ก
ข คำนำ รายงานเลม่ นจ้ี ดั ทำข้นึ เพ่ือเป็นสว่ นหนึง่ ของวชิ า ระบบเครือข่ายโทรศัพท์เคลือ่ นที่ ช้ัน ปวช.2 เพื่อให้ได้ศกึ ษา หาความรู้ในเร่อื ง หลกั การโทรศพั ทเ์ คลอื่ นที่ และได้ศึกษาอยา่ งเข้าใจเพื่อเปน็ ประโยชนก์ ับการเรียน ผจู้ ัดทำหวงั ว่า รายงานเลม่ นี้จะเปน็ ประโยชนก์ บั ผอู้ า่ น หรือนักเรยี น นกั ศึกษา ทกี่ ำลังหาข้อมลู เรื่องนี้ อยู่หากมีข้อแนะนำหรอื ข้อผดิ พลาดประการใด ผจู้ ดั ทำขอน้อมรบั ไว้และขออภยั มาณ ทนี่ ี้ดว้ ย ผ้จู ัดทำ นายศุภณัฐ รัตนบุรี วนั ที่ 11 ก.พ. 64
ข สารบัญ Table of Contents การทำงานของโทรมอื ถือ ............................................................................................................................ 1 ผลกระทบตอ่ สุขภาพ ................................................................................................................................. 2 การเลือกซอ้ื ต้องพจิ ารณาอะไรบา้ ง ............................................................................................................... 3 SAR คืออะไร ............................................................................................................................................ 3 อปุ กรณ์ Hand free จะทำใหป้ ลอดภัยเพ่มิ ขึ้นหรอื ไม่........................................................................................... 4 ผลการศึกษา............................................................................................................................................ 5 ไอคอนโทรศัพท์เคลอ่ื นท่ี ............................................................................................................................ 7 การเรมิ่ ตน้ ใช้โทรศัพท์.............................................................................................................................. 10 Android ................................................................................................................................................. 10 การตงั้ ค่าบัญชี Google.............................................................................................................................. 10 การใช้โทรศพั ท์ของคุณเป็นโทรศพั ท์............................................................................................................ 11 ทำความร้จู กั กบั ระบบปฏบิ ัตกิ าร ................................................................................................................ 12 เคลด็ ลบั ทส่ี ำคัญเพมิ่ เตมิ ........................................................................................................................... 17 แตะทา่ ทาง............................................................................................................................................ 19 iOS....................................................................................................................................................... 20 เปิดใชง้ านอุปกรณ์ของคณุ ........................................................................................................................ 23 ตง้ั คา่ Face ID หรือ Touch ID และสร้างรหสั .................................................................................................... 24 กคู้ ืนหรือถ่ายโอนขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ของคณุ ......................................................................................................... 24 ลงช่ือเขา้ ใช้ดว้ ย Apple ID ของคณุ ................................................................................................................ 26 เปิดรายการอพั เดทอตั โนมตั ิและตงั ้ คา่ คณุ สมบตั อิ ่ืนๆ.................................................................................... 26 ต้ังค่า Siri และอุปกรณ์เครอื่ งอืน่ .................................................................................................................. 27 ตง้ั ค่าเวลาหนา้ จอและตัวเลอื กจอแสดงผลเพิ่มเตมิ .......................................................................................... 29
ค การโทร ................................................................................................................................................ 30 รบั สายหรือปฏเิ สธสายเรยี กเข้า.................................................................................................................. 31 การป้อนโทรศัพท.์ ................................................................................................................................... 33 การแบ่งกลุม่ ตวั เลขให้ถูก.......................................................................................................................... 34 สรุปแนวทางการเขยี นเลขหมายโทรศพั ท์ ..................................................................................................... 37 การอา้ งองิ ............................................................................................................................................. 39
1 การทำงานของโทรมอื ถอื เม่ือเราพูดโทรศัพท์มือถอื คลนื่ เสยี งจะเปลี่ยนเป็นคล่ืนวทิ ยุ radio waves ซ่ึงเปน็ คลืน่ แม่เหลก็ ไฟฟ้าชนิดหนึ่ง( electromagnetic radiation) คล่นื นีจ้ ะกระจายไปในอากาศและไปสู่ สถานขี องวทิ ยุมือถอื เมอื่ มีคนโทรติดต่อมาคลน่ื เสียงจะแปลงเป็นคลนื่ วิทยุ สง่ ไปตามสถานแี ละสง่ มายังผรู้ บั ความแรงของคลนื่ สว่ นใหญ่ประมาณ 0.75ถงึ 1 watt ในขนะทเ่ี ราพูดสมองของเราจะอยู่ใกลเ้ สา อากาศของโทรศัพท์มอื ถือมากท่ีสดุ พลังงานจากคลื่นวิทยจุ ะเปล่ียนเป็นพลังงานความร้อนซึ่ง อาจจะส่งผลเสียต่อสุขภาพ ความแรงของคลืน่ คนทใ่ี ชโ้ ทรศพั ทม์ อื ถือจะไดร้ ับคลื่นมากกว่าคนทอี่ าศัยอยใู่ กลส้ ถานี คนท่ใี ชโ้ ทรศพั ท์มือถือจะ ได้รับคลื่นเมอ่ื มีการใช้โทรศัพท์ แตค่ นท่อี าศยั ใกลส้ ถานีจะได้รับคล่ืนอยตู่ ลอดเวลา โทรศพั ท์มือถือ โทรศัพทม์ อื ถอื สมัยเกา่ เปน็ ระบบ 850 MHz ปัจจุบนั เป็นแบบ 1900 MHz สว่ น ของประเทศทางยโุ รปใชร้ ะบบ Global System for Mobile Communications (GSM) ซง่ึ มี คลืน่ ความถ่รี ะหวา่ ง 900 MHz ถึง 1800 MHz โทรศัพทเ์ คลอ่ื นท่ีจะให้พลังงานคลื่นเพยี ง 0.2-0.6 Watts
2 สำหรับวิทยุ walkies talkies จะให้กำลงั คลื่นถงึ 10 Watts ความแรงของคลื่นจะลดลงอย่างมาก เมือ่ ตัวเครอื่ งอยู่ห่างจากศรีษะ ดังนั้นควารจะใชอ้ ุปกรณท์ เี่ รียกว่า hand free ซ่ึงจะลดความแรง ของคลน่ื สถานกี ระจายคลน่ื สถานีจะให้คล่นื แรงตง้ั แต่ไม่ก่ีวตั ตจ์ นเป็นรอ้ ยขนึ้ กบั ขนาดและจำนวนของเซลล์ไซต์ โดยตวั เสาอากาศจะมีความกว้าง 20-30 ซม. และยาวประมาณ 1 เมตรโดยต้งั อยู่ ดาดฟ้าอาคาร บนหอคอยสูง 15- 50 เมตรจากพืน้ หากต้ังอยู่บนพ้นื จะต้องมีความสูง 50-200 ฟตุ จากพืน้ ดิน คลืน่ จากเสาอากาศจะออกใน แนวราบ ดงั น้ันคนท่ีอยู่บนดินหรือในบา้ นจะไดร้ บั คลน่ื น้อยมาก ระยะหา่ งที่ปลอดภัยจากคือ 2-5 เมตรจากเสา อากาศ ผลกระทบตอ่ สขุ ภาพ คลน่ื วทิ ยุจะมีผลต่อเนื้อเย่ือลึกประมาณ 1 ซม ความลึกขน้ึ กับความถี่ของคลืน่ เม่ือเน้อื เยื่อได้รบั คลน่ื จะแปลง เปน็ ความร้อนแตร่ ่างกายกม็ ีกลไกทจ่ี ะควบคุมอุณหภมู ิ เช่อื ว่าผลเสียของคลืน่ วิทยุเกดิ จากความร้อน การศึกษาทผี่ า่ นมาจะศึกษาผลกระทบอของคล่นื วทิ ยุต่อท้ังรา่ งกาย และคล่นื ที่ศึกษากแ็ รงกวา่ คล่ืนโทรศัพท์ มาก การศึกษาผลกระทบของคล่ืนโทรศัพทมอื ถือต่อคนยังมีไมม่ าก มะเร็ง ยังไมม่ ีหลักฐานยืนยนั ว่าคลื่นโทรศพั ท์ทำใหเ้ กิดมะเร็ง แตจ่ ากการทดลองในสัตว์ก็ไม่มีหลกั ฐานว่าทำให้ เกดิ มะเร็ง และจากการศึกษาทางระบาดวทิ ยาก็ไม่มหี ลักฐานวา่ คลืน่ โทรศัพท์ทำให้เกิดมะเร็ง ผลเสยี ตอ่ สขุ ภาพอน่ื พบวา่ คล่ืนวิทยุมผี ลตอ่ การนอนหลับ การตอบสนองของสมอง น้อยมาก การขบั รถ การใชโ้ ทรศัพทม์ ือถือทำใหม้ ีอุบัตเิ หตุเพิ่มขึน้ การรบกวนของคลน่ื วิทยุ คล่ืนจะรบกวนการทำงานของอุปกรณ์ทางการแพทย์ เช่น เครอ่ื งกระตุ้นการเตน้ ของ หัวใจ pacemaker ,defibrillator และอาจจะมีผลต่อการควบคุมการบนิ
3 การเลอื กซอื้ ตอ้ งพจิ ารณาอะไรบ้าง ต้องทราบว่าโทรมือถือแต่ละรุ่นทีผ่ ลติ ออกมาให้ความถ่ีคล่นื วิทยุออกมาเทา่ ไร (Radiofrequency exposure level ) ทา่ นจะทราบโดยขอข้อมลู จากบริษทั ผู้ผลติ หรือทเ่ี ว็ป http://www.fcc.gov/oet/rfsafety ทา่ นจะต้องทราบว่าพลังงานที่ไดจ้ ากคลน่ื (Specific Absorption Rate (SAR) เปน็ การคำนวณพลังงานจาก คล่นื วทิ ยุทีเ่ ราไดร้ บั )ไมค่ วรเกินเท่าไร ปกติไม่ควรเกนิ 1.6 watts per kilogram SAR stands for Specific Absorption Rate แม้วา่ จากหลกั ฐานถึงปัจจุบนั พบว่าการใช้โทรศัพท์มือถอื ไม่กอ่ ให้เกดิ อันตรายต่อผู้ใช้ แตย่ ังมีคำถามถึงความ ปลอดภัยของการใชโ้ ทรศัพท์มือถือในระยะยาว ซ่ึงรฐั บาลของของหลายประเทศได้แนะนำให้มีการวิจัยเพิ่มเติม SAR คอื อะไร หมายถงึ Specific Absorption Rate หมายถึงหนว่ ยการวัดปริมาณพลงั งานทีร่ ่างกายได้รับขณะทเี่ ราใช้ โทรศพั ท์มือถอื โทรศัพท์ทกุ เครอ่ื งจะต้องผา่ นการวัดโดยใช้พลังงานเต็มที่ แต่พลังงานที่เราใช้จริงจะนอ้ ยกวา่ ค่าทีไ่ ดจ้ ากการทดสอบ เพราะบรษิ ทั เคา้ ออกแบบให้ใชพ้ ลังงานต่ำท่สี ดุ ที่พอจะส่งคลนื่ ไปยังสถานที ่ีใกล้ทส่ี ดุ ดงั นน้ั หากเราอยใู่ กล้สถานี เราจะได้รับพลงั งานน้อย เราจะเลือกเคร่ืองท่ีมรี ะดบั SAR เท่าไร ในการเลอื กซื้อเครื่องโทรมือถือนอกตากจะพจิ ารณา บรษิ ัททีผ่ ลิต รนุ่ แบบ ขนาด ประเภทการใชง้ าน ราคา เราจะต้องคำนึงถงึ ระดับของ SAR โดยคา่ ปกติจะไมเ่ กนิ 1.6 watt/Kg โทรศพั ท์ของบริษทั แตล่ ะรุน่ มีค่า SAR เท่ากันหรอื ไม่ แม้ว่าจะเปน็ โทรศัพท์จากบริษัทเดยี วกัน แตจ่ ะมีคา่ SAR ไมเ่ ทา่ กัน เราจะทราบวา่ เครื่องของเรามีค่า SAR เทา่ ไร
4 มี website ทใี่ หท้ า่ นค้นหาว่าเครอ่ื งของท่านมีคา่ SAR เท่าไรคน้ ได้จาก www.fcc.gov/oet/fccid ตารางขา้ งล่างจะเป็นท่ีอยขู่ องบริษทั ทีผ่ ลิตโทรมือถือ ซ่งึ ท่านจะสามารถหารายละเอยี ดของ Specific Absorption Rate (SAR) ของเครือ่ งแตล่ ะร่นุ Alcatel Audiovox: Benefon: Kyocera Wireless: www.kyocera-wireless.com LG: www.lge.com Mitsubishi: www.mitshubishiwireless.com Motorola: www.mot.com/rfhealth/sar.html Nokia: www.nokiausa.com Panasonic: www.panasonic.com Samsung: www.samsungusa.com Ericsson: www.sonyericssonmoible.com/us อปุ กรณ์ Hand free จะทำใหป้ ลอดภยั เพม่ิ ขึน้ หรอื ไม่ ในขณะท่ยี งั ไม่ทราบถงึ ผลเสียของการใชโ้ ทรศัพทม์ ือถือในระยะยาว ดงั น้ันการใช้อุปกรณ์ Hand free จะทำให้ สมองของเราไดร้ ับพลังงานจากคล่ืนวทิ ยลุ ดลง อุปกรณ์ท่ีป้องกนั คลน่ื ไปสศู่ รีษะใช้การไดห้ รือไม่
5 จากการศึกษาพบวา่ อปุ กรณ์เหลา่ นี้ใชไ้ ม่ไดผ้ ลเน่ืองจากทำให้การใชโ้ ทรศัพทล์ ำบาก และเครือ่ งจะปรบั พลังงาน เพิ่มขึ้น ทำใหเ้ ราไดร้ ับพลังงานเทา่ เดิม เราจะใช้มือถืออย่างปลอดภัยได้อยา่ งไร จนถงึ ปัจจบุ นั ยังไม่มีหลกั ฐานถึงผลเสยี ของคลืน่ โทรศพั ท์มือถือตอ่ สุขภาพ แต่ต้องรอผลการศกึ ษาอีก 3-4 ปี ดังนน้ั องค์การอนามัยโลกจึงเสนอแนวทางปฏิบัติ ลดระยะเวลาในการพูดโทรมือถือ ใหป้ ฏบิ ตั ิตามคำแนะนำเพ่ือสขุ ภาพท้งั ผูใ้ ชม้ ือถือ หรือผทู้ ี่อาศยั ใกล้สถานี มาตราการเสริม การออกมาตราการควรจะอาศยั ข้อมลู ทางวชิ าการ หากภาครฐั หรือภาคประชาชนตอ้ งการมาตราการเสรมิ ควรจะเป็นมาตราการจงู ใจหรือสมัครใจ เพ่ือใหบ้ ริษทั ผลิตสนิ คา้ ทีม่ กี ารปล่อยคล่นื ลดลง สว่ นประชาชนโดยเฉพาะเด็กหากตอ้ งการลดการรบั คล่ืนควรจะจำกดั การใชห้ รือใช้อุปกรณ์ hand free ปฏบิ ตั ิตามข้อห้าม เช่นไม่ใช้โทรศัพทม์ ือถือในโรงพยาบาล หรอื เครื่องบนิ ความปลอดภัยขณะขับข่ี ควรจะหลกี เลี่ยงการใชโ้ ทรศัพทม์ ือถือในขณะที่ขับรถ หรืออาจจะใชอ้ ุปกรณ์ hand free สร้างร้วั หรอื สงิ่ กีดขวางบริเวณสถานีเพ่ือมิให้ผไู้ มเ่ กย่ี วขอ้ งเขา้ ไปยงั บรเิ วณดังกล่าว การติดตัง้ สถานี การติดตัง้ สถานีใกล้โรงเรยี นอนุบาล สนามเด็กเล่น โรงเรียน จะตอ้ งพจิ ารณาให้รอบครอบ ผลการศกึ ษา รายงานจาก Cellphones 'should not be given to children' 18:19 11, January 2005 NewScientist.com news service ,Will Knight, London แม้ว่าจะยังไม่มหี ลกั ฐานถึงอันตรายของมือถือ ตอ่ สุขภาพ แต่ต้องระวังโดยเฉพาะในเด็ก มีรายงานจากประเทศสวเี ดน ว่ามีความสัมพันธ์ระหวา่ งการเกดิ เน้ือ งอกเสน้ ประสาทหูกับมือถือ
6 มีการวิจยั ว่าการใชโ้ ทรศัพทม์ ือถือนาน ๆจะเกดิ Hot spot ในเนือ้ สมอง ซ่ึงเชือ่ วา่ จะมีการทำลายสมอง บางส่วนและอาจจะเป็นสาเหตทุ ี่ทำใหเ้ กดิ โรคเนื้องอกในสมอง และ Alzheimer’s disease การวิจยั ใหมๆ่ พบว่าคลืน่ โทรมอื ถือ GSM จะทำใหเ้ กิดการเปลยี่ นแปลงในการทำงานของเซลล์ และการ เปล่ียนแปลงคล่นื ไฟฟ้าสมอง พบวา่ คล่ืนวทิ ยุทำใหเ้ กดิ การสลายของ DNA ซง่ึ หากไม่มกี ารซ่อมแซมจะทำใหเ้ ซลลส์ มองตาย นักวจิ ยั ท่ี Royal Adelaide Hospital in Australia ค้นพบวา่ คลื่นแมเ่ หลก็ ทุ ่ีออกมาจากอปุ กรณ์ เคร่อื งใช้ไฟฟ้าอาจจะมีความสมั พันธก์ ับการเกดิ เน้ืองอกสมองของหนู การทส่ี มองสัมผสั คล่นื โทรศัพทม์ อื ถือนาน ๆจะทำให้สารพิษสามารถเขา้ สูเ่ นื้อสมองได้งา่ ย รปู ข้างล่างแสดงกลไกวา่ คลนื่ โทรศัพทม์ ือถือทำให้เกิดเน้ืองอกสมองได้อย่างไร ออสซีสงสยั คนเนอื้ งอกในสมองจากเสามือถือบนอาคาร 12 พฤษภาคม 2549 14:37 น. สำนกั งาน 2 ชนั้ บนสดุ ของอาคารแหง่ หน่ึงในนครเมลเบริ น์ ของออสเตรเลยี ปิด ทำการชวั่ คราว หลงั จากเจา้ หน้าที่ 7 คนที่ทำงานในนั้นตรวจพบเนื้องอกสมอง ก่อให้เกิดความวิตกวา่ อาจมสี าเหตมุ าจากเสาส่งสัญญาณ โทรศัพทเ์ คลอ่ื นท่ีบนหลังคาอาคาร เจ้าหนา้ ทส่ี หภาพการอุดมศกึ ษาแหง่ ชาติของออสเตรเลียเผยว่า 2 ชน้ั บนสดุ ของอาคารดังกล่าว เปน็ ท่ตี ั้ง สำนกั งานของราชสถาบนั เทคโนโลยเี มลเบิร์น มีการสงั่ ยา้ ยเจ้าหนา้ ท่อี อกจากสำนกั งานดังกล่าวแลว้ เมอ่ื วานนี้ หลังจากเจ้าหนา้ ที่ 4 คนตรวจพบเน้ืองอกในสมองในช่วง 2 สัปดาหท์ ี่ผ่านมา และก่อนหน้านเ้ี จา้ หนา้ ที่ 3 คนก็ ตรวจพบเนอ้ื งอกในสมองเชน่ กนั โดยพบรายแรกเม่อื ปี 2544 การพบเจา้ หนา้ ทีม่ ีเน้ืองอกสมองพร้อมกันมาก ขนาดน้ี จงึ ไม่น่าจะเปน็ เร่ืองบังเอิญ เจ้าหนา้ ที่ท่ปี ว่ ย 5 คน ทำงานอยชู่ ั้นบนสดุ ของอาคาร และส่วนใหญ่ ทำงานมานานไม่ต่ำกว่า 10 ปี
7 ดา้ นเจ้าหนา้ ทรี่ าชสถาบันเทคโนโลยเี มลเบิร์นกล่าวว่า เสาสง่ สญั ญาณโทรศัพท์เคล่อื นท่ีท่ีติดต้ังอย่บู นหลังคา อาคาร สรา้ งความกงั วลมานาน แต่ผลการศกึ ษาเมื่อปี 2544 ไม่พบว่าเปน็ สาเหตทุ ี่ทำใหเ้ จ้าหน้าทรี่ ายแรกมี เนอ้ื งอกในสมอง อยา่ งไรก็ดี ทางสถาบนั ยงั ไม่ตัดประเดน็ น้ีออกไป และจะศึกษาเพิ่มเตมิ เพ่ือให้แนใ่ จ ด้านเทลสตรา บรษิ ทั โทรศัพท์รายใหญท่ ส่ี ดุ ในออสเตรเลียที่ตดิ ต้งั เสาส่งสัญญาณโทรศัพท์บนหลังคาอาคาร ดังกล่าวออกแถลงว่า เสาส่งไดม้ าตรฐานดา้ นสุขภาพและความปลอดภัยของสำนกั งานความปลอดภยั นิวเคลยี ร์ และการป้องกนั รงั สอี อสเตรเลีย และเปน็ ไปตามระเบียบทเ่ี ครง่ ครดั ขององค์การอนามัยโลก อย่างไรกด็ ี ทาง บริษทั จะร่วมกับราชสถาบนั ฯ สืบหาความจรงิ ตอ่ ไป เพื่อคลายความกังวลของเจา้ หน้าท่ี ไอคอนโทรศพั ทเ์ คลอื่ นที่ ไอคอนท่ีอยดู่ ้านบนสุดของหน้าจอคือไอคอนอะไร แถบสถานะท่ดี ้านบนของ หน้าจอหลกั มีไอคอนตา่ ง ๆ ทจี่ ะช่วยคณุ ตรวจสอบโทรศัพท์ของคุณ ไอคอนทางดา้ นซา้ ย จะแจง้ ให้คุณทราบเก่ียวกบั แอป เชน่ ข้อความใหมห่ รือดาวนโ์ หลด หากคุณไม่ทราบ ความหมายของไอคอนเหล่านี้ ใหก้ วาดแถบสถานะลงเพือ่ ดูรายละเอยี ด ไอคอนทางด้านขวา จะแจง้ ให้คุณทราบเกย่ี วกบั โทรศัพท์ของคณุ เชน่ ระดับแบตเตอรี่และการเชื่อมต่อ เครือข่าย นี่คอื ไอคอนจากแอปท่ีมาพร้อมกับโทรศัพทข์ องคณุ และไอคอนสถานะโทรศพั ท์
8 การโทร การโทรท่ีใชง้ านอยู่ สายทีไ่ ม่ได้รบั ลำโพงเปดิ อยู่ ไมโครโฟนถูกปิดเสยี ง เครือข่าย เชื่อมตอ่ อยกู่ ับเครือขา่ ยโทรศัพท/์ เครือข่ายมือถือ (สัญญาณเตม็ ) ยงั มกี ารแสดงความเร็วของการ เช่อื มตอ่ เครือข่ายของคณุ เอาไว้อีกดว้ ย ตวั อยา่ ง เชน่ หรอื ความเรว็ ท่ีเป็นไปได้เรยี ง จากช้าท่ีสุดไปเรว็ ทีส่ ุดคือ 1X, 2G, 3G, H, H+, 4G ความเรว็ ท่ใี ชไ้ ดข้ ึ้นอย่กู ับผูใ้ ห้บริการและ ตำแหน่งของคุณ ไม่มีการเช่ือมตอ่ กับเครือขา่ ยโทรศพั ท/์ เครือขา่ ยมือถือ เชื่อมตอ่ อยกู่ ับเครือขา่ ยโทรศัพท์/เครือข่ายมอื ถอื อ่ืน (โรมม่ิง) โทรฉกุ เฉนิ เท่าน้ัน อยูใ่ นพ้ืนท่เี ครือขา่ ย Wi-Fi เชือ่ มตอ่ อยกู่ บั เครือขา่ ย Wi-Fi บรกิ ารตำแหน่งใชง้ านอยู่ ไม่มซี ิมการด์ โหมดบนเครอื่ งบินเปดิ อยู่ \\การเช่ือมต่อ บลทู ูธเปดิ อยู่ เชื่อมต่อกับอปุ กรณ์บลทู ูธแล้ว เชื่อมตอ่ กบั อุปกรณ์บลูทธู ท่ีเชื่อถือได้แล้ว โทรศพั ท์ของคณุ เปน็ Wi-Fi ฮอตสปอต อุปกรณต์ า่ งๆ สามารถเช่อื มต่อเพ่อื แบง่ ปนั การเชอ่ื มตอ่ ข้อมลู ของคุณได้ เชอื่ มตอ่ กับจอแสดงผลไร้สายหรืออะแดปเตอร์แล้ว เชือ่ มต่อแล้วด้วย สาย USB เชือ่ มตอ่ แลว้ ด้วยสาย USB ในโหมดแกไ้ ขข้อบกพรอ่ ง ซิงค์และอัปเดต มีการอัปเดตแอปรอให้ ดาวนโ์ หลด จาก Play Store แอปฯ ไดร้ ับการตดิ ตัง้ สำเรจ็ แล้วจาก Play Store อยู่ในระหวา่ งการซิงค์อีเมลและปฏทิ นิ
9 อยู่ในระหวา่ งการอัปโหลด ดาวน์โหลดเสร็จส้นิ กำลัง backup Google+ สำรองข้อมูล Google+ เสร็จสมบรู ณ์ เสยี ง ส่ัน เสยี งเรยี กเข้าปิดอยู่ กำลงั เลน่ เพลงอยู่ การขดั จังหวะ แบตเตอร่ี แบตเตอร่ชี ารจ์ เต็มแลว้ กำลังชาร์จแบตเตอร่ี แบตเตอรี่ใกลห้ มด การปลกุ และปฏทิ ิน ต้ังค่าการปลุก กจิ กรรมใน ปฏิทนิ ท่ีกำลังมาถงึ อีเมลและการรบั ส่งข้อความ อเี มลใหม่ ข้อความ Gmail ใหม่ ข้อความตวั อักษรใหม่ ข้อความเสียงใหม่ ขอ้ ความใหมจ่ าก Hangouts การแจง้ เตือนฉกุ เฉนิ ไอคอนอืน่ ๆ เปลี่ยนประเภทแปน้ พมิ พ์ ภาพหนา้ จอ ใชง้ านได้ Assist กำลงั ปรับการตั้งค่าโทรศพั ท์ตามกจิ กรรม กำลงั ขับรถ Assist กำลงั ปรับการตั้งค่าโทรศัพท์ตามกจิ กรรม บ้าน Assist กำลังปรบั การตง้ั คา่ โทรศพั ท์ตามกิจกรรม ประชุม Assist กำลังปรบั การต้ังค่าโทรศพั ทต์ ามกจิ กรรม กำลังนอนหลบั
10 การเริ่มต้นใชโ้ ทรศพั ท์ Android ดงั นั้นคุณเพ่ิงหยิบโทรศัพท์ Android เครื่องแรกหรอื บางทีคุณอาจมโี ทรศัพท์ Android ที่คณุ ไม่ได้ใชป้ ระโยชน์ อยา่ งเตม็ ท่ีเพราะนน่ั เปน็ โทรศพั ท์ต่ำสุดประเภทเดียวที่ผู้ใหบ้ ริการของคุณเสนอในวันน้ี คำแนะนำนจ้ี ะช่วยให้ คณุ เขา้ ใจและปรบั ตวั เข้ากบั ชีวติ ด้วย Android. โปรดทราบวา่ บางส่วนของโทรศัพท์ของคุณอาจดูแตกตา่ งจากภาพหนา้ จอท่เี ราถ่ายที่นี่ซ่ึงถา่ ยใน Nexus 4 ที่ ใช้ระบบ Android สต็อกเร่มิ ตน้ ของ Google อุปกรณเ์ ช่นซรี ่ีส์ Samsung Galaxy S มกี ารเปลี่ยนแปลงส่วน ตอ่ ประสานท่ีหลากหลายท่ีทำโดยผู้ผลิตโทรศัพท์. การต้ังคา่ บญั ชี Google ครัง้ แรกท่คี ุณเปิดอุปกรณ์ Android คุณจะถกู ขอให้ป้อนรายละเอยี ดบัญชี Google ของคณุ หรือสร้างบัญชี Google หากคุณยังไม่มี น่เี ป็นทางเลือกทางเทคนิคเน่ืองจากคณุ สามารถใชโ้ ทรศัพท์ Android โดยไม่ต้องมี บัญชี Google แต่เป็นความคิดท่ดี .ี
11 Android เป็นระบบปฏบิ ัติการของ Google และบัญชี Google มกี ารเช่อื มโยงอยา่ งแน่นหนากับ ระบบปฏบิ ตั ิการ บญั ชี Google ของคุณใช้เพ่ือสำรองข้อมูลการตั้งคา่ โทรศัพท์ติดตามแอปที่ติดต้ังและลิงก์ท่ี รวมแอพทม่ี ีบริการของ Google เชน่ Gmail, Google ปฏทิ ินและ Google Contacts หากคุณเคยได้รบั โทรศัพท์ Android เครือ่ งใหม่หรือคืนคา่ โทรศัพท์ปจั จุบนั ของคณุ เป็นการตั้งค่าเริม่ ตน้ จากโรงงานบัญชี Google จะตรวจสอบให้แน่ใจว่าได้สำรองข้อมลู ทั้งหมดแล้ว คุณยังสามารถเขา้ ถึงอเี มลผู้ติดตอ่ กิจกรรมใน ปฏิทินและข้อมลู อื่น ๆ บนเวบ็ Android สามารถอัปโหลดรปู ภาพของคณุ ไปยงั อัลบ้ัมสว่ นตวั ใน Google+ โดยอัตโนมัติดงั นั้นคุณจะมีสำเนาสำรองอยู่เสมอ. หากคุณเลือกทีจ่ ะไม่ป้อนข้อมูลประจำตวั ของบัญชี Google ในขณะตง้ั คา่ โทรศพั ท์ Android ของคณุ คุณ สามารถเพ่ิมบัญชใี นภายหลังไดจ้ ากหน้าจอการตงั้ คา่ ของ Android. การใชโ้ ทรศพั ทข์ องคณุ เปน็ โทรศพั ท์ เชน่ เดยี วกบั สมาร์ทโฟนอ่นื ๆ โทรศพั ท์ Android มีสิง่ ท่ีเหมอื นกนั กับคอมพวิ เตอร์มากกว่าโทรศัพท์แบบเดมิ สามารถใช้สำหรบั การท่องเว็บอีเมลและอ่นื ๆ ท่ีมีแอพสำหรับ - ต้ังแตก่ ารสตรีมวิดโี อและการเลน่ เกมไปจนถงึ การแก้ไขรูปภาพและการเขียนเอกสารสำนักงาน.
12 อย่างไรกต็ ามหากคุณเพิง่ มาที่ Android จากแพลตฟอรม์ อื่นและต้องการใชโ้ ทรศัพท์ Android ของคุณเป็น โทรศัพท์น่ีไม่ใช่ปญั หา คุณสามารถใชแ้ อพ Phone เพอ่ื โทรออกและแอพ Messaging เพื่อสง่ และรบั ขอ้ ความ ตามค่าเริม่ ตน้ แอพโทรศัพท์และการสง่ ข้อความควรปรากฏในบริเวณทา่ เรือท่ดี ้านลา่ งของหนา้ จอหลกั ของคณุ - มองหาโทรศัพท์สีนำ้ เงินและกรอบข้อความสีเขียว. ทำความรจู้ กั กับระบบปฏิบัติการ เมื่อคุณเปดิ อปุ กรณ์ Android คุณจะเห็นหนา้ จอล็อคซ่งึ คุณสามารถกำหนดคา่ รหสั รปู แบบหรอื รหสั ผ่านเพือ่ ให้ ไมม่ ีใครสามารถใช้โทรศัพท์ของคุณโดยไม่ได้รับอนุญาต.
13 ปลดล็อคโทรศัพทข์ องคณุ และคุณจะเห็นหนา้ จอหลักของคุณ หนา้ จอหลักเป็นสถานทที่ ่ีคุณสามารถวางไอคอน สำหรับแอพโปรดและเพ่ิมวิดเจ็ต ตวั อย่างเชน่ หากคุณเปน็ ผู้ใช้ Gmail บ่อยคร้ังคุณสามารถเพม่ิ วดิ เจต็ Gmail เพอ่ื ให้คุณเห็นกลอ่ งจดหมายเขา้ ของคุณบนหน้าจอหลักโดยไมต่ ้องเปดิ แอปใด ๆ หากคุณใชแ้ อพอื่นบ่อยคุณ สามารถวางไอคอนไวบ้ นหนา้ จอหลกั ได.้ แตะปุ่มวงกลมพร้อมจุดที่ดา้ นล่างของหนา้ จอหลักของคณุ เพ่อื เปิดลน้ิ ชักแอป ลิน้ ชักแอปจะแสดงแอพทั้งหมด ที่คณุ ติดต้ังบนโทรศัพท์ Android ของคณุ ตา่ งจาก iPhone ของ Apple ทห่ี น้าจอหลักเป็นเพียงรายการแอพ ทค่ี ณุ ตดิ ต้ังเสมอหน้าจอหลกั และรายการแอพทต่ี ิดต้ังจะแยกจากกันบน Android.
14
15 จากหนา้ จอแอพคณุ สามารถปัดไปรอบ ๆ เพอ่ื ดแู อพท่ีตดิ ตง้ั และเปิดแอปได้โดยแตะท่แี อป หากตอ้ งการวางแอ พบนหนา้ จอหลักกดคา้ งไวแ้ ละลากไปทใ่ี ดกไ็ ด้ทคี่ ุณต้องการ หากต้องการเรยี นรู้เพิ่มเตมิ เกยี่ วกับการปรับแต่ง หน้าจอหลกั ของคุณให้อ่านคู่มอื ของเราเพื่อปรบั แต่งหน้าจอโฮมของคณุ เอง.
16 กดปุ่มที่ด้านลา่ งของหน้าจอเพอื่ ควบคมุ โทรศัพท์ของคุณ มีปุ่มโฮมที่จะพาคณุ กลับไปทห่ี น้าจอหลกั ทันทีและ ปุ่มย้อนกลบั ที่จะพาคุณกลับไปที่ใดก็ได้ใน Android - มนั อาจไปท่แี อพทคี่ ุณใชก้ ่อนหนา้ นี้หรอื หนา้ จอก่อน หนา้ ในแอปทคี่ ณุ กำลงั เข้าชม ในโทรศพั ท์ของคุณคุณอาจมีปุ่มมลั ตทิ าสกิ้งสำหรบั สลับระหวา่ งหน้าต่างทเี่ ปดิ อยหู่ รือปมุ่ เมนทู ี่เปิดเมนูของแอพ. หากตอ้ งการสลับระหว่างแอปท่เี ปิดอยู่ให้แตะปุ่มมลั ติทาสก้ิง หากคุณไม่มปี ุ่มมัลติทาสก้ิงคุณอาจตอ้ งแตะสอง ครงั้ หรือกดป่มุ โฮมค้างไว้นานเพ่ือเปิดแอปสลบั บนโทรศพั ท์ของคณุ ส่งิ นจ้ี ะแตกต่างกนั ไปตามโทรศพั ท.์ เม่ือคุณทำแอพเสรจ็ แลว้ ใหแ้ ตะปมุ่ โฮมเพ่ือกลับไปท่หี น้าจอหลักของคุณใช้ปมุ่ ย้อนกลับเพือ่ ออกจากแอพหรือ ใชต้ วั สลบั แอพเพอื่ สลบั ไปยังแอปอนื่ Android จัดการแอปทรี่ ันอยู่โดยอตั โนมัตดิ งั นนั้ คุณไมต่ ้องกงั วลกับการ ปดิ แอพ.
17 เคลด็ ลับทสี่ ำคัญเพม่ิ เตมิ ใช้การแจ้งเตือน: ในการเข้าถึงการแจง้ เตือนในโทรศพั ท์ของคณุ ใหด้ ึงล้นิ ชกั การแจ้งเตอื นลงมาจากด้านบนของ หน้าจอดว้ ยนิ้วของคุณ แตะการแจ้งเตือนเพ่ือโต้ตอบกบั มนั หรือปดั การแจ้งเตอื นไปทางซ้ายหรือขวาเพ่ือกำจดั . การกำหนดคา่ โทรศัพทข์ องคุณ: การตั้งคา่ Android สามารถเข้าถึงได้ในแอพการตงั้ ค่า ในการเปิดใหเ้ ปดิ แอป drawer ของคณุ และแตะทีไ่ อคอนการต้งั ค่า นอกจากนี้คุณยงั สามารถดึงล้นิ ชกั การแจง้ เตือนลงมาแตะท่ี ไอคอนท่ีมมุ บนขวาแล้วแตะปุ่มการตัง้ ค่า. กำลังตดิ ต้ังแอพ: ในการติดตั้งแอพเปดิ แอพ Play Store โดยแตะทช่ี ็อตคัต Play Store หรอื แตะทไ่ี อคอนถุงช็ อปปิ้งท่ีมมุ บนขวาของลิ้นชกั แอปของคุณ คุณสามารถค้นหาแอพและตดิ ตัง้ แอพได้อย่างงา่ ยดายจากแอพน.้ี ทำการคน้ หา: ในการเร่มิ ตน้ ค้นหาอย่างรวดเรว็ ใหแ้ ตะวิดเจต็ ชอ่ งค้นหาของ Google ท่ดี ้านบนของหน้าจอ หลกั คณุ ยังสามารถออกคำสั่งเสยี งไปยงั Android ไดอ้ ย่างรวดเรว็ จากท่ีนี่เพื่อคน้ หาและดำเนนิ การอื่น ๆ โดย ไมต่ ้องพิมพ์อะไรเลย.
18
19 แตะทา่ ทาง ทา่ ทางสัมผสั ทว่ั ไปทำงานตามที่คุณคาดหวัง แตะบางส่ิงเพื่อเปิดใช้งานเล่ือนน้ิวไปมาบนหน้าจอเพ่ือเล่อื นขน้ึ และลงหรอื ปัดจากซา้ ยไปขวาและจากขวาไปซา้ ยเพ่ือย้ายระหว่างหน้าจอ.หากต้องการกำจัดบางสง่ิ เชน่ การ แจ้งเตอื นคณุ สามารถกวาดนิ้วไปทางซ้ายหรอื ขวาซ่ึงจะเปน็ การย้ายออกจากหนา้ จอของคุณ เพียงแตะท่ี รายการและเล่ือนนวิ้ ของคุณไปทางซ้ายหรือขวา.ในการเลือกบางอย่างไมว่ า่ จะเป็นข้อความหรือสงิ่ ท่ีคุณ ตอ้ งการเลือ่ นไปมาบนหนา้ จอกดแบบยาว นเ่ี ทยี บเทา่ คลกิ และลากบน Windows.
20 iOS ตั้งค่า iPhone, iPad หรือ iPod touch ของคุณ ดวู ธิ ีการตง้ั ค่า iPhone, iPad หรอื iPod touch ของคุณ หากคุณกำลังจะเปลี่ยนไปใช้อุปกรณ์เครื่องใหม่ หากคณุ ต้องการถ่ายโอนข้อมูลจากอุปกรณเ์ ครื่องอ่นื ไปยัง iPhone, iPad หรือ iPod touch เครื่องใหม่ของ คณุ ใหท้ ำตามขนั้ ตอนต่อไปนี้ จาก iPhone, iPad หรอื iPod touch เครื่องอนื่ จากอปุ กรณ์ Android ตรวจสอบใหแ้ นใ่ จวา่ คณุ ได้สำรองข้อมูลอุปกรณ์ iOS เคร่ืองเดมิ แลว้ เพ่ือให้คุณสามารถถ่ายโอนคอนเทนต์ไปยัง อุปกรณ์เครอ่ื งใหม่ได้ หากคุณกำลังตั้งค่าอุปกรณ์ iOS เคร่ืองแรกของคุณ หากคุณตั้งค่าอุปกรณ์เคร่ืองใหมข่ องคณุ แล้ว แต่ต้องการเร่ิมใหม่หมด ให้ดูวิธลี บข้อมลู ใน iPhone, iPad หรือ iPod touch ของคุณ หรอื ทำตามขนั้ ตอนต่อไปนี้ เปิดอุปกรณ์ กดป่มุ เปิด/ปดิ ของอปุ กรณ์ค้างไว้จนกว่าจะเห็นโลโก้ Apple จากนั้นคุณจะเห็นคำว่า \"สวัสด\"ี ในหลายๆ ภาษา ทำ
21 ตามขน้ั ตอนต่อไปน้เี พอ่ื เร่ิมต้น หากคณุ ตาบอดหรือมองเห็นได้ไม่ชดั คณุ สามารถเปิด VoiceOver หรอื ซมู จาก หนา้ จอสวสั ดไี ด้ เมื่อเครื่องถาม ให้เลือกภาษาทจี่ ะใช้ จากนน้ั แตะประเทศหรือภูมภิ าคของคุณ สิง่ น้ีจะมผี ลตอ่ ลักษณะการ แสดงขอ้ มูลบนอปุ กรณ์ของคุณ ซึง่ รวมถึงวนั ที่ เวลา รายชือ่ และข้อมลู อน่ื ๆ ในขนั้ นี้ คุณสามารถแตะปุ่มการ ชว่ ยการเข้าถงึ สีนำ้ เงินเพื่อตั้งคา่ ตวั เลือกการช่วยการเขา้ ถงึ ซ่ึงทำให้คุณตัง้ ค่าและใช้อุปกรณ์ไดม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ มากขึน้ ดูขอ้ มูลชว่ ยเหลอื หากอปุ กรณ์ของคณุ เปิดไมต่ ดิ หรอื หากเครอ่ื งถูกปิดใช้งานไวห้ รอื เรยี กขอรหัส
22 หากคุณมีอุปกรณ์เคร่ืองอื่นท่ีใช้ iOS 11 หรือใหม่กว่า ให้ใช้เริ่มต้นอย่างรวดเร็ว หากคณุ มอี ปุ กรณเ์ ครอื่ งอน่ื ที่ใช้ iOS 11 หรือใหมก่ วา่ คุณสามารถใช้อุปกรณ์เครอ่ื งน้ันเพ่ือตงั้ ค่าอปุ กรณเ์ คร่ือง ใหมข่ องคุณโดยอัตโนมัตดิ ว้ ยเรม่ิ ตน้ อย่างรวดเร็ว นำอุปกรณ์ท้งั สองเคร่ืองมาวางไว้ใกล้กัน จากนน้ั ทำตาม คำแนะนำ หากคุณไม่มอี ุปกรณ์เครอ่ื งอ่ืนทีใ่ ช้ iOS 11 หรือใหม่กว่า ให้แตะ \"ต้ังค่าด้วยตนเอง\" เพ่ือดำเนินการต่อ
23 เปิดใช้งานอุปกรณข์ องคุณ คุณต้องเชือ่ มตอ่ กบั เครือขา่ ย Wi-Fi เครอื ขา่ ยเซลลลู าร์ หรือ iTunes เพ่ือเปิดใช้งานและดำเนินการตง้ั ค่า อุปกรณ์ของคณุ ตอ่ ไป แตะเครือข่าย Wi-Fi ทค่ี ุณตอ้ งการใชห้ รอื เลือกตัวเลอื กอืน่ หากคุณกำลังต้งั คา่ iPhone หรอื iPad (Wi-Fi + Cellular) คณุ อาจตอ้ งใสซ่ ิมการด์ ของคณุ ก่อน ดูข้อมูลช่วยเหลือหากคณุ ไมส่ ามารถเชอื่ มตอ่ Wi-Fi ได้ หรือหากคณุ ไม่สามารถเปิดใชง้ าน iPhone ของคุณได้
24 ตัง้ คา่ Face ID หรอื Touch ID และสรา้ งรหัส บนอุปกรณ์บางเคร่ือง คุณสามารถตั้งค่า Face ID หรือ Touch ID ได้ เมอื่ ใชค้ ุณสมบัตเิ หลา่ นี้ คุณจะสามารถ ใชก้ ารจดจำใบหน้าหรือลายนิ้วมอื ของคุณเพื่อปลดล็อคอุปกรณแ์ ละทำการซ้ือได้ แตะดำเนินการตอ่ แล้วทำ ตามคำแนะนำ หรอื แตะ \"ตงั้ ค่าภายหลงั จากการตัง้ คา่ \" จากนน้ั ใหต้ ้งั ค่ารหสั หกหลักเพอ่ื ช่วยปกป้องข้อมูลของคุณ คณุ ต้องใช้รหสั เพื่อใช้คุณสมบัติตา่ ง ๆ อย่างเช่น Face ID, Touch ID และ Apple Pay หากคณุ ต้องการใชร้ หัสสห่ี ลัก รหสั แบบกำหนดเอง หรือไม่ใช้รหสั ให้ แตะ \"ตวั เลอื กรหสั \" กคู้ นื หรือถา่ ยโอนข้อมลู ตา่ ง ๆ ของคุณ หากคณุ มขี ้อมลู สำรอง iCloud หรอื iTunes หรอื อุปกรณ์ Android คณุ สามารถกู้คนื หรือถ่ายโอนขอ้ มูลจาก อุปกรณ์เครอ่ื งเก่าไปยังอปุ กรณเ์ คร่ืองใหม่ของคณุ ได้
25 หากคุณไม่มขี ้อมลู สำรองหรืออปุ กรณ์เคร่ืองอนื่ ใหเ้ ลือกไมโ่ อนแอพและข้อมูล
26 ลงช่ือเขา้ ใชด้ ว้ ย Apple ID ของคุณ ปอ้ น Apple ID และรหัสผา่ นของคุณ หรือแตะ \"ลืมรหัสผ่านหรอื ยงั ไมม่ ี Apple ID ใช่ไหม\" จากตรงจุดนั้น คณุ สามารถกคู้ นื Apple ID หรอื รหัสผา่ นของคุณ สรา้ ง Apple ID หรอื ตัง้ ค่าในภายหลงั ได้ หากคณุ ใช้ Apple ID มากกว่าหนึ่งบัญชี ให้แตะ \"ใช้ Apple ID ท่ีแตกต่างกนั สำหรบั iCloud และ iTunes หรอื ไม\"่ เมือ่ คุณลงชือ่ เข้าใชด้ ้วย Apple ID ระบบอาจขอรหสั การตรวจสอบยืนยนั จากอปุ กรณเ์ คร่ืองเกา่ ของคณุ เปิ ดรายการอพั เดทอตั โนมตั ิและต้งั ค่าคุณสมบตั ิอ่ืนๆ ในหนา้ จอถัดไป คุณสามารถตัดสินใจได้ว่าจะแชรข์ ้อมูลกับนักพฒั นาแอพและอนุญาตให้ iOS อัพเดทโดย อัตโนมัติหรอื ไม่
27 ตงั้ ค่า Siri และอปุ กรณ์เคร่ืองอ่ืน ตอ่ จากนั้น ระบบจะขอใหค้ ุณตง้ั คา่ หรือเปิดใช้บรกิ ารและคุณสมบตั ติ ่าง ๆ อย่างเชน่ Siri สำหรับอปุ กรณ์บาง รุน่ ระบบจะขอให้คณุ พูดวลีบางวลีเพือ่ ให้ Siri รูจ้ กั เสียงของคณุ หากคุณไดล้ งชื่อเข้าใชด้ ้วย Apple ID ของคณุ แลว้ ใหท้ ำตามขน้ั ตอนตา่ ง ๆ เพ่อื ต้ังคา่ Apple Pay และพวง กญุ แจ iCloud
28
29 ตง้ั ค่าเวลาหน้าจอและตวั เลือกจอแสดงผลเพมิ่ เติม เวลาหน้าจอจะชว่ ยให้คุณทราบขอ้ มูลอยา่ งละเอยี ดว่าคณุ และลกู ๆ ของคุณใชเ้ วลาเท่าไรบนอปุ กรณ์ คุณสมบัติ น้ยี งั ชว่ ยใหค้ ณุ สามารถจำกัดเวลาการใช้แอพในแตล่ ะวันได้อีกดว้ ย หลังจากคุณตั้งค่าเวลาหน้าจอแลว้ คณุ จะ สามารถเปิด True Tone ได้หากอุปกรณ์ของคุณรองรับ และใชก้ ารซมู น้าจอเพอื่ ปรับขนาดของไอคอนและ ข้อความบนหน้าจอโฮมของคุณได้ หากคณุ มี iPhone X หรอื ใหมก่ ว่า ให้ดูข้อมูลเพม่ิ เตมิ เกีย่ วกับการใชค้ ำส่ังน้ิวเพื่อไปยังส่วนต่าง ๆ ของ อปุ กรณ์ หากคุณมี iPhone 7, iPhone 7 Plus, iPhone 8 หรือ iPhone 8 Plus คณุ สามารถปรับการกด สำหรับปุ่มโฮมของคุณได้
30 การโทร โทรออก สำคัญ: หากต้องการใชแ้ อปโทรศพั ท์ คุณต้องยอมรบั ขอ้ ความทแี่ จง้ ให้ตง้ั คา่ แอปเปน็ ค่าเร่ิมต้น เปดิ แอปโทรศัพท์ในโทรศัพท์ โทรศัพท์ เลือกบุคคลท่ีจะโทรหา ดังนี้ แตะ \"แปน้ หมายเลข\" ปุ่มกด เพื่อป้อนหมายเลข แตะ \"รายชื่อตดิ ต่อ\" รายช่ือติดต่อ เพื่อเลือกรายชอื่ ติดตอ่ ท่ีบันทกึ ไว้ เราอาจแสดงรายชอื่ ตดิ ตอ่ ท่ีแนะนำใหค้ ุณ ตามประวตั ิการโทร แตะ \"ล่าสดุ \" ลา่ สดุ เพอ่ื เลือกจากหมายเลขทโ่ี ทรออกล่าสดุ แตะ \"รายการโปรด\" การโทรดว่ น เพ่อื เลือกจากรายชื่อตดิ ตอ่ ท่บี นั ทึกไว้ในรายการโปรด แตะโทร โทรศัพท์ แตะ \"วางสาย\" ปุม่ วางสาย เม่ือสนทนาเสร็จแลว้ หากหน้าต่างการโทรย่อขนาดลง ใหล้ ากไอคอนการโทรไปที่ ด้านขวาล่างของหน้าจอ เคล็ดลบั : สำหรบั ผู้ใหบ้ รกิ ารบางรายและอุปกรณ์บางรุ่น คุณจะโทรวดิ โี อคอลหรือโทรดว้ ย RTT ได้ด้วย ดูวิธี โทรวดิ ีโอคอลหรือโทรดว้ ย RTT
31 รบั สายหรอื ปฏเิ สธสายเรยี กเขา้ เม่ือรับสาย คุณจะเห็นหมายเลขผ้โู ทร รายชื่อตดิ ต่อ หรอื ข้อมลู หมายเลขผโู้ ทรหากมขี ้อมลู ดังกล่าว เม่อื ต้องการรบั สาย ให้เลอ่ื นวงกลมสีขาวไปทด่ี า้ นบนของหนา้ จอขณะทโ่ี ทรศพั ท์ล็อกอยู่ หรือแตะรบั สาย เมอ่ื ต้องการปฏิเสธสาย ใหเ้ ล่ือนวงกลมสีขาวไปทด่ี า้ นล่างของหน้าจอขณะท่ีโทรศัพทล์ ็อกอยู่ หรือแตะปิด ผู้ โทรทีถ่ กู ปฏิเสธสายจะฝากขอ้ ความไวไ้ ด้ เมื่อต้องการปฏิเสธสายและสง่ ข้อความถึงผู้โทร ให้เลื่อนขึ้นจากไอคอน \"ข้อความ\" ข้อความใหม่ เคลด็ ลับ: การรับสายเรยี กเขา้ ขณะสนทนาอยู่กับอีกสายหน่ึงจะเปน็ การพกั สายทสี่ นทนาอยู่ ใช้ตวั เลือกการโทรศพั ท์ ขณะสนทนาอยู่ จะมตี ัวเลอื กดงั นี้ เมื่อต้องการใช้ปุ่มกด ให้แตะ \"แป้นหมายเลข\" ป่มุ กด เมือ่ ต้องการสลบั ระหวา่ งหฟู ังโทรศพั ท์ ลำโพงโทรศัพท์ หรือชุดหฟู ังบลูทธู ที่เชื่อมต่ออยู่ ใหแ้ ตะ \"ลำโพง\" ลำโพง เมื่อต้องการปดิ หรือเปิดเสียงไมโครโฟน ใหแ้ ตะ \"ปิดเสยี ง\" ปิดเสยี ง เมอ่ื ต้องการหยุดการสนทนาไว้ช่วั คราวโดยไม่วางสาย ให้แตะ \"พักสาย\" พักสาย แตะ \"พักสาย\" อกี ครั้งเพ่ือ สนทนาตอ่ เมื่อต้องการสลบั ระหว่างสายท่สี นทนาอยู่ ให้แตะ \"สลับ\" สลบั สายท่ีเหลอื จะพกั ไว้ เม่อื ต้องการรวมสายที่สนทนาอยทู่ ้ังหมดเปน็ การประชมุ สาย ใหแ้ ตะ \"รวมสาย\" รวมสาย เมื่อต้องการย่อหน้าตา่ งการโทร ให้ไปทีห่ นา้ จอหลัก ดวู ธิ ีไปยงั สว่ นต่าง ๆ ของ โทรศพั ทเ์ ม่อื ต้องการยา้ ยตำแหน่งของบบั เบิลการโทร ให้ลากบบั เบลิ
32 เมอ่ื ต้องการซอ่ นบับเบิลการโทร ใหล้ ากบบั เบลิ ลงเพื่อ \"ซอ่ น\" ไว้ที่ดา้ นลา่ งของหน้าจอ สำหรบั ผ้ใู ห้บริการบางรายและอุปกรณบ์ างรุ่น คุณจะสลบั ไปโทรวิดีโอคอลได้ด้วย โดยแตะท่ี \"วิดโี อคอล\" วดิ โี อ คอล
33 การป้อนโทรศพั ท์ ส่งิ หนึ่งทท่ี ำให้หลายคนสบั สนเวลาจะเขียนได้อย่างไมน่ ่าเช่ือกค็ ือ \"หมายเลขโทรศัพท\"์ วนั น้ีเราจะไปเรยี นรู้ หลักการเขยี นเลขหมายโทรศัพท์บน เอกสารสำคัญ เชน่ นามบัตร โบชวั ร์ หรอื สื่อตา่ ง ๆ ว่าควรจะเขียน อย่างไร ให้ตรงถูกต้อง มีมาตรฐานอา้ งอิงได้ ซ่ึงถ้าคุณยงั เขียนเปน็ 02-xxx-xxxx หรือ (02) xxx xxxx ก็ถึงเวลา ต้องเปล่ียนแปลง คำอธิบายภาพ : pic5577b58a0cdcf การเขียนเลขหมายโทรศัพท์ที่เป็นไปในแนวทางเดียวกนั ประเทศไทยไดใ้ ชแ้ นวทางการเขียนเลขหมายโทรศัพท์ ตามมาตรฐานของสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศหรอื ITU เพอ่ื ให้เปน็ มาตรฐานเดียวกันทั่วโลกซงึ่ กม็ ี หลักการพจิ ารณาดงั น้ีครับ
34 การแบง่ กล่มุ ตัวเลขใหถ้ กู เลขหมายโทรศัพทใ์ นประเทศ ใหเ้ ขียนเลขศนู ยน์ ำหน้า ตามด้วยเลขหมาย 8 หลัก ซึ่งเป็นไปตามหลักของการ เขยี น Trunk prefix + Subscriber numbers เช่น 0 2345 6789 หรอื 0 5345 6789 เลขหมายโทรศัพทส์ ำหรบั ตดิ ต่อกับ ต่างประเทศ ให้เขียนรหัสประเทศตามดว้ ยเลขหมายโทรศัพท์ ซงึ่ เปน็ ไป ตามหลักของการเขยี น Country code + Subscriber numbers เชน่ +66 2345 6789 หรือ +66 5345 6789 หลายคนอาจจะมีปญั หากับการเขียนเลขหมาย ระบบใหม่ เพราะเคยชินกับระบบเดมิ อยู่ แตก่ อ่ นเราเขยี น (02) 345 6789 เพื่อแยกรหัสพ้นื ท่ี ออกจากเลขหมายโทรศัพท์ ในเมอื่ ระบบเลขหมาย 8 หลกั ไมม่ ีรหัสพื้นทแ่ี ลว้ การทเี่ รายังคงเขยี นเปน็ 02 345 6789 น้ันก็อาจทำใหเ้ ขา้ ใจผดิ ไปได้บ้าง แม้ว่าผลลพั ธข์ องการโทรน้ันไม่ แตกต่างกัน แต่ในการพูด คุณสามารถทจี่ ะบอกเบอร์โทรของคุณเปน็ “ศนู ยส์ อง สามสีห่ า้ หกเจ็ดแปดเก้า” ได้ เหมือนเดิม ก็ไมม่ ใี ครว่าอะไร ที่จรงิ แล้ว บ้านเรากไ็ มไ่ ด้ทำตามคำแนะนำของ ITU เสยี ทั้งหมด รปู แบบบางอย่างเรากย็ ังคงใชต้ ามนยิ มที่ทุก คนเข้าใจ เช่น การเขยี นเบอร์โทรทป่ี ระกอบดว้ ยหลายเลขหมาย (Multiple numbers) นน้ั มาตรฐาน ITU-T Recommendation E.123 แนะนำให้ใชเ้ คร่อื งหมายทบั (/) ระหวา่ งตวั เลข เชน่ เลขหมายท่ีไม่ตดิ กัน 0 2123 4567 / 3456 7890 / 4567 8901 เลขหมายที่ติดกัน สามารถย่อเป็น 0 2123 4567 / 8 / 9 แต่ เราแทบจะไม่เคยเห็นรูปแบบนใ้ี นประเทศไทยเลย ที่นยิ มใชแ้ ละเป็นท่เี ข้าใจกันโดยทั่วไป จะใช้เครื่องหมาย ขีด “-” ระหว่าง เลขหมายที่ติดกัน หรือค่ันด้วย “,” สำหรับเลขหมายที่ไม่ติดกัน เช่น เลขหมายตดิ กนั 0 2123 4567-9 หรอื 0 2123 4567-71 เลขหมายทไ่ี ม่ตดิ กนั 0 2134 4567, 0 2345 6789
35 มาตรฐาน ITU E.123 แนะนำใหม้ ีการแบ่งกลุ่มตวั เลขของหมายเลขโทรศัพท์ โดยใช้ สัญลักษณ์ช่องวา่ ง (Spacing symbols) เพื่อใหง้ ่ายต่อการจดจำและความสะดวกในการบอกกลา่ ว สญั ลักษณ์ทค่ี วรใช้ทสี่ ุดก็คือ ชอ่ งว่าง (space) หรือการเวน้ วรรค ไม่ควรใช้เคร่ืองหมายอ่ืนอย่างเช่น เครื่องหมายขดี “-” โดยเฉพาะเลข หมายระหว่างประเทศ เพราะอาจสร้างความสบั สนได้ โดยเฉพาะเม่ือนำไปใช้รวมกบั เลขหมายทีต่ อ่ เนอ่ื งกัน เชน่ 0-2123-4567-8 หรือ 0-2123-4567-70 ดว้ ยเหตนุ ้ี เราควรใช้ “ชอ่ งว่าง” ในการแบ่งกลมุ่ ตัวเลขเท่านัน้ ใครทเี่ คยเขียนเบอรโ์ ทรเปน็ 02-123-4567 นน้ั ก็ควรเปลี่ยนมาเขยี นเปน็ 0 2123 4567 ซงึ่ ถูกต้องกว่า เลกิ ใช้เครอ่ื งหมายวงเล็บ ( ) ไดแ้ ลว้ เครื่อง หมายวงเลบ็ ( ) นนั้ ใช้แสดงวา่ ตวั เลขท่อี ยู่ในวงเล็บนัน้ อาจไมจ่ ำเปน็ ต้องใช้ในการโทร ดังเชน่ รหัสพืน้ ที่ (02) สำหรบั กรงุ เทพฯและปริมณฑล ซึ่งแตก่ ่อนสามารถโทรถึงกันไดโ้ ดยไม่จำเปน็ ตอ้ งกดรหัส 02 กอ่ น เราจงึ สามารถเขียนเลขหมายเป็น (02) 123 4567 หรือ (053) 123 456 ได้ เพ่ือแสดงให้ทราบวา่ ถ้าอยู่ในพ้ืนที่ เดียวกันไมต่ ้องกดรหัสพืน้ ที่ แตห่ ลงั จากการเปลย่ี นระบบเลขหมายโทรศัพทจ์ าก 7 หลกั มาเปน็ 8 หลัก ทำให้ ในปจั จุบัน เราตอ้ งกดรหัสพ้ืนทก่ี ่อนเสมอ ดว้ ยเหตนุ ้ี เราจงึ ไม่ควรใชเ้ ครื่องหมายวงเล็บ ( ) ในเลขหมายโทรศัพท์ทงั้ ในประเทศและต่างประเทศ อีกต่อไป การใช้ +66 สำหรับเลขหมายระหว่างประเทศ (International number) เครอื่ ง หมายบวก “+” เปน็ International prefix symbol ที่ใชน้ ำหนา้ รหัสประเทศ และแสดงให้ทราบว่า เลขหมายโทรศัพท์ท่ตี ามมานั้นเป็นเบอร์โทรระหว่างประเทศ สำหรบั ตวั เลข “66” นั้นก็คอื รหัสประเทศ (Country code) ของไทยนั่นเอง ในการกดเบอร์โทรไปต่างประเทศดว้ ยเคร่ืองโทรศัพท์ธรรมดา เราไมต่ ้องกด เครอ่ื งหมาย
36 บวก “+” แต่ถา้ โทรออกด้วยโทรศพั ท์มอื ถอื เราถึงจะสามารถกดเครื่องหมายบวก “+” ไดจ้ ริง ๆ แตถ่ ้าเปน็ การโทร ระหวา่ งประเทศ เลข 0 ซ่งึ เป็น Trunk prefix นี้จะถูกละเวน้ ไป น่ันเป็นเหตผุ ลทเ่ี ราสามารถ เขียนเลขหมายโทรศัพท์สำหรับการโทรระหว่างประเทศ เป็น +66 2345 6789 และไม่ควรใช้เครอ่ื งหมาย วงเล็บ ( ) และเคร่ืองหมายขดี (-) ในเลขหมายโทรศัพท์ระหว่างประเทศ ซึ่งจะสร้างความสบั สนได้ง่าย หมายเลขตอ่ (ext.) สำหรับ เบอร์ตอ่ นั้น ITU แนะนำให้เขยี นโดยใช้คำว่า “ext.” ซงึ่ ย่อมาจาก extension ตามดว้ ยเลขหมาย เชน่ 0 2345 6789 ext. 1234 แต่ของไทยเราน้ันใช้คำวา่ “ต่อ” แทน จงึ เขียนได้เปน็ 0 2345 6789 ตอ่ 1234 บางทกี เ็ หน็ ใชเ้ ครอื่ งหมายชาร์ป (#) แทนอย่าง 0 2345 6789 # 1234 กเ็ ป็นทเี่ ขา้ ใจไดเ้ ช่นกัน
37 สรปุ แนวทางการเขยี นเลขหมายโทรศพั ท์ จาก หลกั การเขยี นเลขหมายโทรศพั ทส์ ำหรบั ส่ิงพิมพ์และส่ือตา่ ง ๆ ซงึ่ ไดแ้ ก่ การแบ่งกลุ่มตวั เลขให้ถกู ตอ้ ง การ ใชช้ อ่ งวา่ งแยกกลมุ่ ตวั เลข, การเลิกใชเ้ ครอื่ งหมายวงเลบ็ และการใช้ “+66” สำหรบั เลขหมายระหว่างประเทศ เราจึงมีแนวทางการเขยี นเบอร์โทรศัพท์ดงั น้ี เลขหมายโทรศัพท์ สำหรับโทรในประเทศ - เลิกใชว้ งเลบ็ ไม่ควรเขยี นว่า (02) 345 6789 เลิกใชเ้ คร่ืองหมายขีด (-) ไม่ควรเขียนว่า 02-345-6789 เลิกใชช้ อ่ งว่างรวมกบั เครื่องหมายขีด (-) ไม่ควรเขียนวา่ 02 345-6789 ใชช้ อ่ งว่างแยกกล่มุ ตัวเลข เขียนได้เปน็ 02 345 6789 แยกกลมุ่ ตัวเลขใหถ้ ูกตอ้ ง เขยี นได้เปน็ 0 2345 6789 เลขหมายโทรศัพท์สำหรับติดตอ่ กบั ต่างประเทศ ไมค่ วรเขยี น (662) 3456789 เพราะไม่ควรใช้วงเลบ็ และขาดเคร่ืองหมาย + ไม่ควรเขยี น +66 23 456789 เพราะแบง่ กลุ่มตวั เลขไม่เหมาะสม ไมค่ วรเขยี น +66(0) 23456789 เพราะไม่จำเปน็ ต้องมีเลข 0 ให้สบั สน ไมค่ วรเขยี น +66 (0) 2 345 6789 เพราะไมจ่ ำเปน็ ต้องมเี ลข 0 และยงั แบ่งกลุม่ ไมถ่ ูก ยิ่งทำให้ดูสับสน ไม่ควรเขยี น +66-2345-6789 เพราะไม่ควรใช้เครอ่ื งหมายขีด (-) ท่ที ำให้ดสู ับสนเมือ่ มีทั้งเคร่ืองหมายบวก (+) และลบ (-) อยรู่ ว่ มกัน ควรเขียนเป็น +66 2345 6789 ซงึ่ เรียบงา่ ย และเปน็ ท่ี เข้าใจในระดับสากลเลขหมายโทรศพั ทเ์ คล่อื นท่ี สำหรับติดต่อในประเทศ
38 ให้ เขยี นโดยแยก 08 ไว้ขา้ งหน้า เว้นวรรคด้วยชอ่ งวา่ ง ตามดว้ ยเลขอีก 4 ตัว เว้นวรรคดว้ ยชอ่ งว่าง แลว้ จงึ ตามด้วยเลขทเ่ี หลอื อีก 4 ตวั เช่น 08 1234 5678 ไม่ ควรเขยี นเปน็ (081)-234-5678, (081) 234 5678, (081) 234 5678, 081-234-5678, 081 234 5678, 08-1234-5678, (08) 1234 5678 เพราะไม่ควรใช้เครื่องหมายขดี (-) และวงเลบ็ ( ) ในเลขหมาย เน่อื ง จากเครอื่ งหมายขดี นน้ั อาจทำใหส้ ับสนเม่ือใช้กับเลขหมายทีต่ อ่ เนอ่ื งกนั ส่วนเคร่ืองหมายวงเลบ็ น้ัน มี ความหมายว่า ตัวเลขท่ีอยูใ่ นวงเล็บนน้ั ไม่จำเป็นต้องกด เม่ือโทรในพน้ื ท่ีเดียวกัน เลขหมายโทรศพั ทเ์ คล่ือนที่ สำหรบั ติดต่อกับต่างประเทศ ใหเ้ ขยี นแบบโดยแยก +668 ไว้ข้างหนา้ แล้วตามด้วยเลขอีก 8 ตัวซึ่งแบ่งกล่มุ ด้วยชอ่ งวา่ ง เช่น +668 1234 5678 โดยมเี ครื่องหมายบวก (+) นำหนา้ ตามด้วยรหสั ประเทศไทย ซึ่งก็คอื 66 พร้อมตัดเลข 0 ซงึ่ ไม่จำเป็น ในการโทรเขา้ จากตา่ งประเทศ ออกไป ไม่ควรเขียนเปน็ +66 (0) 8 1234 5678, +66 (08) 1234 5678, +6608 1234 5678, +66 08 1234 5678, +66-08-1234-5678 เนื่องจากมาตรฐาน ITU ไม่แนะนำให้ใช้เคร่ืองหมายขดี (-) และวงเล็บ ( ) ในเลขหมาย ระหวา่ งประเทศ
39 การอ้างอิง Electromagnetic fields and public health: mobile phones and their base stations. Who Fact sheet June 2000 Federal Communications Commission445 12th Street SW Washington, DC 20554 (Amphitheatre Parkway, 2563) (สวุ รรณโณ, 2558) (ยินดตี ้อนรับสู่ Android คมู่ อื สาหรับผ้เู ร่ิมต้นใช้งาน Android, ม.ป.ป.) (Maestri, ม.ป.ป.) (Corporation, ม.ป.ป.)
Search
Read the Text Version
- 1 - 43
Pages: