จัดตัง้ ศนู ยเ์ รียนรู้กองทนุ แม่ของแผ่นดิน ระดบั อาเภอ 3. ส่งเสรมิ การจัดการความรู้ดา้ นการแกไ้ ข ปัญหายาเสพติด/กองทนุ แม่ของแผน่ ดนิ 4. ยกย่องเชดิ ชเู กยี รตปิ ราชญ์ชาวบา้ นผู้นา ชมุ ชนดา้ นการแก้ไขปัญหายาเสพตดิ 5. ขยายผลองค์ความรู้การแก้ไขปญั หายาเสพ ตดิ /กองทนุ แม่ของแผ่นดนิ ส่หู มูบ่ ้านอ่นื

เปา้ หมาย ระยะเวลาดาเนนิ การ งบประมาณ/แหล่ง ผู้รับผดิ ชอบ 878 แห่ง งบประมาณ สพอ. ก.พ. – ม.ี ค. 55 ศพสจ./ป.ป.ส. เม.ย. – ส.ค. 55 สพอ. เม.ย. – ส.ค. 55 สพอ. ส.ค. 2555 สพอ. ก.ย. 55 สพจ./สพอ. ๙

กลไกการขับเคลอ่ื นกองทุนแมข่ องแผ่นดิน ให้มีการแต่งต้ังคณะกรรมการขับเคล่ือนกองทุนแม่ของแผ่นดิน ในแต่ละระดับ โดยอาจมอี งคป์ ระกอบ ดงั นี้ - คณะกรรมการขับเคลื่อนกองทุนแม่ของแผ่นระดับจังหวัด ประกอบด้วย ผู้ว่าราชการ จังหวัด หรือรองผู้ว่าราชการจังหวัดท่ีได้รับมอบหมาย เป็นประธาน, ท้องถ่ินจังหวัด, เกษตรจังหวัด, สาธารณสุขจังหวัด, ผอ.กศน., ผู้แทนเครือข่ายกองทุนแม่ของแผ่นดิน หรือ องค์กรภาคประชาชน 3-5 คน ตามเหมาะสม, หัวหน้า ศพส.จ., ผู้แทน ป.ป.ส.ภาค เป็นคณะทางาน พัฒนาการจังหวัด เป็นเลขานุการ และ หวั หนา้ กลุ่มงานทรี่ บั ผดิ ชอบงานยาเสพตดิ ของสานกั งานพฒั นาชุมชนจังหวัด เป็นผ้ชู ว่ ยเลขานกุ าร - คณะกรรมการขับเคล่ือนกองทุนแม่ของแผ่นระดับอาเภอ ประกอบด้วย นายอาเภอ เป็น ประธาน, ทอ้ งถิ่นอาเภอ, เกษตรอาเภอ, สาธารณสุขอาเภอ, ผอ.กศน., ผู้แทนเครือข่ายกองทุนแม่ของแผ่นดิน หรือ องค์กรภาคประชาชน 3-5 คน ตามเหมาะสม, ผู้แทนศพส.อ., เป็นคณะทางาน พัฒนาการอาเภอ เป็น เลขานุการ และเจ้าหน้าท่พี ัฒนาชมุ ชนทรี่ ับผิดชอบงานยาเสพติด เป็นผชู้ ่วยเลขานุการ ๑๐

กิจกรรมหลกั ท่ี ๑ การตรวจสุขภาพกองทนุ แมข่ องแผ่นดิน (ระดับหม่บู ้าน) วตั ถปุ ระสงค์ 1) เพ่อื จดั เก็บข้อมูลผลการดาเนินงานตลอดจนปญั หาอุปสรรคในการดาเนนิ งาน หมู่บา้ นกองทนุ แมข่ องแผ่นดินในภาพรวม 2) เพอื่ ทราบสถานะของกองทนุ แม่ของแผ่นดนิ วา่ เข้มแข็งในระดบั ใด 3) เพอ่ื นาขอ้ มูลมาประกอบการวางแผนพัฒนากองทนุ ให้สามารถขบั เคล่ือน การดาเนนิ งานปูองกนั และแก้ไขปัญหายาเสพตดิ ในชุมชนใหม้ ปี ระสิทธภิ าพย่ิงข้นึ เป้าหมาย - จานวน ๑๑,๕๘๖ กองทุน กลไกการดาเนินงาน - กรมการพฒั นาชมุ ชน โดยคณะทางานวชิ าการ ศพส.มท. จดั ทาแนวทางการดาเนนิ งาน กองทุนแม่ของแผ่นดนิ - จังหวัด โดยคณะกรรมการขับเคลื่อนการดาเนินงานกองทุนแม่ของแผ่นดินระดับจังหวัด เป็นคณะอานวยการ กากบั ติดตาม และรายงานผล ระดับจงั หวดั - อาเภอ โดย คณะกรรมการขับเคลื่อนการดาเนินงานกองทุนแม่ของแผ่นดินระดับอาเภอ เปน็ คณะอานวยการ กากบั ติดตาม และรายงานผล ระดับอาเภอ และจัดชุดปฏิบัติการตรวจสุขภาพกองทุนแม่ ของแผ่นดนิ - อาเภอ โดย เครือข่ายกองทุนแม่ของแผ่นดินระดับอาเภอ เป็นคณะดาเนินการสนับสนุน และร่วมชุดปฏิบตั กิ ารตรวจสขุ ภาพกองทนุ แมข่ องแผน่ ดนิ - พืน้ ท่ี โดย ชุดปฏิบตั ิการตรวจสขุ ภาพกองทุนแม่ของแผ่นดนิ จานวน ๗ – ๑๐ คน ตามความ เหมาะสมของแต่ละพื้นท่ีประกอบด้วย ผู้แทน ศพส.อาเภอ เป็นหัวหน้าชุดปฏิบัติการ ผู้แทนวิทยากร กระบวนการ ผู้แทนเครือข่ายกองทุนแม่ของแผ่นดินระดับอาเภอ เป็นทีมปฏิบัติการ และเจ้าหน้าท่ีพัฒนา ชุมชนเปน็ เลขานกุ ารชดุ ปฏบิ ัติการ ข้ันตอน/ วธิ ีการ ๑. กรมการพัฒนาชมุ ชนจัดทาแนวทางการแนวทางการดาเนินงานกองทุนแม่ของแผ่นดนิ ๒. จังหวัดและอาเภอ ศกึ ษาและดาเนนิ การตามคู่มือ ดงั นี้ ๒.๑ ตัง้ คณะทางานในระดับต่างๆ 1) จงั หวัด ต้ังคณะกรรมการขบั เคล่อื นการดาเนินงานกองทุนแมข่ องแผ่นดนิ ระดับจังหวดั 2) อาเภอ ตั้งคณะกรรมการขับเคล่ือนการดาเนินงานกองทุนแม่ของแผ่นดินระดับ อาเภอ , สนบั สนุนใหม้ เี ครือขา่ ยกองทุนแม่ของแผน่ ดินระดับอาเภอ , ตั้งชุดปฏิบตั กิ ารตรวจสุขภาพกองทุนแม่ ของแผ่นดิน ๑๑

๒.๒ ชุดปฏิบตั ิการตรวจสขุ ภาพกองทนุ แม่ของแผ่นดนิ ดาเนินการ ๑) จดั เตรียมแบบตรวจสขุ ภาพกองทุนแม่ของแผน่ ดินให้เพียงพอ ๒) จัดประชุมคณะกรรมการกองทุนแม่ของแผ่นดินหมู่บ้าน เพ่ือทบทวนแนวทางการ ดาเนินงาน และตรวจสุขภาพกองทุนแม่ของแผ่นดินตามเกณฑ์ที่กาหนดด้วยวิธีการสัมภาษณ์กลุ่ม และตรวจ เอกสาร ๓) นาข้อมูลจากแบบตรวจสุขภาพบันทึกลงในโปรแกรมตรวจสุขภาพผ่านเว็บไซต์ พรอ้ มทั้งตรวจสอบความสมบรู ณแ์ ละความครบถว้ นของข้อมูล ๔) ประมวลผลและรายงานผลการตรวจสุขภาพกองทุนแม่ของแผ่นดิน เสนอต่อ คณะทางานขบั เคลอ่ื นการดาเนนิ งานกองทุนแม่ของแผน่ ดินระดับอาเภอ ๒.๓ คณะกรรมการขับเคลื่อนการดาเนินงานกองทุนแม่ของแผ่นดินระดับอาเภอ ดาเนนิ การ ๑) พิจารณาให้คารับรองผลการตรวจสุขภาพ ๒) ร่วมกบั คณะกรรมการเครอื ขา่ ยกองทุนแมข่ องแผน่ ดินระดบั อาเภอ วางแผนปฏิบตั ิการ เพือ่ ฟื้นฟูหรือส่งเสรมิ การดาเนนิ งานกองทุนแม่ของแผ่นดินใหส้ อดคล้องกบั ผลการตรวจสขุ ภาพ ๓) รายงานผลการตรวจสุขภาพและแผนปฏิบัติการเสนอต่อคณะกรรมการขับเคลื่อน การดาเนินงานกองทุนแมข่ องแผ่นดนิ ระดบั จังหวดั ๒.๔ คณะกรรมการขับเคลื่อนการดาเนินงานกองทุนแม่ของแผ่นดินระดับจังหวัด รายงาน ผลเสนอต่อกรมการพฒั นาชมุ ชน กระทรวงมหาดไทย เครอ่ื งมอื 1) แบบตรวจสุขภาพกองทนุ แม่ของแผน่ ดนิ 2) โปรแกรมตรวจสุขภาพออนไลน์ (จกั แจง้ ประสานการใช้งานอีกครงั้ หนึ่ง) ข้อมลู แบบตรวจสุขภาพกองทุนแมข่ องแผน่ ดิน มี ๓ สว่ น คือ สว่ นที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานของหมู่บา้ นกองทุนแม่ของแผ่นดิน ประกอบดว้ ยข้อคาถาม 9 ข้อ สว่ นที่ 2 แบบประเมนิ สถานะเพ่ือพฒั นากองทุนแม่ของแผน่ ดิน ประกอบด้วยข้อคาถาม 19 ขอ้ 4 ประเดน็ ดงั นี้ 1) การบรหิ ารจดั การกองทนุ แม่ของแผน่ ดนิ จานวน ๕ ข้อ 2 การบริหารเงินกองทุนแม่ของแผ่นดนิ จานวน 4 ข้อ 3) การดาเนินงานด้านยาเสพตดิ จานวน 6 ขอ้ 4) การเสรมิ สรา้ งความเข้มแข็งของกองทุนแม่ของแผ่นดิน จานวน ๔ ข้อ แต่ละข้อความคาถาม ประกอบด้วย 4 ตวั เลอื ก แตล่ ะตวั เลือก มีค่าคะแนน 3 , 2, 1 และ 0 ตามลาดับ ๑๒

สว่ นที่ ๓ ปญั หาอปุ สรรค/ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ การคิดค่าคะแนน ๑) รวมคะแนนท่ีได้แตล่ ะข้อ ดังน้ี ขอ้ ที่ตอบตวั บง่ ชชี้ ่องแรก มีค่าคะแนน = ๓ ขอ้ ท่ีตอบตัวบง่ ช้ีช่องถัดไป มีคา่ คะแนน = ๒ , ๑ และ ๐ ตามลาดับ ๒) ปรับคะแนนท่ีได้ เปน็ ร้อยละ คา่ คะแนนรวมที่ได้ *100 คา่ คะแนนเต็ม ตอบข้อคาถามทั้ง ๑๙ ขอ้ ปรบั คะแนนท่ีได้ เปน็ ร้อยละ ดงั น้ี คา่ คะแนนรวมที่ได้ *100 5๗ (1๙ ขอ้ *3 คะแนน= ๕๗) การจดั ระดับสุขภาพของกองทุนแม่ของแผน่ ดนิ ระดบั สุขภาพของ ค่าคะแนนท่ไี ด้ หมายถึง กองทนุ แมฯ่ A มากกว่า หรือ เท่ากบั กองทนุ แม่ของแผ่นดนิ เขม้ แข็ง รอ้ ยละ ๘๐ หมู่บ้านชุมชนมรี ะบบเฝูาระวังอย่างย่ังยนื สามารถ เป็นศนู ยเ์ รียนรู้ B มากกว่า หรอื เท่ากบั ร้อยละ 50 กองทุนแม่ของแผ่นดนิ เขม้ แข็ง แตไ่ ม่ถึงรอ้ ยละ 80 หมู่บ้านชมุ ชนมกี ารเฝูาระวัง หากไดร้ ับการพัฒนาศกั ยภาพในบางด้านจะสามารถ เป็นศูนย์เรียนรไู้ ด้ C นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 50 กองทุนแม่ของแผน่ ดนิ ทต่ี ้องมีการปรับปรุง ๑๓

วธิ ีการตรวจสุขภาพกองทุนแม่ของแผน่ ดนิ ชุดปฏิบัติการตรวจสุขภาพกองทุนแม่ของแผ่นดิน ใช้แบบตรวจสุขภาพกองทุนแม่ของแผ่นดินเป็น เคร่ืองมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือจัดระดับสุขภาพของกองทุนแม่ของแผ่นดิน ตามแนวทางดังนี้ ๑. การเลือกกลมุ่ บคุ คลในการให้ข้อมูลการดาเนินงานกองทุนแม่ของแผ่นดิน ให้ครอบคลุมผู้มีส่วนได้เสีย หรือผู้มีบทบาทในการดาเนินงานของกองทุนแม่ของแผ่นดินในหมู่บ้านนั้น ๆ เช่น ประธาน เลขานุการ เหรัญญิก กรรมการฝุายต่างๆ สมาชิกกองทุน ผู้เคยได้รับการช่วยเหลือจากกองทุน รวมถึงผู้ท่ียังไม่ได้เป็นสมาชิกกองทุน ที่อาศัยอยู่ในหมู่บ้าน เพื่อร่วมกันให้ข้อมูลตามประเด็นคาถามในแบบตรวจสุขภาพที่จัดทาไว้ โดยควรนัดหมาย กล่มุ เปาู หมาย พรอ้ มสถานทนี่ ดั หมายเอาไว้ล่วงหนา้ ๒. ชุดปฏิบัติการตรวจสุขภาพกองทุนแม่ของแผ่นดิน ชี้แจงความเป็นมา แนวคิดของการดาเนินงาน กองทนุ แมข่ องแผ่นดนิ และวตั ถปุ ระสงคข์ องการตรวจสุขภาพกองทนุ แม่ของแผ่นดิน ๓. การดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล ให้ชุดปฏิบัติการตรวจสุขภาพกองทุนแม่ของแผ่นดิน ใช้วิธีการ สัมภาษณ์กลุ่ม ตามประเด็นคาถามในแบบตรวจสุขภาพท่ีสร้างเอาไว้ทีละข้อ และให้ขอตรวจเอกสารท่ี เกย่ี วขอ้ งรว่ มด้วย ๔. เพอื่ ให้ไดข้ อ้ มูลทถ่ี กู ต้อง ครบถ้วน ให้ชุดปฏิบัติการตรวจสุขภาพกองทุนแม่ของแผ่นดิน ตรวจสอบ ความรู้ความเข้าใจตามประเด็นคาถามจากผู้ให้ข้อมูลหลังการสัมภาษณ์กลุ่มรายข้อ เพ่ือยืนยันความรู้ความ เข้าใจและผลการประเมินสุขภาพของกองทนุ อกี ครง้ั เอกสารที่ขอตรวจ ๑) ระเบียบกองทุนแม่ของแผ่นดนิ บา้ น........(ชอ่ื หมบู่ ้าน/ชมุ ชน)... ๒) รายช่ือคณะกรรมการกองทุนแม่ของแผ่นดิน ๓) บนั ทกึ รายงานการประชุม ๔) บันทกึ บญั ชกี องทนุ แม่ของแผ่นดิน ๕) สมดุ บัญชธี นาคาร ๖) ข้อมลู การดาเนนิ กิจกรรมตา่ งๆ (เชน่ ภาพถา่ ย เอกสารสรปุ ผลการดาเนินงาน) ๑๔

กจิ กรรมหลักที่ ๒ ต้นกล้ากองทุนแม่ของแผ่นดิน เป้าหมาย - จานวน ๒,๙๗๕ หมู่บา้ น กลไกการดาเนนิ งาน - กรมการพัฒนาชุมชน โดยคณะทางานวิชาการ ศพส.มท. จดั ทาแนวทางการดาเนินงานกองทุน แมข่ องแผน่ ดนิ - จังหวัด โดย คณะกรรมการขับเคล่ือนการดาเนินงานกองทุนแม่ของแผ่นดินระดับจังหวัด เปน็ คณะอานวยการ กากับตดิ ตาม และรายงานผล ระดับจงั หวดั - อาเภอ โดย คณะกรรมการขับเคลื่อนการดาเนินงานกองทุนแม่ของแผ่นดินระดับอาเภอ เปน็ คณะดาเนนิ งานสนับสนนุ การจดั ตงั้ และรายงานผล ระดับอาเภอ - อาเภอ โดยเครือขา่ ยกองทนุ แม่ของแผน่ ดนิ ระดบั อาเภอ เป็นคณะดาเนนิ งานสนบั สนุนการจัดตงั้ - พื้นที่ โดยทีมวิทยากรกระบวนการกองทุนแม่ของแผ่นดิน ประชาสัมพันธ์ สร้างความเข้าใจ เกีย่ วกบั การจดั ต้งั กองทนุ แมข่ องแผ่นดนิ วธิ กี าร/ขัน้ ตอน 1) คัดเลอื กชมุ ชนเปา้ หมาย  พจิ ารณาหมูบ่ า้ นเศรษฐกิจพอเพยี งตน้ แบบเปน็ ลาดบั แรก  สารวจคุณสมบตั ิของหมู่บ้าน/ชมุ ชน ของกองทนุ แมข่ องแผ่นดิน ดงั นี้ เนือ่ งจากกองทนุ แมข่ องแผ่นดิน ถือเป็นกองทุนท่มี คี วามศักดิส์ ทิ ธ์ิ หมู่บ้าน/ชุมชนใด ท่ีจะได้รับพระราชทานน้ัน จาเป็นจะต้องคัดเลือกเฉพาะหมู่บ้าน/ชุมชนที่มีคุณภาพไม่ได้เน้นว่าจะต้อง มีจานวนมาก ซึ่งต่อไปนี้เป็นองค์ประกอบหลักที่ ใช้เป็นแนวทางในการคัดเลือกหมู่บ้าน/ชุมชน เพ่ือเข้ารับ พระราชทานกองทุนแม่ของแผ่นดิน ต่อไปนี้ (๑) มีการพฒั นาหรืออบรมผ้นู าหมบู่ า้ น/ชุมชนอย่างตอ่ เน่อื ง (๒) ผนู้ าหมูบ่ า้ น/ชุมชน มีความเข้มแข้ง สามคั คกี นั และมีกจิ กรรมที่ได้ดาเนนิ การ อย่างเป็นรปู ธรรม (๓) มกี ฎระเบียนหมบู่ า้ น/ชุมชนในเรื่องยาเสพตดิ มผี ลบังคบั ใช้อย่างจรงิ จงั (๔) มีการประชมุ หารือในหม่บู ้าน/ชุมชน เป็นนติ ย์โดยเริ่มและเลิกประชมุ อย่าง พร้อมเพียงกัน (๕) มกี ารรวมกล่มุ กจิ กรรมในหมบู่ า้ น/ชมุ ชนอยา่ งหลากหลาย (๖) มกี ารเฝูาระวังในหมู่บา้ น/ชุมชนอย่างเป็นระบบ และมกี ารมอบหมายภารกิจท่ี ชัดเจน เช่น การจดั เวรยามดแู ลความไม่สงบเรยี บร้อยในหมู่บ้าน/ชมุ ชน ๑๕ (๗) มกี ารสารวจปัญหายาเสพตดิ และยอมรับผลไมป่ ิดบัง ๑๕ ๑๕

(๘) มกี ารจัดกล่มุ กจิ กรรมเยาวชน มเี ยาวชนเข้าร่วมมาก (๙) มีกจิ กรรมปูองกนั และแกไ้ ขปัญหายาเสพตดิ ทตี่ รงกบั สถานการณ์และสาเหตุ ของปัญหา (๑๐) มีประชามติของคนในหมบู่ ้าน/ชมุ ชน เหน็ ชอบตอ่ การเขา้ รว่ มกองทนุ แม่ของ แผ่นดินอย่างกวา้ งขวาง (๑๑) มกี องทนุ ยาเสพตดิ ในหมูบ่ า้ น/ชมุ ชนหรือกองทนุ อืน่ ๆ ภายในหมู่บา้ น/ชมุ ชน ท่ีนามาใช้ในกิจกรรม ปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดภายในหมู่บ้าน/ชุมชน โดยกองทุนที่มีอยู่เหล่าน้ี เป็นไปดว้ ยความเรียบร้อย และบริหารจดั การที่ดี (๑๒) คนในหมบู่ ้าน/ชมุ ชนกระตือรอื ร้นทจี่ ะไปศึกษาเรียนรหู้ มบู่ ้านกองทุนแม่แหง่ อื่น (๑๓) มกี ิจกรรมขยายทนุ ทางสังคมในหมูบ่ ้าน/ชมุ ชนอย่างเปน็ รปู ธรรม (1๔) ได้รับรางวัลต่าง ๆ ทแี่ สดงถงึ ความเขม้ แขง็ ของหมู่บา้ น/ชุมชนหลายรางวลั (๑๕) มีการบรู ณาการอย่างเข้มแข็งของกลมุ่ องค์กรชมุ ชนตา่ ง ๆ ทม่ี ีอยใู่ นหมูบ่ ้าน/ชมุ ชน 2) ขยายความคดิ  ทาความเขา้ ใจโครงการทุกครวั เรอื น ใหค้ วามรู้ความเขา้ ใจในกระบวนการดาเนินงานและให้ทกุ คนยอมรับวา่ หมบู่ ้าน/ ชมุ ชน ที่มีกองทุนแม่ของแผ่นดินอาจยังมีการแพร่ระบาดของยาเสพติดอยู่ กระตุ้นให้ชุมชนเกิดการต่ืนตัวท่ีจะ แก้ไขปัญหายาเสพติด โดยน้อมนาเอากระแสพระราชดารัสของสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ และ กาหนดให้มีการแก้ไขปัญหายาเสพติดเป็นวาระแห่งชาติของรัฐบาล มากาหนดเป็นภารกิจของกองทุนแม่ของ แผ่นดนิ ดงั นัน้ กองทนุ แม่ของแผ่นดินจึงมีบทบาทหลัก 2 ประการ ดังนี้ (1) รบั รองครัวเรอื น กองทุนแมข่ องแผน่ ดนิ จะรบั รองครวั เรอื นทปี่ ลอดภยั แลว้ โดยการมอบธงสญั ลกั ษณ์ครัวเรือนปลอดภัยกองทุนแม่ของแผ่นดินให้กับ ครัวเรือนสมาชิก เพ่ือรณรงค์ให้มีครัวเรือนที่ปลอดภัยจากยาเสพติดให้ มากทสี่ ุด (2) รบั รองบคุ คล กองทุนแม่ของแผ่นดินจะมี บทบาทดูแลผู้ที่เคยหลงผิดไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดในลักษณะของผู้ที่เคย ค้าหรือเคยเสพที่สมัครเข้าร่วมเป็นสมาชิกของโครงการให้เป็นท่ียอมรับ ของสงั คมต่อไป เป้าหมาย ในการดาเนินงานระดบั หมบู่ ้าน/ ชมุ ชน คือ ป้องกนั ส่วนดี และ แก้ไขส่วนเสีย ใหท้ าความเขา้ ใจเพม่ิ เตมิ วา่ กองทนุ แมข่ อง แผ่นดิน จะต้องมีกลุ่มสมาชิกท่ีสมัครใจเข้าโครงการและทากิจกรรม ร่วมกันอย่างชัดเจน และไม่ได้หมายถึงการดาเนินงานทั้งหมู่บ้าน แต่ผลการดาเนินงานน้ันอาจส่งผลดีต่อ ประชาชนทั้งหมบู่ ้านดว้ ย นอกจากนมี้ ีเปาู หมายในการขยายสมาชกิ อยา่ งมีคุณภาพใหเ้ กดิ ขึ้นท้งั หมู่บา้ นด้วย ในการสมคั รเข้ามาเป็นสมาชิกในการปอู งกันและแกไ้ ขปัญหายาเสพติดร่วมกนั น้นั ๑๖

จาเป็นต้องมีกฎกติกาในการอยู่ร่วมกันในลักษณะชุมชนเข้มแข็ง ซ่ึง จะต้องมกี ารรว่ มบริจาคเพ่อื จดั ต้ังเป็นกองทุนแก้ไขปัญหายาเสพติด และ มกี ารจัดกิจกรรมรว่ มกันเพื่อสร้างหลักประกันความปลอดภัยจากยาเสพ ติดให้ครัวเรือนสมาชิก โครงการน้ีจะใช้แนวทางสันติวิธีในการลดผู้ค้า ผูเ้ สพ คอื จะไม่มีเร่อื งกบั ผคู้ ้าและไมม่ ปี ญั หากบั ผู้เสพอยา่ งเดด็ ขาด ในการทาความเขา้ ใจโครงการน้ีจาเปน็ ต้อง ดาเนินการให้กับประชาชนทุกครัวเรือนที่อยู่ในหมู่บ้าน/ชุมชนท่ีได้รับ กองทุนแม่ของแผ่นดิน โดยเมื่อได้รับทราบจนเข้าใจแล้ว ครัวเรือนนั้นอาจสมัครหรือไม่สมัครเข้าร่วม โครงการกไ็ ด้  จดั ต้ังคณะกรรมการกองทุนแม่ของแผ่นดนิ หลังจากทาความเข้าใจภารกิจของกองทนุ แมข่ องแผน่ ดนิ และแนวทางการขับเคลอื่ นแลว้ ให้มีการรับสมัครผู้นาทุกฝุายในหมู่บ้าน/ชุมชน เป็นคณะกรรมการกองทุนแม่ของแผ่นดิน โดยยึดหลักความ สมัครใจและทกุ คนท่เี ป็นกรรมการตอ้ งมบี ทบาทหนา้ ทอ่ี ย่างชัดเจนด้วย  บทบาทหนา้ ท่ี ของคณะกรรมการกองทนุ แม่ของแผน่ ดนิ มี 10 ประการ ไดแ้ ก่ (1) รกั ษาความศกั ด์สิ ทิ ธิข์ องกองทนุ แมข่ องแผน่ ดนิ (2) เป็นตัวอย่างในการแสดงความจงรกั ภักดีอย่างสูงสุดในหมู่บา้ น/ชุมชน (3) รว่ มบรหิ ารและดาเนนิ งานกองทนุ แม่ของแผ่นดนิ ไม่ใหห้ ยดุ นง่ิ ใหม้ คี วาม ต่อเนอื่ งอยเู่ สมอ (4) ประชาสมั พันธ์ให้ประชาชนในหมู่บ้านและประชาชนทว่ั ไปมคี วามศรัทธา กองทุนแม่ของแผน่ ดินดว้ ยการปฏบิ ัตแิ ละดว้ ยการเชิญชวน (5) ดูแลครัวเรือนสมาชิกของกองทนุ แมข่ องแผ่นดนิ ตามที่ได้อาสาดูแลหรอื ไดร้ บั มอบอย่างใกลช้ ิด (6) ร่วมพจิ ารณาการใชจ้ า่ ยเงนิ กองทนุ แม่ของแผ่นดนิ ใหเ้ ป็นไปตามปรัชญา ของโครงการ (7) ดาเนนิ การจัดเก็บเงินกองทุนแห่งศรทั ธาจากสมาชกิ สัปดาห์ละ 1 ครั้ง หรือ ตามที่ทีป่ ระชมุ เห็นร่วมกนั (8) ร่วมพิจารณาการจัดกิจกรรมเพือ่ ขยายกองทุนแมข่ องแผ่นดินตามแนวทาง แห่งปัญญา (9) ร่วมขับเคล่อื นกองทนุ แมข่ องแผน่ ดินให้นาไปสกู่ ารแก้ไขปญั หายาเสพตดิ ของชมุ ชนอยา่ งย่ังยืน (10) ดาเนินการใดๆ ตามความคดิ รเิ ริ่มทเี่ ปน็ ประโยชน์ต่อกองทุนแมข่ องแผน่ ดิน ในการจัดต้ังคณะกรรมการให้ผู้นาธรรมชาติ (ผู้นาที่ไม่เป็นทางการ) มีบทบาทให้มาก ท่ีสุด คือ เป็นประธานกรรมการ และให้ผู้นาทางการ ได้แก่ ผู้นาท้องที่/ผู้นาท้องถิ่น เป็นที่ปรึกษา (หากผู้นา ทางการยังมีบทบาทในการเป็นประธานอยา่ งตอ่ เน่ืองอยใู่ หย้ งั คงปฏิบัติหน้าที่น้นั ต่อไปจนกว่าคณะกรรมการจะ พจิ ารณาเห็นสมควร) ๑๗

 การแบง่ ความรับผดิ ชอบ กรรมการแต่ละคนต้องมคี วามพรอ้ มในการดแู ลคน ในชุมชนเองในสัดส่วนกรรมการ 1 คน ต่อครัวเรือนสมาชิกไม่เกิน 4 ครัวเรือน (1 : 4) ซ่ึงครัวเรือนสมาชิกท่ี จะอยู่ในการดูแลของกรรมการคนใดนั้น กรรมการคนน้ันอาจเป็นผู้นามาสมัครเข้าร่วมโครงการเอง หรืออาจ เป็นครัวเรือนที่ ที่ประชุมคณะกรรมการมอบหมายให้กรรมการดูแลก็ได้ สาหรับหน้าท่ีต่างๆเพื่อให้การทางาน ของคณะกรรมการเป็นไปด้วยความเรียบร้อยน้ันให้ที่ประชุมคณะกรรมการพิจารณาตามความเหมาะสม เช่น รองประธานกรรมการ เลขานุการ ฝุายประสานงานส่วนราชการ ฝุายบัญชี ฝุายการเงิน ฝุายวิชาการ ฝาุ ยทะเบียนสมาชกิ ฯ เปน็ ตน้  ทป่ี รึกษา ให้คณะกรรมการจดั ต้ังท่ปี รึกษา 2 ประเภท ได้แก่ ท่ปี รึกษาท่ีเป็น คนในหมู่บ้าน/ชุมชน และที่ปรึกษาจากส่วนราชการ เพ่ือให้มีบทบาทในการให้คาแนะนาการดาเนินงานของ คณะกรรมการกองทุนแมข่ องแผ่นดินให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น และเป็นการสร้างความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับ ส่วนราชการทเี่ กย่ี วขอ้ งด้วย - ที่ปรกึ ษาเป็นคนในหมบู่ ้าน/ชุมชนน้นั อาจไดแ้ ก่ ผู้อาวุโส ผ้ทู รงคณุ วฒุ ิในหม่บู ้าน - ทป่ี รกึ ษาจากสว่ นราชการ อาจไดแ้ ก่ คณะกรรมการ ศพส.อาเภอ,คณะกรรมการ ขับเคลอื่ นกองทุนแมร่ ะดบั อาเภอ , ทมี วิทยากรกระบวนการ, เจา้ หนา้ ที่ ป.ป.ส. และพฒั นากรประจาตาบล  วาระของคณะกรรมการ การจดั ตง้ั คณะกรรมการกองทุนแมข่ องแผน่ ดนิ ใหม้ ี วาระการปฏิบัติหน้าที่คราวละ 1 ปี โดยให้มีการคัดเลือกคณะกรรมการใหม่ในเดือนตุลาคมของทุกปี ซ่ึงคณะกรรมการคนเดมิ อาจได้รบั การคัดเลือกใหม่อีกกไ็ ดไ้ ม่จากัดจานวนคร้งั ในแตล่ ะเดือนอาจมีการแต่งต้ังคณะกรรมการเพ่ิมเติมได้ตามจานวนของสมาชิก ใหมท่ ่ีเพิม่ ขึน้ จากการมาสมัครเพิ่มเติม หมายถึงว่า หากมีสมาชิกเพิ่มขึ้นก็ให้มีกรรมการที่คอยดูแลเพ่ิมข้ึนด้วย ตามสดั สว่ น แต่เม่ือครบกาหนดแลว้ ก็ใหม้ กี ารคดั เลือกใหมต่ ามวาระพร้อมกับกรรมการทัง้ คณะ(เดอื นตุลาคม)  เงือ่ นไขของคณะกรรมการ กรรมการทกุ คนต้องยอมรับว่าจะไมข่ อรับเงนิ เดอื น เบ้ียเล้ียง หรือค่าตอบแทนใดๆ จากการปฏิบัติงานกองทุนแม่ของแผ่นดิน นอกจากความภาคภูมิใจที่ได้ร่วม สนองพระราชปณิธานในการแก้ไขปัญหายาเสพติดให้กับหมู่บ้าน/ชุมชนของตน และเพ่ือขอใช้ความเป็น กรรมการเป็นโอกาสในการทาความดีเพื่อแผ่นดินเท่านั้น  รบั สมัครครวั เรอื นสมาชกิ เข้ารว่ มโครงการ เปน็ การจดั ตัง้ สมาชิกของโครงการด้วยความสมคั รใจ โดยอาจเป็นสมาชิกทีส่ มคั รขอ อยู่ในความดูแลของผู้ที่สมัครเป็นกรรมการ หรือ สมัครโดยตรงด้วยตนเองต่อคณะกรรมการก็ได้ ซึ่งคณะกรรมการจะพจิ ารณาให้อย่ใู นความดแู ลของกรรมการคนใดคนหนึ่งต่อไป การกาหนดให้สมาชิกกองทุนแม่ของแผ่นดินต้องมาจากการสมัครน้ันก็เพื่อที่จะให้การ ดาเนนิ งานกองทนุ แมข่ องแผน่ ดนิ ไม่มีความขดั แยง้ หรอื ถูกขดั ขวางจากผู้ทไี่ ม่ศรทั ธา  ครัวเรอื นท่ีสมคั รเขา้ รว่ มโครงการกองทนุ แม่ของแผน่ ดนิ จะมี 2 ประเภท ไดแ้ ก่ - ครวั เรอื นทม่ี ีความปลอดภัยจากยาเสพติดมากอ่ นแล้ว การสมคั รของครัวเรอื นประเภทนี้เพอื่ ตอ้ งการให้คณะกรรมกองทุนแมข่ อง แผ่นดินรับรองความปลอดภัยให้กับครัวเรือน และเพ่ือร่วมแสดงศรัทธาว่าครัวเรือนของเขาต้องการสนับสนุน ใหเ้ กอดหมู่บา้ น/ชมุ ชนปลอดภัยจากยาเสพตดิ ตลอดไปภายใตพ้ ระบารมีแม่ของแผน่ ดนิ - ครวั เรือนที่พบปญั หาหรือไมม่ ีความปลอดภัยจากยาเสพติด ๑๘

การสมคั รของครวั เรอื นประเภทที่สองนี้ก็เพื่อให้คณะกรรมการกองทุนแม่ของ แผ่นดินให้การดูแลคนในครอบครัวของเขา เพ่ือให้ได้รับการแก้ไขด้วยระบบชุมชนเข้มแข็งของกองทุนแม่ของ แผ่นดิน ซ่ึงการสมัครเข้าร่วมเป็นสมาชิกแสดงว่าคนในครอบครัวของเขาพร้อมให้กรรมการและสมาชิกใน ชุมชนดูแลเขาได้ ไมเ่ กดิ ความขัดแยง้ ขึ้นภายหลงั  เง่อื นไขในการรบั สมัครครัวเรอื นเข้าร่วมเปน็ สมาชิกของโครงการกองทุนแมข่ อง แผ่นดนิ นนั้ กาหนดไว้ 3 ประการ ไดแ้ ก่ - ครัวเรือนต้องยอมรบั กฎชุมชนเขม้ แขง็ 7 ประการ (กฎหลกั ) - ทกุ คนในครัวเรือนยนิ ดีบริจาคเงนิ เปน็ ทุนศรทั ธา 1 บาท/คน/สัปดาห์ หรอื ตามท่ที ี่ประชมุ เห็นรว่ มกัน - ตอ้ งยอมรับการดูแลของกรรมการในการตกั เตอื นทกุ คนในครอบครวั ได้ การสมคั รใจเขา้ รว่ มเป็นสมาชิกกองทุนแม่ของแผ่นดินของหัวหน้าครัวเรือนหมายถึง ทุกคนในครวั เรอื นน้นั ได้เปน็ สมาชิกกองทุนแมข่ องแผน่ ดนิ ดว้ ย การใหค้ รัวเรอื นสมาชิกสมัครดว้ ยความสมัครใจน้ัน จะทาใหก้ องทุนแม่ของแผ่นดินมี ทนุ ทางสังคมท่ีชัดเจน เป็นกลุ่มเปูาหมายในการดาเนินการของคณะกรรมการ ไม่ใช่ต้องดาเนินการทั้งหมู่บ้าน ซ่ึงอาจจะทาให้มีปัญหากับผู้ไม่สมัครใจ แต่ก็เปิดโอกาสให้มีการับสมัครสมาชิกเพิ่มเติมได้ทุกเดือนเมื่อเขามี ศรทั ธาขน้ึ ในภายหลัง เพื่อให้กองทุนแม่ของแผ่นดินมีความเข้มแข้งในการขับเคล่ือนงานแก้ไขปัญหา ยาเสพติดในรูปแบบของชุมชนเข้มแข็งได้ จึงควรมีสมาชิกกองทุนแม่ของแผ่นดินในแต่ละหมู่บ้าน/ชุมชน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 หากหมู่บ้าน/ชุมชนใดมีขนาดใหญ่มากให้พิจารณาดาเนินการเฉพาะส่วนท่ีทาได้ โดยแยกเป็นพื้นที่ๆไปกอ่ นได้ 3) พิชิตปัญหายาเสพตดิ  จดั ต้ังกฎชมุ ชนเข้มแข็ง การรวมตัวกนั ของคนท่ีต้องการสรา้ งชมุ ชนใหม่ซ้อนชุมชนเดิมข้ึนมาให้เข้มแข็ง ตามท่ีได้ดาเนินการในรับสมัครครัวเรือนสมาชิกเข้าร่วมโครงการ น้ัน มีความจาเป็นที่เราต้องเสนอให้มีกฎ ในการอยู่ร่วมกัน ซ่ึงเป็นข้อตกลงกันในกลุ่มว่าจะใช้การดูแลกัน เป็นกฎพิเศษที่ใช้เฉพาะผู้ท่ีสมัครเข้ามาเป็น สมาชิกดว้ ยกนั เทา่ น้นั ไมไ่ ด้ใชก้ บั คนทไ่ี มใ่ ช่สมาชิก กฎชุมชนเข้มแข็ง ประกอบด้วยกฎหลักและกฎรอง โดยกฎหลัก เป็นกฎที่กาหนดให้ ทุกหมู่บ้าน/ชุมชนท่ีมีกองทุนแม่ของแผ่นดิน นาไปใช้ปฏิบัติเป็นอันเดียวกันทั้งประเทศ และกฎรอง เป็นกฎ ทชี่ มุ ชนร่วมกนั จดั ตงั้ ขนึ้ ตามความเหมาะสมของสถานการณ์ ๑๙

กฏหลัก ของชมุ ชนเข้มแขง็ กาหนดใหใ้ ชเ้ หมือนกนั ทกุ กองทุน (ในทางพุทธศาสนา เรยี กวา่ หลกั อปรหิ านิยธรรม ) มี ๗ ประการ ประกอบดว้ ย ๑) สมาชกิ ร่วมประชุมกันเปน็ นติ ย์ ๒) สมาชิกหมนั่ เร่มิ ประชุมและเลิกประชมุ พร้อมกัน ทากิจที่พึงกระทา โดยพรอ้ มเพรียงกัน ๓) สมาชกิ ยอมรบั มติสว่ นใหญ่ของที่ประชมุ ในการแก้ไขปัญหา ๔) สมาชิกใหก้ ารยอมรับและเคารพผู้อาวุโส ๕) สมาชกิ ให้การสงเคราะห์และชว่ ยเหลือผู้ดอ้ ยโอกาสในสังคม เช่น เดก็ สตรี คนชรา คนพิการ และคนทย่ี ากจนกวา่ ๖) สมาชกิ ส่งเสริมและรักษาวัฒนธรรมประเพณที ด่ี งี าม ๗) สมาชิกช่วยกันทานบุ ารงุ ศาสนา คณะกรรมการอาจมกี ารใช้จา่ ยเงนิ กองทุนแก้ไขปัญหายาเสพติด หรอื กองทุนแมข่ องแผ่นดนิ หรอื มกี ารดาเนินการทกุ อย่างเพือ่ ที่จะดารงรกั ษากฎชมุ ชนเขม้ แขง็ นไ้ี ว้ เพราะหากชุมชนมีความเข้มแข็งแล้วจะ สามารถแกไ้ ขปญั หาทกุ เรอ่ื งได้เอง และจะสามารถปูองกันปญั หาในอนาคตทีจ่ ะเกดิ ข้ึนได้อกี ด้วย กฎรอง เป็นกฎซึ่งเป็นที่ยอมรับของชุมชนในการแก้ไขปัญหาเฉพาะด้านยาเสพติด เป็นไป ตามความเหมาะสมของแต่ละชุมชน แต่การกาหนดกฎใดๆต้องไม่ขัดกับหลักการสันติวิธีอย่างเด็ดขาด เช่น กาหนดใหม้ กี ารลงโทษทางสังคมท่ีทาใหเ้ กิดความรสู้ กึ คับข้องใจของสมาชิก หรือให้มีการตัดสิทธิ์ในชุมชน ฯลฯ ควรกาหนดขน้ึ เพอ่ื สง่ เสรมิ ใหม้ ีความรู้สกึ ในเชิงบวกตอ่ สมาชกิ เทา่ นนั้  ใหค้ วามรคู้ วามเข้าใจเรื่องยาเสพติด ในการขับเคลือ่ นของชุมชนเพ่ือแกไ้ ขปัญหายาเสพตดิ ด้วยพลงั ของชุมชนนัน้ จาเป็นต้องให้มีการรวมตัวกันของคนในชุมชนท่ีเห็นทุกข์ร่วมกัน เห็นทุกข์ภัยในยาเสพติดในทิศทางเดียวกัน ก่อน โดยเฉพาะปัญหายาเสพติดในระดับหมู่บ้าน/ชุมชน ต้องให้ทุกคนมีมุมมองในปัญหายาเสพติดร่วมกัน หากต่างมุมมองกันการตดั สนิ ใจในการแก้ไขปัญหารว่ มกนั อาจเกิดความขัดแย้งข้ึนได้ สมาชิกที่รวมตัวกันเพื่อแก้ไขปัญหายาเสพติดนั้น จะต้องมีความรู้ความเข้าใจเรื่อง ปญั หาและแนวทางการแกไ้ ขปญั หายาเสพติดอย่างแท้จริง โดยคณะกรรมการอาจเชิญวิทยากรจากภายนอกมา ใหค้ วามรใู้ นเรอ่ื งต่อไปนี้ - โทษพิษภัยของยาเสพตดิ และลักษณะของคนใชย้ าเสพตดิ - คนเราตดิ ยาเสพติดไดอ้ ยา่ งไร และหากเสพแลว้ จะเลิกได้อย่างไร - ประเภทและชนดิ ของยาเสพตดิ - กฎหมายยาเสพติดทค่ี วรรู้ ๒๐

- การแก้ไขปัญหายาเสพติดของภาครัฐ - ปัญหายาเสพตดิ ไมส่ ามารถแกไ้ ขไดด้ ว้ ยเงิน หรือด้วยการปราบปรามเพียงอย่างเดียว หรอื ด้วยการบาบัดรักษา(สายเกินไป) - ความเชื่อม่ันว่าชุมชนมีศักยภาพในการแก้ไขปัญหาบาเสพติดของชุมชนได้ด้วยพลัง ของชุมชนเอง ตามแนวทางสันติวิธี มีการให้อภัยกันเองต่อทุกคนที่พร้อมจะเริ่มต้นใหม่ ในสังคมที่อบอุ่นของ ชมุ ชนเขม้ แข็ง ซึง่ เปน็ ความรูค้ วามเขา้ ใจทส่ี าคญั ทส่ี ดุ ความรคู้ วามเขา้ ใจตามประเด็นต่างๆดังกล่าวจะทาให้สมาชิกมีทิศทางในการตัดสินใจ ในการแก้ไขปัญหาในแนวทางเดียวกัน คือ การใช้แนวทางให้อภัยทางสังคม แทนการลงโทษทางสังคม หรือ การใชม้ าตรการเด็ดขาดโดยกฎหมาย สงั คมทจี่ ะใช้มาตรการใหอ้ ภัยทางสังคมได้นั้นก็ต้องเป็นสังคมของชุมชน เขม้ แข็งเท่านน้ั  จัดตงั้ กองทนุ แกไ้ ขปญั หายาเสพติด กองทุนแกไ้ ขปัญหายาเสพตดิ เปน็ “กองทุนทางสงั คม” จึงไม่เน้นการจดั ต้ังกองทุน จากทนุ ทรพั ย์เปน็ หลัก แต่การจดั ตง้ั กองทนุ นเี้ ปน็ การทดสอบศักยภาพของทนุ ทางสังคมท่ีมีในชุมชน โดยแสดง ออกมาเปน็ กองทนุ แห่งความสามัคคี เพราะปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาทางสังคมซ่ึงต้องแก้ไขหรือปูองกันด้วย พลังทางสังคม เม่ือชุมชนต้องการแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างแท้จริงแล้ว การจัดต้ังกองทุนแก้ไขปัญหา ยาเสพตดิ ก็เพ่ือเป็นอุบายในการดาเนินการเพ่ือใหเ้ กิดทุนทางสังคมขนึ้ น่นั เอง  ทุนศรัทธา เปน็ ทุนตัง้ ต้นของกองทุนแก้ไขปญั หายาเสพตดิ โดยทนุ น้ีจะแสดงถงึ ศรทั ธาของสมาชกิ วา่ หากต้องการปูองกันปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดให้ไดอ้ ย่างตอ่ เน่ืองแล้ว จาเป็นที่ พวกเราจะต้องมีศรัทธาอย่างต่อเนื่องด้วย โดยการจัดต้ังกองทุนน้ีมีลักษณะคล้ายกับการซ้ือประกันภัยยาเสพ ติด ซ่ึงมีราคาเพียง 1 บาท/คน/สัปดาห์ (หรือตามท่ีที่ประชุมเห็นร่วมกัน) เท่านั้น เช่น หากครัวเรือนใดมี สมาชิก 5 คน ก็ให้บริจาค 5 บาท/สัปดาห์ (หรือตามที่ที่ประชุมเห็นร่วมกัน) ให้กับคณะกรรมการ ท้ังน้ี วัตถปุ ระสงคส์ าคญั เพอื่ ให้ทกุ คนมกี ารคดิ หว่ งใยกนั เรือ่ งยาเสพตดิ ในครอบครัวน่ันเอง  ทนุ ปญั ญา ให้คณะกรรมการพิจารณาร่วมกนั เป็นระยะในการที่จะขยายกองทุน แม่ของแผ่นดนิ ด้วยปญั ญาของคณะกรรมการแต่ละกองทุนด้วยวิธีการต่างๆ สาหรับกิจกรรมใดๆบางกิจกรรมที่ ตอ้ งใชง้ บประมาณ  ทนุ ศักดิ์สิทธิ์ เป็นส่วนของเงนิ ท่ีไดร้ ับพระราชทานจากสมเด็จพระนางเจา้ ฯ พระบรมราชินีนาถ โดยเม่ือนามาผสมรวมกับทุนศรัทธาและทุนปัญญาแล้วทาให้ทุนทั้งหมดมีความศักด์ิสิทธ์ิ และทาใหก้ องทนุ ยาเสพติดเปลี่ยนชือ่ เปน็ “กองทุนแมข่ องแผน่ ดนิ ”  การใช้จา่ ยเงินกองทนุ กาหนดกรอบการใช้จา่ ยเงินกองทุนแม่ของแผ่นดิน อยา่ งมคี ุณภาพ โดยแบ่งออกเป็น 4 กรอบใหญ่ๆ ไดแ้ ก่ - การจดั หาธงสญั ลักษณ์กองทนุ แมข่ องแผน่ ดนิ เพื่อรบั รองครวั เรอื นปลอดภยั - การสนับสนนุ กิจกรรมการปอู งกนั และแก้ไขปญั หายาเสพตดิ ตอ่ กลมุ่ เปาู หมาย - การใชจ้ ่ายเพ่ือรกั ษากฎชมุ ชนเขม้ แข็ง - การจดั กจิ กรรมเพ่อื แสดงถึงความจงรกั ภักดตี ่อสถาบันพระมหากษัตริย์ ทั้งนี้ อาจมีการใช้จ่ายเพ่ือการบริหารงานต่างๆของกองทุนแม่ของแผ่นดินให้ เป็นไปด้วยความเรียบร้อย เช่น การจัดทาเอกสาร การเดินทางไปร่วมกิจกรรมต่างๆของโครงการกองทุนแม่ ของแผน่ ดิน หรอื ตามท่ีคณะกรรมการเหน็ สมควร ๒๑

ศรทั ธา ตอ่ เนื่อง ปญั ญา ขยายกองทนุ ขวญั ถุง ศกั ดิ์สทิ ธิ์ ใ น ก า ร รั บ เ งิ น จ า ก ก อ ง ทุ น แ ม่ ข อ ง แผ่นดิน คณะกรรมการจะต้องจัดโต๊ะหมู่บูชาพระบรมฉายาลักษณ์ พร้อมด้วยเคร่ืองสักการะ และพานวางเงินกองทุนที่ได้รับการอนุมัติ จากท่ีประชุมคณะกรรมการแล้ว ให้ผู้ที่ได้รับการช่วยเหลือหรือผู้ที่ จะนาเงินไปทาประโยชน์ตามท่ีได้อนุมัตินั้น แสดงความเคารพพระ บรมฉายาลักษณ์ และเข้ารับเงินจากพานน้ัน โดยมีคณะกรรมการ รว่ มเป็นพยานในพิธดี ว้ ยเสมอ  ประชาคมคัดแยกด้วยสันติวิธี (การคัดแยก ผู้มีพฤตกิ รรมเกย่ี วข้องฯ ในหมู่บา้ น/ชมุ ชน) ในข้ันน้ีเป็นขัน้ ตอนท่สี าคญั มาก โดยหลังจากท่ีเราได้ทดสอบพลังของทุนทางสังคมด้วย การให้มีการบริจาคร่วมทนุ แหง่ ศรัทธามาระยะเวลาหน่ึงแล้ว(โดยประมาณ ๔ สัปดาห์ หรือ ๔ ครั้ง) ก็จะทาให้ ชุมชนเกิดความรักความไว้วางใจกันไม่มีการหวาดระแวงกันในเร่ืองการแก้ไขปัญหายาเสพติดร่วมกันอีกต่อไป พร้อมท่ีจะทาประชาคมคัดแยกผ้คู ้า-ผู้เสพ-ผอู้ ย่ใู นข่ายตอ้ งสงสยั โดยสนั ตวิ ธิ ีแล้ว ในการทาประชาคมครัง้ นกี้ ็เพ่ือให้ประชาคมเป็นผู้บอกว่าใครเป็นปัญหาของชุมชนบ้าง ท่ีชุมชนจะต้องช่วยกันแก้ไข ทั้งผู้เสพ – ผู้ค้า หรือผู้อยู่ในข่ายต้องสงสัย เพ่ือจะได้ดาเนินการด้วยวิธีการของ ชมุ ชนเข้มแข็งต่อไป ไม่สง่ ตอ่ ผู้ทเ่ี ป็นปัญหาให้กบั คนนอกชุมชนหรอื เจ้าหนา้ ที่รฐั ดาเนินการ ในขั้นน้ีจะทาให้เรา ได้ทราบจานวนผู้เสพ-ผคู้ า้ ในชมุ ชนท่คี ้นพบโดยประชาคมหมูบ่ ้านว่าเพิม่ ขนึ้ /ลดลงอย่างไรเป็นรายเดือน ซึ่งจะ เปน็ ข้อมูลที่แท้จรงิ เป็นการทราบสถานการณ์ยาเสพติดในระดับหมู่บ้านอย่างต่อเน่ือง ซึ่งจะนาไปเป็นข้อมูลใน การประมาณสถานการณ์การแกไ้ ขปัญหายาเสพตดิ ต่อไป การปฏิบัติ : ให้จัดประชุมคณะกรรมการกองทุนแม่ของแผ่นดินข้ึนแล้วให้ดาเนินการ ตามลาดบั ดังนี้ ๑) ให้กรรมการทุกคนเขียนรายชื่อบุคคลที่อยู่ในครัวเรือนสมาชิกท่ีเกี่ยวข้องกับ ยาเสพติด ท้ังในฐานะผู้ค้า-ผู้เสพ หรือผู้สงสัย ใส่กล่องกระดาษที่เตรียมไว้ โดยให้มีการชี้แจงว่าพวกเขาเป็น กลมุ่ ปญั หาทเี่ ราต้องช่วยแกไ้ ขให้เขา ไม่มเี จตนาในดา้ นลบแต่อย่างใด ๒) เมื่อกรรมการส่งรายช่ือครบทุกคนแล้วให้คัดเลือกว่าจะให้ใครเป็นผู้เปิดรายช่ือ แล้วเขียนลงในกระดาษบัญชีรายช่ือผู้เก่ียวข้องกับยาเสพติด(มีแบบฟอร์มแนบท้ายคู่มือนี้) ให้เลือกคนที่ไว้ใจ ได้เพือ่ ให้การส่งรายชื่อของกรรมการเป็นความลับท่ีสุด เป็นการปูองกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในภายหลังจากการ ทราบว่าใครเขียนรายชื่อผู้เก่ียวข้องกับยาเสพติดจากลายมือที่เขียนในกระดาษแผ่นเล็กน้ัน แม้กรรมการท่ี ๒๒

เขียนรายช่ือส่งให้จะมีจิตใจบริสุทธ์ิต้องการช่วยเหลือกลุ่มปัญหาด้วยความจริงใจก็ตาม แต่อาจมีบางคนยังมี ความคิดในการแก้ไขปญั หาแบบเก่า ๆ อยู่ การทาเช่นนจี้ งึ เพ่อื เปน็ การปอู งกันปญั หาใหก้ บั กรรมการ ๓) เมอ่ื กรรมการทีถ่ ูกเลอื กคดั รายช่อื จากกระดาษแผ่นเล็กลงในบัญชีผู้เก่ียวข้องกับ ยาเสพตดิ เรยี บรอ้ ยแล้วให้เกบ็ รกั ษาไว้เปน็ ความลับท่ีสุดท่ีประธานกรรมการ จะไม่มีใครรู้ และห้ามส่งรายชื่อน้ี ใหก้ ับเจ้าหนา้ ท่ีรฐั อยา่ งเด็ดขาด เพราะแนวทางการแกไ้ ขปัญหาแบบนี้เป็นการให้ชุมชนดูแลชุมชนเอง ซึ่งหาก เจ้าหน้าท่ีรัฐรู้อาจนาไปดาเนินการด้วยมาตรการอ่ืนที่ขัดกับแนวทางสันติวิธีของกองทุนแม่ฯได้แล้วจะทาให้ เกิดผลเสยี อย่างยง่ิ กับการดาเนินงานชุมชนเข้มแข็งกองทุนแมข่ องแผน่ ดนิ ๔) ใหน้ ากระดาษแผ่นเล็กท่ีกรรมการแต่ละคนเขียนรายช่ือส่งน้ันไปเผาทาลายเสีย โดยให้คัดเลือกผ้ทู ี่จะทาการเผาทาลายจากกรรมการอกี ชุดหนึง่ (๒-๓ คน)เพ่ือให้ทาหน้าท่ีเผาทาลาย เพราะใน การเผาทาลายนน้ั ผทู้ ่เี ผาจะต้องเป็นอีกคนหนึ่งท่ีจะได้เห็นชื่อผู้เก่ียวข้องกับยาเสพติดท่ีกรรมการส่งให้และเห็น ลายมือช่ือของกรรมการคนท่ีเขียนชื่อส่ง ซ่ึงอาจเป็นอีกขั้นหน่ึงท่ีจะทาให้เกิดปัญหาได้หากให้บุคคลท่ีไม่ ไวว้ างใจดาเนินการ ๕) วิทยากร ที่ปรึกษา หรือผู้ช่วยเหลือจากภายนอก รวมทั้งเจ้าหน้าท่ีรัฐจะได้รับ ทราบเฉพาะจานวนผคู้ า้ -ผูเ้ สพ-ผสู้ งสัย จากการทาประชาคมเทา่ นั้น จะไม่ทราบรายชื่ออย่างเด็ดขาด จานวน กลุ่มปัญหาท่ีเพ่ิมขึ้น-ลดลงเจ้าหน้าท่ีจะนาไปใช้ประโยชน์ในการประมาณสถานการณ์ยาเสพติดในการ เตรียมการสนบั สนนุ ชว่ ยเหลือตามสายงานของตนตอ่ ไป ๖) รายช่ือของผู้ท่ีเกี่ยวข้องกับยาเสพติดจะบันทึกในแบบฟอร์มท่ีกาหนดตาม เอกสารแนบท้ายคู่มือนี้ ผู้มีรายช่ือหากอยู่ในครัวเรือนใดครัวเรือนนั้นจะไม่ได้รับการนาไปสู่การรับรอง ครัวเรอื นปลอดภัย 4) รักษาชีวิตชุมชนเขม้ แขง็  จดั กิจกรรมป้องกนั และแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ รว่ มกนั ของสมาชิก เม่ือได้กลมุ่ ปัญหาทเ่ี ป็นเปาู หมายในการแกไ้ ขของชมุ ชนแลว้ ชมุ ชนกจ็ ะรว่ มกนั ทา กจิ กรรมในการปอู งกันและแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ ของกองทุนแม่ของแผ่นดิน มีกลุ่มเปูาหมายหลักท่ีชัดเจน โดย ให้บุคคลท่ีมีรายช่ือในการประชาคมคัดแยกด้วยสันติวิธี เป็นเปูาหมายในการให้การดูแลอันดับแรก เพราะ ครอบครัวท่ีสมัครเข้าร่วมเป็นสมาชิกกับกองทุนแม่ของแผ่นดินน้ัน มีความต้องการให้กองทุนแม่ของแผ่นดิน ดูแลชว่ ยเหลอื อย่างเตม็ ใจอยู่แลว้  แบ่งกลมุ่ เป้าหมายท่จี ะทากจิ กรรมออกเปน็ 4 กล่มุ ไดแ้ ก่ (1) ผู้คา้ ยาเสพตดิ (แยกเปน็ รายใหญ่ รายย่อย) (2) ผเู้ สพ (แยกเปน็ เสพติดหนัก เสพติด เสพยงั ไมต่ ดิ ) (3) ผ้ตู ้องสงสัย (กล่มุ เส่ยี งทีม่ ีพฤติกรรมตอ้ งสงสัยวา่ อาจไปเก่ียวข้องกบั ยาเสพตดิ ) (4) ครอบครัวของกลมุ่ เปาู หมายทั้ง 3 กลมุ่ ข้างต้น  กจิ กรรมทด่ี าเนนิ การ ให้คณะกรรมการร่วมกนั พิจารณา ตามความเหมาะสม ไดแ้ ก่ (1) การให้กาลงั ใจ ดว้ ยการทีค่ ณะกรรมการปารา้ งความเขา้ ใจว่าสมาชิก กองทนุ แม่ของแผ่นดินทุกคนพรอ้ มใหก้ าลงั ใจในการเร่มิ ตน้ ชีวติ ใหม่ท่ีดีของเขา (2) การช่วยเหลอื ด้วยการสงเคราะหใ์ หก้ ับผู้ที่เปน็ กลมุ่ ปัญหาและครอบครวั ๒๓

ของเขา ซึง่ หากต้องใช้เงิน ก็ให้คณะกรรมการพิจารณาใช้เงินจากกองทุนแม่ของแผ่นดิน และให้มีการรับความ ช่วยเหลือจากหน้าพระบรมฉายาลักษณ์สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ ตามขั้นตอนท่ีคณะกรรมการ กาหนด (3) การพบปะเยี่ยมเยียนอยา่ งใกลช้ ดิ ของคณะกรรมการอย่างตอ่ เนอื่ งเป็น ระยะๆเพอ่ื สรา้ งความไว้วางใจให้กบั กล่มุ ปญั หาวา่ กองทนุ แม่ของแผ่นดนิ มีความจริงใจท่จี ะชว่ ยเหลอื เขา (4) สาหรับผเู้ สพตดิ มากท่ีตอ้ งการเข้ารบั การบาบัดรกั ษาก่อน ให้ คณะกรรมการพจิ ารณาให้ความช่วยเหลอื อยา่ งเร่งด่วน แล้วให้กลับมาฟน้ื ฟทู ช่ี ุมชนโดยเรว็ สาหรับการจัดกิจกรรมต่อกลุ่มเสี่ยงที่อาจเป็นกลุ่มปัญหาในอนาคตของชุมชน นัน้ ให้คณะกรรมการพิจารณาดาเนินการจดั กจิ กรรมให้กบั เยาวชนทีเ่ ปน็ สมาชกิ ของกองทนุ แม่ของแผ่นดินเป็น ลาดับต่อจากการจัดกิจกรรมเพื่อแก้ไขปัญหาให้กับกลุ่มปัญหาโดยตรง ซ่ึงอาจเป็นการส่งเสริมด้านกีฬา การศกึ ษา และนันทนาการต่างๆ เปน็ ต้น  รับรองครัวเรือนปลอดภัย ให้คณะกรรมการกองทนุ แมข่ องแผ่นดนิ จัดประชุมเพ่ือใหค้ วามเหน็ ในการรับรอง ครัวเรือน ท่ปี ลอดภัยจากยาเสพติดเดือนละ 1 ครั้ง และจัดพิธีรับมอบธงสัญลักษณ์ครัวเรือนปลอดภัยต่อหน้า พระบรมฉายาลักษณ์ฯ โดยธงสัญลักษณ์ดังกล่าวต้องจัดหาโดยเงินจากกองทุนแม่ของแผ่นดินเท่าน้ัน ซ่ึงจะทา ให้ธงมีความสาคัญอย่างมากต่อครัวเรือนที่ได้รับและมีความศักดิ์สิทธ์ิส่ือถึงพระบารมีแม่ของแผ่นดิน ท่ีทาให้ ครอบครวั ของเขาได้รบั การรบั รองความปลอดภยั ไม่ตอ้ งหวาดระแวงใครในชุมชนเร่องยาเสพติดอีกต่อไป เป็น พืน้ ฐานในการสนบั สนุนการสร้างวฒั นธรรมความจงรกั ภกั ดีต่อสถาบันพระมหากษัตรยิ ใ์ ห้กบั ประชาชนด้วยงาน แก้ไขปญั หายาเสพตดิ ดว้ ย  การปฏิบัติ แบง่ ออกเปน็ 2 ข้นั ตอนยอ่ ย (1) การรับรองครัวเรอื น (1.1) จัดการประชุมคณะกรรมการกองทนุ แมข่ องแผ่นดินแบบเตม็ คณะ - จัดพธิ ีเปิดการประชุมอยา่ งเหมาะสม ใหม้ ีการแสดงความเคารพ พระบรมฉายาลักษณร์ ่วมกันกอ่ นเริ่มการประชุมด้วย - ประธานกรรมการกล่าวเปิดประชุมแสดงความรู้สึกถึงการทาหน้าท่ี ที่ย่ิงใหญ่ของคณะกรรมการในการช่วยเหลือแก้ไขปัญหายาเสพติดให้กับสมาชิกกองทุนแม่ของแผ่นดินสนอง พระราชปณิธาน - ให้คณะกรรมการทาการลงมติรับรองว่าเป็นครัวเรือนปลอดภัยจากยา เสพติดหรือไม่ ครัวเรอื นท่จี ะผ่านการรับรองต้องได้รับมติรับรองเป็นเอกฉันท์ หากมีกรรมการไม่รับรองหรือไม่ ยกมือใหแ้ ม้เพยี งคนเดยี วก็จะจะถือว่าครวั เรอื นนั้นยังไมผ่ า่ นการรับรอง - ลาดับการปฏบิ ัติ * ให้เลขานุการอ่านรายชื่อครัวเรือนที่ไม่มีชื่อบุคคลเก่ียวข้องกับ ยาเสพติดในการประชาคมคดั แยกด้วยสนั ตวิ ิธี (ครวั เรือนที่มรี ายชื่อเกี่ยวข้องจะไม่ถูกนามารับรองในข้ันตอนน้ี) และถามคณะกรรมการเปน็ ลาดบั โดยดาเนนิ การเป็นเครอื ข่ายๆ (ข่ายครวั เรือนทีอ่ ยู่ในความดูแลของกรรมการ แต่ละคน สดั สว่ น 1 : 4) * เรียกชอ่ื กรรมการ..................... “ขอถามว่าครัวเรือนทค่ี ณุ ดแู ลได้แก่ ................และ........................ปลอดภยั จากยาเสพตดิ หรอื ไม่” ๒๔

* กรรมการทถ่ี กู เรียกตอบ“ปลอดภยั ทง้ั หมด” หรอื “บางส่วนไม่ปลอดภยั ” * ขอถามกรรมการทง้ั หมดวา่ ครัวเรือนของ..(กรรมการท่ีถูกเรียกช่ือ).. ปลอดภัยจากยาเสพตดิ หรือไม่ ถ้าปลอดภยั กรุณายกมอื ด้วย * ถ้ากรรมการยกมือทุกคน ให้ฝุายเลขา ขานว่า “ผ่าน” แต่ถ้า กรรมการยกมอื ไมค่ รบทุกคน ให้ขานว่า “ไมผ่ ่าน” แล้วบันทกึ ผลไว้ * ขอถามกรรมการทัง้ หมดว่า ครัวเรือนของ..(สมาชิกแต่ละครัวเรือน).. ปลอดภยั จากยาเสพตดิ หรือไม่ ถา้ ปลอดภยั กรุณายกมอื ดว้ ย * ถ้ากรรมการยกมือทุกคน ให้ฝุายเลขา ขานว่า “ผ่าน” แต่ถ้า กรรมการยกมือไม่ครบทุกคน ให้ขานว่า “ไมผ่ ่าน” แล้วบันทกึ ผลไว้ * ให้ดาเนินการรบั รองครวั เรือนเช่นนไี้ ปจนครบทกุ ขา่ ยครัวเรอื น (1.2) ใหบ้ นั ทึกผลการรับรองลงในแบบทะเบยี นคมุ สมาชกิ กองทนุ แมข่ องแผน่ ดนิ (2) การมอบธงสัญลักษณค์ รัวเรอื นปลอดภัย (2.1) ให้นาผลการรบั รองครวั เรอื นมาบนั ทึกลงในใบรับรองครัวเรือนปลอดภัย และลงนามโดยกรรมการทีล่ งมตใิ หก้ ารรับรองเป็นหลกั ฐานประกอบการรับธงสญั ลักษณค์ รัวเรือนปลอดภัย (2.2) จดั พิธีมอบธงสัญลกั ษณ์อย่างมีเกยี รติในวันที่เหมาะสม - เชญิ เจ้าหน้าท่รี ัฐทงั้ ฝาุ ยปกครอง พลเรอื น ตารวจ ทหาร (ถ้ามี) เข้า รว่ มพิธีเพอ่ื เป็นสักขพี ยานด้วย - การจัดสถานท่ีให้มีโต๊ะหมู่บูชา พร้อมเครื่องสักการะพระบรมฉายา ลักษณ์ ครั้งใหญ่ ครั้งแรก เพื่อให้เกิดความเป็นสิริมงคลแก่ผู้ที่ได้รับ ธงสัญลักษณ์ สาหรบั การมอบธงรายยอ่ ยประจาเดอื นใหด้ าเนนิ การ ตามความเหมาะสม - ลาดบั การปฏิบตั ิ * ให้เชญิ ผมู้ ีเกียรตเิ ปน็ ประธานในพธิ ีจุดธูปเทยี น บูชาพระรัตนตรัยแล้ว เปิดกรวยถวายราชสกั การะที่หน้าพระบรมฉายาลกั ษณส์ มเด็จพระนางเจา้ ฯพระบรมราชนิ ีนาถ * เชิญประธานและคณะกรรมการกองทุนแม่ของแผ่นดินยืนเรียงกันท่ี ด้านซ้ายของโต๊ะหมู่บูชา และเชิญเจ้าหน้าที่ฝุายปกครอง พลเรือน ตารวจ ทหาร ยืนเรียงกัน เพื่อเป็นสักขี พยานทดี่ า้ นขวาของโต๊ะหมบู่ ชู าดว้ ย * คณะกรรมการอ่านรายชื่อครัวเรือนที่ผ่านการรับรองครัวเรือน ปลอดภัยเข้ารับธงสัญลักษณ์จากพานท่ีหน้าพระบรมฉายาลักษณ์ฯ (ระหว่างน้ีให้เปิดเพลงกองทุนแม่ของ แผน่ ดนิ ประกอบ) (2.3) การนาธงสญั ลกั ษณ์ไปประดับท่คี รวั เรือน - ให้คณะกรรมการและเพือ่ นบ้านไปร่วมแสดงความยนิ ดดี ้วย - ให้ทกุ คนในครวั เรือนน้ันออกมาต้อนรับธงท่ีหน้าบา้ นดว้ ย  รักษาสถานะของชมุ ชนเขม้ แขง็ เพ่ือเป็นการติดต้งั ระบบการปอู งกันปญั หายาเสพติดให้กบั ชมุ ชนเข้มแขง็ กองทนุ แม่ ของแผ่นดินให้ชุมชนสามารถควบคุมสถานการณ์ยาเสพติดของชุมชนได้ตลอดไปด้วยชุมชนเอง ในขั้นนี้จึงถือ เป็นข้ันตอนการเสริมสร้างความมั่นคงโดยเป็นการท่ีสมาชิกยอมให้คณะกรรมการพิจารณาลงความเห็นต่อ ๒๕

ครัวเรือนท่ีเคยผ่านการรับรองแล้วว่าหากปล่อยให้คนในครัวเรือนไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดหรืออยู่ในข่ายสงสัย อีก จะยอมให้ยกเลิกการรับรองและปลดสัญลักษณ์คืนให้กับคณะกรรมการ ซึ่งจะการพิจารณาทุกรอบ 1 เดือน โดยเป็นการพิจารณาในที่ประชุมคณะกรรมการต่อจากวาระการพิจารณารับรองครัวเรือน ประจาเดอื น เม่ือมีการตดิ ต้งั ระบบนไ้ี ดแ้ ล้ว จะทาใหค้ รัวเรอื นช่วยกนั ดูแลครัวเรือนเองอย่างมั่นคง ซงึ่ จะส่งผลใหช้ ุมชนดแู ลชมุ ชนเอง ทาให้ชุมชนมีความเข้มแข็งในการปอู งกนั ยาเสพตดิ อยา่ งยั่งยนื เมือ่ ไดร้ ับการคดั เลือกใหร้ ับพระราชทานเงนิ กองทุนแม่ของแผน่ ดิน กจิ กรรมการดาเนนิ งานในหมบู่ า้ น/ชุมชนเพอื่ เตรยี มรบั กองทนุ แม่ของแผน่ ดิน เม่อื ผู้แทนหมู่บา้ น/ชุมชน ไดร้ บั กองทุนแม่ของแผน่ ดินเรยี บร้อยแลว้ ให้ผแู้ ทนดังกล่าวอัญเชิญ กองทุนแม่ของแผ่นดินกลับส่หู มู่บา้ น/ชุมชน ของตนในวันเดยี วกัน และให้มีการดาเนนิ การในหมบู่ ้าน/ชมุ ชน ดังน้ี 1) หมู่บ้าน/ชุมชน ที่ได้รับพระราชทานกองทุนแม่ของแผ่นดิน ให้จัดพิธีการต้อนรับการ อัญเชิญกองทุนแม่ของแผ่นดินเข้าสู่หมู่บ้าน/ชุมชน โดยจัดใน สถานที่ที่เหมาะสมในหมู่บ้าน/ชุมชน มีประชาชนในหมู่บ้าน พอสมควรเข้าร่วม ท้ังนี้ ให้มีการเชิญผู้นาหมู่บ้าน ชุมชน ทั้งท่ีเป็น ผู้นาทางการ ผู้นาธรรมชาติ ผู้นากลุ่มจัดต้ังต่างๆ เข้าร่วมพิธีอย่าง พร้อมเพรยี ง 2) พิธีการสาคัญในหม่บู า้ น/ชุมชน มดี ังน้ี ๒๖

(๑) ให้หมู่บ้าน/ชุมชน ประกอบพิธีต้อนรับกองทุนแม่ของแผ่นดิน โดยมีพระบรมฉายา ลักษณ์หรือพระบรมสาทิสลักษณ์ของสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถตั้งอยู่ พร้อมจัดต้ังพานทองวาง หน้าพระบรมฉายาลักษณ์หรือพระบรมสาทิสลักษณ์ (ในพ้ืนท่ีท่ีนับถือศาสนาพุทธ อาจนิมนต์พระสงฆ์ใน หมู่บ้าน/ชุมชน เข้าร่วม สาหรับหมู่บ้านที่นับถือศาสนาอื่น เช่น ศาสนาอิสลาม ขอให้ประยุกต์ตามความ เหมาะสมหรือตามหลกั ศาสนาน้นั ๆ) (๒) เมอ่ื ผูแ้ ทนหมบู่ า้ น ชมุ ชน ทีอ่ ญั เชิญซองบรรจุกองทุนแม่ของแผ่นดนิ เดนิ ทางมาถงึ ใหป้ ระชาชนทเ่ี ข้าร่วม ณ สถานทีน่ ้นั ลกุ ขนึ้ ยนื ดว้ ยความเคารพ และอัญเชญิ กองทนุ แม่ของแผ่นดินวางไวบ้ นพาน (๓) พธิ ีกรเรียนเชญิ ผเู้ ปน็ ประธานในพิธีการ (ซึ่งข้ึนอยู่กับ หมู่บ้าน ชุมชนน้ันๆ จะเป็นผู้เลือกตามที่เห็นสมควร) กล่าวให้โอวาท หรือกล่าวมอบแนวทางกองทนุ แมข่ องแผน่ ดิน (๔) หากเป็นความประสงค์ของประชาชน ณ ที่นั้น ท่ตี ้องการแสดงออกซ่ึงความจงรักภักดี และพลังของชุมชนเอง จะจัดให้ มีการร่วมระดมทุนในชุมชนเพื่อสมทบกองทุนแม่ของแผ่นดินในหมู่บ้าน ชุมชนน้ันๆ ก็จะเป็นสิ่งที่มีความสาคัญอย่างย่ิง ท่ีควรปฏิบัติ ทั้งนี้ให้ เปน็ ไปตามความสมคั รใจ และเห็นพอ้ งตอ้ งกนั ของชมุ ชน 3) สถานทีเ่ ก็บรกั ษากองทุนแม่ของแผ่นดินของหมู่บา้ น ชมุ ชน ภายหลงั เสรจ็ สน้ิ พิธกี าร ให้ เป็นข้อตกลงรว่ มกันของชมุ ชนทง้ั ชมุ ชน การรบั มอบกองทนุ แมข่ องแผน่ ดินในจังหวัด ๑) เม่อื ผูว้ า่ ราชการจังหวดั หรือผแู้ ทนไดร้ บั พระราชทานกองทุนแม่ของแผ่นดิน ให้ผู้ว่าราชการ จังหวดั ประกอบพิธี และมอบใหแ้ ก่หมูบ่ ้าน ชุมชน โดยเรง่ ดว่ นตามหว้ งเวลาท่ีจงั หวัดเห็นสมควร 2) ให้จังหวัดใช้ศาลากลางจังหวัดหรือสถานท่ีอ่ืนท่ีเหมาะสมเป็นสถานท่ีประกอบพิธีมอบ เงินกองทุนแม่ของแผ่นดินให้แก่ หมูบ้าน ชุมชน โดยมีผู้ว่าราชการจังหวัดหรือรองผู้ว่าราชการจังหวัดเป็น ประธานในพิธี และผ้แู ทนของหมบู่ า้ น ชุมชนทไ่ี ดร้ บั คดั เลือกมาเปน็ ผ้รู บั มอบกองทนุ แม่ของแผ่นดนิ 3) พิธีการรับมอบกองทุนแม่ของแผ่นดิน ให้แต่ละจังหวัด พจิ ารณาจดั ขึน้ อย่างสมพระเกียรติ โดยมีสาระสาคัญ ประกอบดว้ ย (๑) ในวันจัดพิธีควรมีหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องและ มวลชนจานวนหนึ่งเข้ารว่ มงาน (๒) ให้จัดตั้งพระบรมฉายาลักษณ์ หรือ พระ บรมสาทิสลักษณ์ของสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ใน สถานท่ีประกอบพิธีท่ีจุดด้านหน้าเวที หรือท่ีเหมาะสม และบริเวณ หน้าพระบรมฉายาลักษณ์ หรือพระบรมสาทิสลักษณ์ให้จัดต้ังพานทอง สาหรับวางซองสีฟูา ซ่ึงจังหวัดจะต้องจัดเจ้าหน้าท่ีรับผิดชอบดาเนินการจัดวางซองดังกล่าว คร้ังละ ๑ ซอง ตอ่ ๑ หมูบ่ ้าน (๓) เม่ือผู้เข้าร่วมพิธีการพร้อม ณ บริเวณที่จัด พิธีกรเรียนเชิญผู้ว่าราชการจังหวัดหรือ รองผ้วู า่ ราชการจังหวัด เปดิ กรวยและถวายความเคารพต่อพระบรมฉายาลักษณ์ หรือพระบรมสาทิสลกั ษณ์ (๔) พิธีกรเชิญผู้แทนหมู่บ้าน ชุมชน ท่ีได้รับการคัดเลือกเข้ารับพระราชทานกองทุนแม่ ๒๗ของแผน่ ดินตอ่ หนา้ พระบรมฉายาลกั ษณ์หรอื พระบรมสาทิสลกั ษณ์ และกลบั เข้าประจาท่ีจนครบทุกคน

ท้ังนี้เม่ือรับซองกองทุนแม่ของแผ่นดินแล้ว ให้ผู้แทนหมู่บ้าน ชุมชน น้ันๆ พึงระลึกว่า เป็น สิ่งของพระราชทานจึงควรระมัดระวัง และถือซองดงั กล่าวไวอ้ ย่างเหมาะสม (๕) ประธานในพิธีกล่าวให้โอวาทต่อผแู้ ทนหมู่บ้าน ชุมชน ท่ีได้รับเลือก เพ่ือเป็นแนวทาง สาหรบั การดาเนินงานกองทนุ แม่ของแผ่นดินในหม่บู ้าน ชุมชน (๖) ทกุ คนขบั รอ้ งเพลงสรรเสริญพระบารมพี รอ้ มกนั ท้ังน้ีหากจังหวัดใดจะเพิ่มพิธีการอื่นใดนอกเหนือจาก น้ี หรอื ปรับขน้ั ตอนการดาเนินงาน สามารถกระทาได้ตามที่เห็นสมควร เช่น การให้วิทยากรกระบวนการ หรือผู้แทนหมู่บ้าน/ชุมชน ที่ได้รับ กองทุนแม่ของแผ่นดินในปีก่อนๆ ที่มีผลการดาเนินงานดีเด่น มาเล่า ประสบการณ์ให้รับฟังเพื่อเป็นแนวทางท่ีสามารถนาไปประยุกต์ใช้ใน พน้ื ทขี่ องตนต่อไป เป็นต้น กจิ กรรมการจัดระบบกองทุนแม่ของแผ่นดนิ ในหมู่บา้ น/ชุมชน ๑) ในชว่ งวนั เวลาท่ีเหมาะสมภายหลงั การรับมอบกองทุนแม่ของแผ่นดินแล้ว ให้ผู้นาหมู่บา้ น/ ชุมชน นนั้ ๆ จดั ประชมุ ประชาคมหมบู่ า้ น เพอื่ ให้คนในหมู่บา้ น/ชุมชน ไดร้ ับทราบรายละเอยี ดของกองทนุ แม่ ของแผ่นดิน โดยจะมสี ื่อประกอบการชแ้ี จง ๒) ในช่วงเดียวกัน ให้มีการจัดระบบกองทุนแม่ของแผ่นดินหมู่บ้าน/ชุมชน แห่งน้ัน มีสิ่งสาคัญที่ ต้องดาเนินการ ประกอบด้วย การวางกรอบแนวทางการดาเนินงาน การจัดทาร่างระเบียบกองทุนแม่ของแผ่นดิน การยอมรบั ระเบยี บ การเลือกตั้งกรรมการดูแล ฯลฯ และใหท้ ปี่ ระชมุ ประชาคมหมบู่ ้านรับรองระเบยี บ กองทนุ แม่ของแผน่ ดนิ เป็นกระบวนการที่มงุ่ เน้นยุทธศาสตรพ์ ระราชทาน “รรู้ กั สามัคคี” ดังนัน้ การสร้างกระบวนการมสี ่วนร่วมของชุมชนในวงกว้างจงึ เปน็ ส่ิงสาคัญสูงสุด 3) แนวทางการปฏบิ ัตขิ องหมู่บ้านกองทุนแม่ของแผน่ ดนิ มีการกาหนดไว้อย่างชดั เจน ดงั นี้ (๑) กจิ กรรมเฝูาระวงั ยาเสพตดิ เช่น สนบั สนุนการเดินเวรยาม จดุ ตรวจหมู่บ้าน/ชุมชน (๒) กิจกรรมปอู งกันกลุ่มเสี่ยง กลุ่มเสพ และกลุ่มที่เคยค้ายาเสพติดในหมู่บ้าน/ชุมชน มิให้ กลบั ไปมพี ฤติกรรมเดิมอกี (๓) กจิ กรรมเสริมสรา้ งความดีในหมู่บา้ น/ชมุ ชน เพือ่ เป็นแบบอยา่ ง (๔) กิจกรรมเสริมสร้างความคิด ความรู้ การรวมกลุ่ม การสร้างความตื่นตัว การประชุม และการแลกเปลี่ยนความรู้ในลักษณะของศูนย์เรียนรู้ เพ่ือให้ เกดิ กระบวนการเสรมิ สรา้ งความเขม้ แข็งในหมู่บ้าน/ชมุ ชน (๕) กิจกรรมสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจ แบบพอเพยี งในหมูบ่ ้าน/ชุมชน เพือ่ ใหเ้ กดิ การพัฒนาท่ียง่ั ยนื (๖) กิจกรรมการสงเคราะห์ผู้เดือดร้อนหรือ ผู้ตกทุกข์ได้ยากในหมู่บ้าน/ชุมชน เพื่อลดทอนหรือขจัดความ เดือดร้อนตามหลักเมตตาธรรม เช่น อาจเป็นการสงเคราะห์ ช่วยเหลือในรูปของตัวเงิน หรือวัตถุสิ่งของ ซึ่งผู้ได้รับการสงเคราะห์จะคืนกลับมาหรือไม่แล้วแต่กรณี หรือ ตามแตจ่ ะตกลงกัน 4) เพอื่ ให้หมู่บา้ น ชมุ ชน ทไ่ี ด้รบั พระราชทานเงินขวัญถุงมีแนวทางในการปฏิบัติ จึงจัดใหม้ ี ๒๘

แนวทางการจัดทาระเบยี บกองทุนแม่ของแผ่นดนิ ๖ หมวด ดงั นี้ - หมวดท่ี ๑ ข้อความทว่ั ไป - หมวดท่ี ๒ วัตถุประสงค์ - หมวดที่ ๓ เงินสมทบกองทุนแม่ของแผ่นดิน - หมวดที่ ๔ แนวทางการใชจ้ า่ ยเงนิ กองทนุ แมข่ องแผน่ ดนิ - หมวดที่ ๕ แนวทางการบรหิ ารกองทุนแมข่ องแผน่ ดิน ๕.๑ วา่ ดว้ ยสมาชกิ กองทนุ ๕.๒ ว่าดว้ ยสทิ ธแิ ละหน้าที่ของสมาชกิ ๕.๓ วา่ ด้วยคณะกรรมการกองทุน ๕.๔ ว่าด้วยการประชมุ ๕.๕ ว่าดว้ ยการดาเนนิ การด้านการเงนิ และบญั ชี - หมวดที่ ๖ บทเฉพาะกาล โดยระเบียบกองทุนแม่ของแผ่นดินนี้ ได้มาจากการตกลงกันของสมาชิกในหมู่บ้าน/ ชุมชน น้ันเอง โดยสามารถนาตัวอย่างของหมู่บ้านอื่นมาเป็นแนวทางการปฏิบัติตามความเหมาะสมของ สถานการณ์แต่ละหมู่บา้ นได้ การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างหมู่บา้ น/ชุมชน เมื่อหมู่บ้าน/ชุมชน ได้รับกองทุนแม่ของแผ่นดินเรียบร้อยแล้ว เห็นสมควรให้ ศพส.จ ร่วมกับ วิทยากรกระบวนการ หรือผู้มีบทบาทขับเคล่ือนงานกองทุนแม่ของ แผน่ ดินในจังหวัด ได้จัดประชุมสัมมนา แลกเปลี่ยนประสบการณ์การ ดาเนินงานให้กับทุกหมู่บ้าน/ชุมชน ท่ีได้รับกองทุนแม่ของแผ่นดิน ประมาณ ๑ – ๒ วัน เพื่อก่อให้เกิดพัฒนาการดาเนินงานในหมู่บ้าน/ ชมุ ชน ดว้ ยกัน ท้ังน้ีเพื่อให้หมู่บ้าน ชุมชน เกิดการพึ่งพาและพัฒนา ตนเองได้ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ด้วยความสมานสามัคคี และ บรรลวุ ัตถุประสงคก์ ารจัดต้งั กองทุนแมข่ องแผน่ ดนิ อยา่ งยงั่ ยืน ๒๙

กจิ กรรมหลักที่ ๓ การดาเนินงานศนู ยเ์ รียนรกู้ องทุนแม่ของแผ่นดนิ ระดับอาเภอ ๑. แนวคดิ เรอ่ื งศนู ยเ์ รยี นรชู้ มุ ชน ความหมายของศูนยเ์ รยี นรู้ชมุ ชน ศูนย์เรียนรู้ชุมชน เป็นศูนย์กลางรวบรวมข้อมูลข่าวสารความรู้ของชุมชนท่ีจะนาไปสู่การ สง่ เสรมิ กระบวนการเรียนรู้สาหรับประชาชน ในชุมชน เป็นแหล่งเสริมสร้างโอกาสในการเรียนรู้ การถ่ายทอด การแลกเปล่ียนประสบการณ์ การสืบทอดภูมิปัญญา วัฒนธรรม ค่านิยม และเอกลักษณ์ของชุมชน อีกท้ังเป็น แหล่งบรกิ ารชมุ ชนดา้ นต่าง ๆ เชน่ การจดั กจิ กรรมท่สี อดคล้องกับความต้องการเรียนรู้ ของชุมชน โดยเน้นการ กระบวนการเรียนรู้เพ่ือวิถีชีวิตของคนในชุมชน เพ่ือให้ทันกับการเปล่ียนแปลงของสังคม ก่อให้เกิดชุมชนแห่ง เรียนรู้ และมุ่งการพัฒนาแบบพึ่งตนเอง เป็นศูนย์ฯ ของประชาชน ท่ีดาเนินการโดยประชาชน และเพื่อ ประชาชน ทจี่ ะก่อใหเ้ กิดความเขม้ แขง็ ของชมุ ชนอย่างยง่ั ยืน จากความหมายข้างต้นจะเห็นได้ว่า ศูนย์เรียนรู้ชุมชนในความคาดหวังของกรมการพัฒนา ชุมชน ไม่ใช่ศูนย์ฝึกอบรมประจาหมู่บ้านที่รอรับการนัดหมายจากวิทยากรภายนอก แต่จะเป็นสถานท่ีที่ จะสรา้ งความผกู พนั ระหว่างคนในชุมชนกับเรอ่ื งราวของเขาเองเปน็ สาคญั หลกั การสาคัญของศนู ย์เรยี นรูช้ มุ ชน เป็นแหล่งเรียนรู้ทุกด้าน ทุกรูปแบบไม่เน้นการเรียนการสอนในห้องเรียน เป็นศูนย์กลางที่ ประชาชนทุกคนสามารถเข้ามาเรียนรู้ ค้นคว้าหาความรู้ แลกเปล่ียนความรู้และประสบการณ์ รวมท้ังการ พบปะ สังสรรค์ เพ่ือสร้างความเข้าใจ ความร่วมมือในการพัฒนาตนเองและชุมชนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ ตลอดชวี ิตของประชาชน โดยประชาชนและเพือ่ ประชาชน ภารกิจของศูนยเ์ รียนรู้ชมุ ชน จัดให้มกี จิ กรรมการเรยี นรู้ การถา่ ยทอด การแลกเปล่ยี นประสบการณ์ ตลอดจนการสืบทอด ภมู ิปัญญาท้องถิน่ และการเรียนรดู้ า้ นตา่ ง ๆ ของประชาชนในชมุ ชน เปน็ ศนู ยร์ วมของขอ้ มูล เชน่ ข้อมูล จปฐ. กชช.2ค. แหล่งนา้ กล่มุ อาชพี ฯลฯ รวมทัง้ ข่าวสาร สาระความรู้ ท่ีเอื้อตอ่ การเรยี นรู้ เท่าทนั สถานการณโ์ ลก รวบรวมภูมิปญั ญาท้องถ่นิ องค์ความรู้ของปราชญ์ชาวบ้าน องค์ความรู้ทม่ี อี ยู่กระจดั กระจาย ในชุมชน และจัดการใหเ้ ป็นหมวดหมู่ มคี วามชดั เจนเป็นรปู ธรรม ที่ประชาชนสามารถเข้าไปสบื ค้นศึกษาและ เรยี นรไู้ ดท้ กุ เวลา เป็นศูนยก์ ลางในการจัดการความรู้ ทดี่ าเนินการโดยประชาชนและเพอื่ ประชาชน เปน็ ศนู ย์ ประสานและบูรณาการการทางานของทุกภาคสว่ น ภาคประชาชน ได้แก่ ผนู้ า กลุ่ม/องค์กร เครอื ขา่ ย ภาคเอกชน และภาคกี ารพัฒนาภาครฐั ๓๐

เป็นสถานท่ีแลกเปลยี่ นองค์ความรขู้ องปราชญช์ าวบ้าน เป็นสถานท่ที ม่ี ีโครงสร้างเปน็ อาคาร หรือสถานท่ีใด ๆ ก็ได้ ทีม่ ีองค์ความรู้ สามารถให้การเรยี นรู้แก่ประชาชนที่ต้องการความรู้ สามารถเข้าถึงได้ องค์ประกอบ 1) วิธีการกอ่ เกดิ ศูนย์เรียนรู้ชุมชน จะเกิดข้ึนได้ต้องเป็นความต้องการของประชาชนในชุมชน เพราะจะเป็น สมบัติของชุมชน จึงควรนาแนวคิดเข้าเวที ประชุมประชาคมของ หมู่บา้ น เผยแพร่ความคิด โน้มน้าวสร้างการยอมรับ และชี้ให้เห็น ความสาคัญของการมีแหล่งเรียนรู้ของชุมชน การจัดเก็บองค์ ความรู้ ประวัติชุมชน และภูมิปัญญาของชุมชนอย่างเป็นระบบ การแสดงข้อมูลข่าวสารของชุมชนให้ได้เรียนรู้กันอย่าง ทั่วถึง รวมทั้งการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้สม่าเสมอ โดยเร่ิมจากการจัด ระเบียบแหล่งเรียนรู้ที่มีอยู่ในชุมชน และให้เป็นไปตามกาลังท่ี ชมุ ชนจะสามารถดาเนินการได้ อกี ทัง้ ใหม้ ขี อบเขต และลกั ษณะตามความเหน็ ของชุมชน 2) โครงสรา้ ง ของศูนย์เรียนรชู้ ุมชน ประกอบด้วย * คณะกรรมการ ประกอบด้วยผูแ้ ทนจากผ้นู าชุมชน กลุ่ม/องค์กร เครอื ขา่ ย องคก์ รชุมชน ปราชญ์ชาวบ้าน อาสาสมัคร ฯลฯ โดยมาจากการคัดเลือกของชาวบ้านเอง และชาวบ้านให้การ ยอมรบั ซงึ่ คณะกรรมการจะร่วมมอื กนั วางแผน และดาเนินตามแผนยุทธศาสตร์ท่ีได้ร่วมกันกาหนด เพื่อระดม พลังใหเ้ กิดการเรียนรแู้ ละบรหิ ารจดั การในศูนยเ์ รยี นรู้ให้สามารถดาเนินการไดอ้ ยา่ งมี ประสิทธิภาพ * ทีป่ รึกษา เปน็ ภาคีการพัฒนาภาครฐั เชน่ พัฒนาชุมชน การศึกษานอกโรงเรียน เกษตร สาธารณสุข และองคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน * ระเบยี บข้อบังคบั ซึ่งคณะกรรมการฯ ได้จัดทาข้นึ ทเ่ี ปน็ ลายลกั ษณอ์ ักษร เพ่ือเป็น แนวทางในการบรหิ ารศูนย์ฯ * สถานที่ เลก็ ใหญไ่ ม่สาคัญ อาจจะอยู่ในห้องของอาคาร อบต. บา้ นผ้ใู หญ่บา้ น บ้าน ผู้นา บา้ นปราชญช์ าวบ้าน ศาลาวดั ใต้ต้นไม้ ศาลากลางบา้ น ซึ่งเปน็ สถานทใ่ี ห้พบปะ ประชุม ทางานกนั ได้ ตลอดเวลา ใหเ้ ป็นสถานท่ีทเ่ี ป็นสญั ลกั ษณ์ของการรวมตัวกัน เพ่ือการเรยี นรู้ ไม่จาเปน็ ต้องหางบประมาณมา ก่อสร้างศูนยใ์ หม่ * การบริหารจัดการศนู ย์ฯ คณะกรรมการฯ ท่ีไดร้ ับการคดั เลือก มีการบริหารจดั การ เพ่อื ใหศ้ นู ยฯ์ สามารถบริหารจัดการได้อยา่ งเปน็ รปู ธรรม * งบประมาณ เพื่อพฒั นาคณะกรรมการของศูนย์เรยี นรูช้ มุ ชนใหส้ ามารถทางานได้อย่าง มปี ระสทิ ธภิ าพ และจดั ซ้ือวัสดุ อปุ กรณ์ ทจ่ี าเปน็ ในการพัฒนาศูนย์เรยี นรชู้ มุ ชน โครงสรา้ งท้งั หมดนี้ ไม่จาเปน็ ตอ้ งเกดิ ข้นึ มาครบถว้ นในระยะเร่ิมแรก ขอให้ศึกษาเพ่ิมเติม ในแนวทางการดาเนินงาน ซึ่งอยใู่ นบทต่อไป ๓๑

3) กจิ กรรมการเรยี นรู้ แบ่งเปน็ 2 ลักษณะ ดังนี้ 3.1 สถานที่จดั กจิ กรรมเรยี นรู้ อาจดาเนนิ การได้ทั้งในอาคารศูนย์ฯ และนอกอาคารศูนย์ฯ โดยมีการจัดกิจกรรมการเรียนร้ใู นชมุ ชน เช่น บ้านปราชญ์ชาวบ้าน ในไร่นา เพื่อสาธิตกิจกรรมการเรียนรู้ เช่น การปลกู ผกั การเลย้ี งสัตว์ ฯลฯ 3.2 กิจกรรมการเรยี นรู้ ได้แก่ การเรียน/การสอน การจัดการความรู้เกี่ยวกับประวัติความ เป็นมาของชาติพันธ์ุ ขนบประเพณี วัฒนธรรม การรับความรู้จากปราชญ์ชาวบ้าน การจัดเวทีประชาคมเพื่อ การเรียนรู้และการตัดสินใจร่วมกัน การเรียนรู้ผ่าน E-Learning การสาธิต การจัดนิทรรศการ การจัดสัมมนา อภิปราย ฯลฯ 4) เน้ือหาสาระขา่ วสารความรู้ ประกอบด้วย 4.1 ข้อมูล ไดแ้ ก่ ข้อมูล จปฐ. กชช.2ค ทะเบยี นผู้นา กลุ่ม/องคก์ ร ข้อมูลผลติ ภณั ฑช์ มุ ชน ท้องถนิ่ อตั ลักษณ์ของชมุ ชน แผนชมุ ชน โครงการกิจกรรม ฯลฯ 4.2 ขา่ วสาร (สารสนเทศ) ได้แก่ * สารสนเทศชมุ ชน 13 องคป์ ระกอบ ได้แก่ ประวัติหมูบ่ ้าน แผนที่ต้งั ลักษณะภมู ิ ประเทศ (ภมู ิอากาศ/ฤดกู าล) ลกั ษณะของประชากร (อตั ราความหนาแนน่ /โครงสรา้ งประชากร) ลกั ษณะการ ประกอบอาชีพของชมุ ชน (เกษตร/อุตสาหกรรม/รบั จ้าง ฯลฯ) ผลติ ภัณฑม์ วลรวมของหมูบ่ า้ น ผลิตภัณฑ์ท่ี นา่ สนใจของหม่บู า้ นศิลปะ/วัฒนธรรม/ภูมิปัญญาของหมู่บ้าน สถานที่ท่องเที่ยว/สถานท่ีบริการ การคมนาคม (การเดนิ ทางไปยังหมู่บ้าน) ประเพณี/เทศกาลประจาปี ทกั ษะ/ฝมี ือ/แรงงานของหมู่บ้าน อ่ืน ๆ * ข่าวสารเพอื่ ชีวิต * ขา่ วสารเพือ่ การพัฒนาหม่บู ้าน 4.3 ความรู้ ไดแ้ ก่ ความรดู้ า้ นวฒั นธรรม การประกอบอาชพี /ผลติ ภัณฑช์ มุ ชน องค์ความรู้ที่ ชุมชนต้องการ เพื่อค้นหาอัตลักษณช์ ุมชน ความรู้ทม่ี ีอยใู่ นหมบู่ า้ น ความรู้ข่าวสารจากภายนอก ข้ันตอนการดาเนนิ งานศนู ยเ์ รยี นรูช้ มุ ชน จัดเวทีประชาคมเผยแพร่ความคิด ช้ีแจงวัตถุประสงค์ และประโยชน์ของศูนย์เรียนรู้ชุมชน สรรหาแกนนา แต่งตั้งคณะทางานของหมู่บ้าน สารวจและจัดทาจุดเรียนรู้ แกนนาเก็บข้อมูลคนเก่ง ผรู้ ู้ ปราชญ์ชาวบ้าน ในเร่ืองตา่ ง ๆ แกนนาค้นหา ผู้รู้ที่จะบอกเล่าประวัติของหมู่บ้านได้ จัดทาแผนท่ีจุดเรียนรู้ ของหมู่บา้ น ขั้นตอนที่ 1 จัดเวทีประชาคม เพื่อรับรองความเท่ียงตรงขององค์ความรู้ ภูมิปัญญา ประวัติ หมู่บ้าน และข้อมูล และช้ีให้เห็นความสาคัญของการมีศูนย์เรียนรู้ชุมชนเพื่อเก็บรักษาองค์ความรู้ ภูมิปัญญา ประวัติหมู่บ้าน และข้อมูลให้อยู่ในสถานที่ที่ทุกคนในชุมชนจะใช้ประโยชน์ได้ พร้อมกับสรรหาคณะ กรรมการบรหิ ารและดาเนินการศูนยเ์ รียนรู้ชุมชน ขั้นตอนท่ี 2 จัดประชุมร่วม แกนนา อาสาสมัคร และคณะกรรมการบริหารศูนย์ฯ เพ่ือออกแบบการจัดตั้งและ ดาเนินงานศูนย์เรียนรู้ชุมชน และวางแผนปฏิบัติการจัดตั้งและ ดาเนินงานศูนย์เรียนรู้ชุมชน ในข้ันตอนน้ีต้องให้ทราบได้ว่า ๓๒

อาคารท่ีจะใช้เป็นศูนย์เรียนรู้ชุมชนจะใช้อาคารท่ีมีอยู่ในชุมชน หรือจะก่อสร้างอาคารใหม่ ถ้าจะก่อสร้างใหม่ จะใช้ที่ใด มีความเหมาะสมมากน้อยเพียงใด ต้องใช้งบประมาณเท่าใด จะหาเงินจากที่ใด ถ้าใช้อาคารที่มีอยู่ แล้วจะตอ้ งปรบั ปรุงเพอ่ื ใชง้ านเพียงใด ตอ้ งใช้งบประมาณเทา่ ใด จะหาเงนิ จากท่ีใด ข้ันตอนท่ี 3 สารวจแหลง่ งบประมาณ ศึกษาระเบียบการของแหล่งงบประมาณ เขียนโครงการ เสนอขอรบั การสนับสนนุ ขน้ั ตอนที่ 4 สรา้ ง/ปรับปรงุ อาคาร แลว้ บรรจขุ อ้ มูลขา่ วสารความรไู้ วใ้ นอาคาร ขั้นตอนที่ 5 จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ภายในชมุ ชน ข้ันตอนท่ี 6 คณะกรรมการบริหารศูนย์กาหนดระเบียบการบริหารศูนย์เรียนรู้ชุมชน โดยให้มี ประเด็นสาคัญอย่างน้อย 2 เร่ือง คือ การดูแลบารุงรักษาอาคารศูนย์จะทาอย่างไร และการใช้อาคารจัด กิจกรรมจะต้องทาอย่างไร ๒. ศนู ยเ์ รยี นรกู้ องทุนแม่ของแผ่นดนิ วตั ถุประสงค์ศูนยเ์ รียนรกู้ องทนุ แม่ของแผน่ ดนิ 1) เสรมิ สรา้ งให้เกดิ ศนู ยก์ ารเรียนรดู้ า้ นการแกไ้ ขปัญหายาเสพติดในพืน้ ที่ขึน้ เพอ่ื เปน็ ตวั อย่างใน การถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์แกพ่ ืน้ ทีอ่ ื่นๆ 2) ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการพัฒนา แลกเปลี่ยน และเผยแพร่องค์ความรู้ในการแก้ไข ปัญหายาเสพติด เป้าหมายศนู ยเ์ รยี นรกู้ องทุนแมข่ องแผ่นดิน เป็นหมู่บ้านกองทุนแม่ของแผ่นดินซึ่งมีรูปแบบประสบการณ์การแก้ไขปัญหายาเสพติดท่ี สามารถเป็นแบบอย่างให้พื้นท่ีอ่ืนไดเ้ รียนรู้นาไปประยกุ ต์ใช้ได้ เกิดจากการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนนั้นๆและ มีความพร้อม ความสมัครใจในการท่ีจะเป็นศูนย์เรียนรู้ เพ่ือการศึกษาดูงานในอนาคตต่อไปได้ จานวน 878 ศูนย์ (อาเภอละ ๑ ศนู ย์) หมู่บ้านทั้งหมด หมบู่ ้านกองทนุ แม่ของแผ่นดนิ ศูนย์เรยี นรู้ กองทนุ แม่ ของแผ่นดิน ๓๓

กลไกการดาเนินงานศนู ย์เรียนรกู้ องทนุ แม่ของแผ่นดิน - คณะกรรมการขับเคลื่อนกองทุนแม่ของแผนดินและเครือข่ายกองทุนแม่ของแผ่นดินระดับ อาเภอ เปน็ ผู้คัดเลือกกองทนุ ของแผ่นดินแมด่ เี ดน่ และสนบั สนนุ การดาเนนิ งาน - คณะกรรมการกองทุนแม่ของแผ่นดินหมู่บ้าน เป็นผู้ดาเนินการจัดต้ังและบริหารงานตามแนวทางที่ กาหนด ลกั ษณะประสบการณ์/องคค์ วามรู้ของศูนย์เรยี นรู้กองทนุ แม่ของแผ่นดนิ 1) ขอ้ มลู สารสนเทศของชุมชน ๒) แผนผงั แสดงโครงสร้างคณะกรรมการกองทนุ แมข่ องแผน่ ดิน และบทบาทหนา้ ที่ ๓) วธิ ีการดาเนนิ งานกองทุนแมข่ องแผน่ ดนิ /กจิ กรรมและวธิ ีการดาเนนิ กิจกรรมกองทนุ แมข่ อง แผ่นดินทีด่ าเนนิ การภายในชมุ ชน เชน่ กระบวนการแกป้ ัญหายาเสพติดทช่ี ุมชนดาเนนิ การ ท้งั ดา้ นการ ปูองกนั ปราบปราม บาบดั รักษา และการเสริมสร้างความเข้มแข็งของกองทนุ ๔) ผลงานดา้ นการปอู งกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ๕) สื่อการเรียนรู้เกีย่ วกับยาเสพติดรูปแบบต่างๆ ๖) ทาเนียบวิทยากรกระบวนการกองทนุ แมข่ องแผน่ ดนิ ๗) บุคคลต้นแบบด้านต่างๆ เช่น บคุ คลตน้ แบบในการต่อต้ายยาเสพตดิ ผ้คู า้ ผเู้ สพท่ีกลับตวั กลบั ใจเปน็ พลงั ของแผน่ ดนิ ๘) จดุ เรียนรู้ หรือสถานทใ่ี นการเฝาู ระวัง ปอู งกันกลุ่มเสีย่ ง เช่น ศนู ยเ์ พอ่ื นใจวยั รุน่ ลานกีฬา ลานดนตรี ฯลฯ ๙) นิทรรศการแสดงผลงานด้านต่างๆ ของกองทุนแม่ของแผน่ ดนิ ๑๐) อน่ื ๆ ขั้นตอน วธิ กี ารดาเนินงานศนู ย์เรยี นรู้กองทนุ แม่ของแผน่ ดนิ ๑) คณะกรรมการสนับสนุนการขับเคลื่อนกองทุนแม่ของแผ่นดินระดับอาเภอ จัดให้มีการ ประชาคมเผยแพร่ความคิด วัตถุประสงค์ และประโยชน์ของศูนย์เรียนรู้ แก่คณะกรรมการกองทุนแม่ของ แผ่นดนิ ทกุ กองทนุ ๒) คณะกรรมการสนับสนุนการขับเคลื่อนกองทุนแม่ของแผ่นดินระดับอาเภอร่วมกับเครือข่าย กองทุนแม่ของแผ่นดินระดับอาเภอ คัดเลือกหมู่บ้านกองทุนแม่ของแผ่นดินที่มีผลการดาเนินงานแก้ไขปัญหา ยาเสพติดและมีความพร้อมท่ีจะเป็นศูนย์เรียนรู้ เพ่ือส่งเสริมให้เป็นศูนย์เรียนรู้กองทุนแม่ของแผ่นดินระดับ อาเภอ ท้ังนีใ้ ห้พิจารณาหมูบ่ ้านกองทนุ แม่ของแผ่นดนิ ทีม่ ศี ูนย์เรยี นรู้ชมุ ชนอยู่แลว้ เปน็ ลาดับแรก ๓) สร้างความรู้ความเข้าใจด้านการบริหารจัดการศูนย์เรียนรู้กับคณะกรรมการกองทุนแม่ของ แผน่ ดนิ ทไี่ ดร้ บั การคัดเลือกใหเ้ ปน็ ศนู ยเ์ รียนร้กู องทุนแม่ของแผน่ ดินระดับอาเภอ ๔) คณะกรรมการกองทุนแม่ของแผ่นดินและสมาชิก ร่วมกันคัดเลือกคณะกรรมการศูนย์เรียนรู้ ชุมชน จานวน ตามความเหมาะสมของแต่ละพื้นท่ี รวมท้ังการคัดเลือกท่ีปรึกษาศูนย์เรียนรู้ฯ ซึ่งอาจเป็น เจา้ หนา้ ที่ของรฐั หรือผนู้ าชมุ ชนระดบั ตาบลก็ได้ ๕) วางแผนการดาเนินงาน จดั หางบประมาณ ๓๔

๖) จดั ทาระเบยี บศูนยเ์ รียนรู้กองทนุ แมข่ องแผ่นดนิ ระเบียบการให้บริการบุคคลภายนอกชุมชน ๗) ปรบั ปรุงอาคารสถานที่ ๘) สรปุ ข้อมูลทว่ั ไปของหมู่บา้ น/ชมุ ชน ๙) สรปุ วิธีการและกจิ กรรมดาเนินงานกองทนุ แมข่ องแผ่นดนิ ๑๐) สรปุ ผลงานในการแกไ้ ขปญั หายาเสพติด ๑๑) จัดทาส่ือและวัสดุอุปกรณ์ ในการถ่ายทอดองค์ความรู้ และพัฒนาส่ือและวัสดุอุปกรณ์ให้มี ประสทิ ธภิ าพอยู่เสมอ ๑๒) บรรจขุ อ้ มลู ขา่ วสาร ความรู้ สอื่ ต่างๆ ไวใ้ นอาคาร ๑๓) พฒั นาวิทยากรผ้ถู า่ ยทอดองค์ความรู้ ๓๔ ๑๔) จดั ใหม้ ีบคุ คลตน้ แบบ/จดุ เรยี นรดู้ ้านการปอู งกนั และแก้ไขปัญหายาเสพตดิ ๑๕) จดั ให้มีการเพม่ิ ทกั ษะการบรหิ ารจัดการศูนย์เรยี นรู้ ๑๖) ประชาสัมพนั ธก์ ารดาเนินงานผา่ นชอ่ งทางต่างๆ ๓๕

บรรณานุกรม รตั นะ บวั สนธ์. (2552). ปรชั ญาการวิจยั . กรงุ เทพมหานคร : สานักพมิ พ์แห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วรรณี แกมเกตุ. (2551). วิธวี ทิ ยาการวจิ ัยทางพฤติกรรมศาสตร์. (พิมพ์ครั้งท่ี 2).กรงุ เทพมหานคร : สานักพมิ พ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ศนู ยว์ ิชาการสารเสพตดิ ภาคเหนอื มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. นานาสาระยาเสพติด. สบื คน้ เม่ือ ๑๐ กมุ ภาพนั ธ์ ศูนย์อานวยการพลังแผ่นดนิ เอาชนะยาเสพตดิ แห่งชาติ. แผนยุทธศาสตรป์ ี 2555. สืบค้นเมอ่ื ๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕,http://nccde.oncb.go.th/index.php?option=com_wrapper&view=wrapper& Itemid=71 สานักงาน ป.ป.ส. (๒๕๕๕). แนวทางพัฒนา “กองทนุ แม่ของแผน่ ดิน” สคู่ วามยั่งยืน.เอกสารอดั สาเนา สานกั งานคณะกรรมการปูองกันและปราบปรามยาเสพติด. ความรเู้ กยี่ วกับยาและสารเสพติด. สืบค้นเม่ือ ๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕, http://www1.oncb.go.th/document/p1-know05.htm สานักงานคณะกรรมการปูองกนั และปราบปรามยาเสพติด. แนวทางการดาเนนิ การ “กองทุนแม่ของ แผน่ ดนิ ”. สืบคน้ เม่ือ ๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ http://hmf-oncb.com/% สานกั งานคณะกรรมการปูองกันและปราบปรามยาเสพตดิ .ปฏิทินกองทนุ แมข่ องแผ่นดิน. สืบคน้ เมอ่ื ๑๐ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๕๕, http://www.kongtunmae-oncb.com/index.php สานกั งานพัฒนาชุมชนจงั หวดั สมทุ รปราการ. คณุ สมบัติของหมู่บา้ น / ชุมชน. สบื ค้นเมื่อ ๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕, http://www3.cdd.go.th/samutprakan/Menumom7.html สานกั สง่ เสริมและพัฒนาศักยภาพชุมชน กรมการพฒั นาชุมชน.(๒๕๕๑). คมู่ อื ..ศนู ยเ์ รียนรชู้ มุ ชน. กรงุ เทพมหานคร : บริษทั สุภัชนิญค์ พร้ินต้ิง กรปุ๊ จากดั สขุ บัญญัตแิ หง่ ชาติ กระทรวงสาธารณสุข. ปญั หายาเสพติด. สืบค้นเม่อื ๑๐ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๕๕, http://www.nmt.ac.th/product/web/1/d5.html ๓๕

คณะผจู้ ัดทา ที่ปรกึ ษา ๓๖ นายประภาศ บุญยินดี อธบิ ดีกรมการพฒั นาชมุ ชน นางกอบแก้ว จันทรด์ ี รองอธิบดีกรมการพฒั นาชุมชน นายพสิ นั ติ์ ประทานชวโน รองอธบิ ดีกรมการพฒั นาชุมชน นายนสิ ติ จันทรส์ มวงศ์ รองอธิบดีกรมการพัฒนาชมุ ชน นางสาวขนฎิ ฐา กาญจนรงั ษนี นท์ นักวชิ าการพัฒนาชุมชนเชี่ยวชาญ คณะผู้จัดทา ผู้อานวยการกองแผนงาน หวั หน้ากลุม่ งานนโยบายและยุทธศาสตร์ กองแผนงาน นายวสันต์ ถนอมทรัพย์ นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผนชานาญการ กองแผนงาน นางสาวชนมณัฐ รอดบญุ ธรรม นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัตกิ าร กองแผนงาน นางรัชตา แยม้ พุทธคุณ นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผนปฏบิ ตั ิการ กองแผนงาน นายกิตติทัศน์ นาสรร นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผนปฏิบตั ิการ กองแผนงาน นางสาวสิรผิ กา พุ่มพวง นางสาวถริ ะรัตน์ เดชคงแก้ว สนบั สนุนขอ้ มลู คณะทางานฝุายวิชาการ คณะทางานขับเคล่ือนพลงั แผน่ ดินเอาชนะยาเสพติด กรมการพัฒนาชุมชน สานกั งานคณะกรรมการปูองกันและปราบปรามยาเสพติด สานกั งานพัฒนาชุมชนจงั หวดั ปทมุ ธานี สานกั งานพฒั นาชุมชนจังหวัดสมทุ รปราการ จัดพิมพ์โดย กลมุ่ งานนโยบายและยทุ ธศาสตร์ กองแผนงาน กรมการพฒั นาชมุ ชน โทร. 0-2141-6234 โทรสาร 0-2143-8917-8 http://www.plan.cdd.go.th/


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook