Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนแม่่บทรรทบอค่ายนารายณ์ศึกษา2565-2567

แผนแม่่บทรรทบอค่ายนารายณ์ศึกษา2565-2567

Published by จิตรเมธี สายสุ่ม, 2022-11-21 09:40:58

Description: แผนแม่่บทรรทบอค่ายนารายณ์ศึกษา2565-2567

Search

Read the Text Version

แผนแม่บทพฒั นาโรงเรยี น ๒๕๖๕ – ๒๕๖๗ รร.ทบอ.คา่ ยนารายณ์ศกึ ษา ๑

คาเห็นชอบ คณะกรรมการบรหิ ารโรงเรียนกองทัพบกอุปถมั ภ์ค่ายนารายณ์ศกึ ษา ไดพ้ จิ ารณาและมี มติเหน็ ชอบ แผนแมบ่ ทพัฒนาการศกึ ษา รร.ทบอ.คา่ ยนารายณศ์ กึ ษา ฉบบั ท่ี ๑ (ปีการศกึ ษา ๒๕๖๕ – ๒๕๖๗) ในการประชุมคณะกรรมการบริหารโรงเรยี นกองทพั บกอุปถมั ภค์ า่ ยนารายณ์ศึกษา เมอ่ื วนั ท่ี ๒๐ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๖๕ จงึ ลงลายมอื ชื่อประธานกรรมการฯ ไว้เป็นหลกั ฐาน พล.ท. (ณัฐวุฒิ นาคะนคร ) ประธานกรรมการบรหิ ารสถานศึกษา ๒ รร.ทบอ.คา่ ยนารายณศ์ ึกษา แผนแม่บทพัฒนาโรงเรียน ๒๕๖๕ – ๒๕๖๗

คานา แผนแม่บทโรงเรยี นกองทัพบกอุปถัมภ์ค่ายนารายณ์ศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖๕ – ๒๕๖๗” ฉบับน้ีมี วัตถปุ ระสงค์เพื่อใชเ้ ป็นแนวทางในการพฒั นาโรงเรยี นกองทัพบกอุปถมั ภ์ค่ายนารายณ์ศึกษา ให้สนองนโยบาย ของกระทรวงศึกษาธกิ ารตามกฎกระทรวง พ.ศ. ๒๕๖๑ ว่าด้วยระบบหลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพ การศึกษา โดยให้มีสานักงานศึกษาธิการจังหวัดลพบุรีเป็นหน่วยงานต้นสังกัดกากับการดูแลการประกัน คุณภาพการศกึ ษา หวงั เปน็ อยา่ งยง่ิ ว่าแผนแม่บทโรงเรียนกองทัพบกอุปถัมภ์ค่ายนารายณ์ศึกษาปีการศึกษา ๒๕๖๕-๒๕๖๗ ฉบบั นจี้ ะเป็นเครอื่ งมอื ในการบรหิ ารจดั การศึกษาเพือ่ พัฒนาคณุ ภาพการจดั การศึกษาของโรงเรียนกองทัพบก อุปถมั ภค์ า่ ยนารายณศ์ ึกษาให้เปน็ ไปตามทิศทางที่กาหนดส่งผลให้ผู้เรียนมีคุณภาพ เพ่ือพร้อมก้าวสู่สากลได้ อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ขอขอบคุณคณะครู คณะกรรมการบริหารสถานศึกษา คณะกรรมการท่ีปรึกษา ผู้แทนชุมชน ผู้แทน ผ้ปู กครองที่ไดใ้ ห้ความร่วมมือในการจดั ทาแผนแมบ่ ทฉบบั น้ีจนสาเร็จลุลว่ งไปได้ด้วยดี คณะกรรมการจดั ทาแผนแม่บท กนั ยายน ๒๕๖๕ แผนแมบ่ ทพัฒนาโรงเรยี น ๒๕๖๕ – ๒๕๖๗ รร.ทบอ.ค่ายนารายณศ์ กึ ษา ๓

สารบญั คาเหน็ ชอบคณะกรรมการบรหิ ารโรงเรียนกองทพั บกอปุ ถมั ภค์ ่ายนารายณศ์ ึกษา หน้า คานา สารบัญ ๒ ๓ ส่วนท่ี ๑ วสิ ยั ทศั น์ของโรงเรียน (Vision of School) ๔ ส่วนที่ ๒ พนั ธกิจของโรงเรียน (Mission of School) ๕ สว่ นที่ ๓ ยุทธศาสตร์ (Strategic) ๑๑ ๑๓ ยุทธศาสตรท์ ี่ ๑ การพฒั นาบุคลากร ๑๔ ยุทธศาสตรท์ ่ี ๒ การพฒั นาระบบการศกึ ษา ๑๖ ยุทธศาสตร์ท่ี ๓ การพฒั นาสอื่ การเรยี นรู้ ๑๘ ๑๙ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๔ การพฒั นาอาคารสถานทแ่ี ละสง่ิ อานวยความสะดวก ๒๑ ส่วนที่ ๔ ยทุ ธศาสตร์ กลยทุ ธ์ เปา้ หมาย ตัวชีว้ ัดความสาเรจ็ และโครงการ ๒๒ ๒๓ ๔.๑ แผนผงั แสดงการเชือ่ มโยงวสิ ยั ทศั น์ พนั ธกจิ และยทุ ธศาสตร์ ๒๘ ๔๖ ๔.๒ ความเชอื่ มโยงระหวา่ งวสิ ยั ทศั น์ พันธกจิ ยุทธศาสตร์ และกลยทุ ธ์ ๔๗ ๔.๓ ยทุ ธศาสตร์ กลยทุ ธ์ เปา้ หมาย ตัวช้วี ัดความสาเร็จ และโครงการ ๔๙ ส่วนที่ ๕ การกาหนดแผนการดาเนนิ งานและงบประมาณ ๕๙ ๖๒ หมวดที่ ๑ งบประมาณเรยี นฟรี ๑๕ ปีอยา่ งมีคุณภาพ ๖๔ หมวดท่ี ๒ งบประมาณเงินอุดหนุนคา่ จัดการเรียนการสอนจากรฐั บาล ๖๖ หมวดที่ ๓ งบประมาณเงินบรหิ ารค่าจัดการเรยี นการสอน ๖๗ หมวดท่ี ๔ งบประมาณเพิ่มเติมสาหรับการบรหิ ารจดั การศกึ ษา ส่วนที่ ๖ ภาคผนวก ๖๘ ๖๙ - ปฏทิ ินการปฏบิ ตั งิ านเพ่ือจัดเตรยี มทาแผนแมบ่ ทพฒั นาการศกึ ษาประจาปี การศึกษา ๒๕๖๕-๒๕๖๗ - ขน้ั ตอนและแนวทางการจดั ทาแผนแมบ่ ทพฒั นาการศกึ ษาประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๕-๒๕๖๗ - กระบวนการจดั ทาแผนแม่บทพฒั นาการศกึ ษาประจาปกี ารศึกษา๒๕๖๕-๒๕๖๗ - คาส่งั แตง่ ตั้งคณะกรรมการจดั ทาแผนแม่บทพฒั นาการศกึ ษาประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๕-๒๕๖๗ ๔ รร.ทบอ.ค่ายนารายณ์ศกึ ษา แผนแม่บทพฒั นาโรงเรียน ๒๕๖๕ – ๒๕๖๗

สว่ นท่ี ๑ วสิ ัยทศั นข์ องโรงเรยี น (Vision of School) แผนแมบ่ ทพัฒนาโรงเรยี น ๒๕๖๕ – ๒๕๖๗ รร.ทบอ.คา่ ยนารายณศ์ กึ ษา ๕

1สว่ นท่ี วสิ ยั ทศั นข์ องโรงเรยี น (Vision of School) ๑.๑ ประวัติของโรงเรียน โรงเรยี นกองทัพบกอุปถมั ภค์ ่ายนารายณ์ศกึ ษา ตงั้ อยู่ในบรเิ วณค่ายสมเด็จพระนารายณ์มหาราช เลขท่ี ๑๓๐ หมทู่ ี่ ๓ ถนนนารายณม์ หาราช ตาบลทะเลชุบศร อาเภอเมอื งลพบุรี จังหวัดลพบุรี มีฐานะเป็นโรงเรียน เอกชน (สมศ.รับรองมาตรฐานการศึกษา) สังกัด สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ ปัจจุบันข้ึนอยู่กับกลุ่มส่งเสริม การศึกษาเอกชน สานักงานศึกษาธิการจงั หวัดลพบรุ ี อยู่ ในความอุปถมั ภข์ องหนว่ ยบญั ชาการสงครามพเิ ศษ โรงเรียนกองทัพบกอุปถัมภ์ค่ายนารายณ์ศึกษา สถาปนาขึ้นเม่ือวันที่ ๒๒ เดือน เมษายน พุทธศักราช ๒๔๘๗ โดยพันโทเช่ือม ปายะนันท์ (ยศขณะนั้น) ผู้บัญชาการกองลูกมือ กรมจเรทหารราบ เพ่ือให้บุตร หลานของข้าราชการในกรมจเรทหารราบ ได้มีที่เรียน และตั้งช่ือโรงเรียนน้ีว่า “โรงเรียนค่ายนารายณ์ศึกษา” ทาการสอนในระดับอนุบาลตามหลักสูตรของ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร โดยใช้อักษรยอ่ วา่ “ค.น.” สถานทเี่ รียนใช้บ้านพักนายทหาร หน้าแผนกศึกษา กรมจเร ทหารราบ มีนักเรียนชาย ๓๐ คน นักเรียนหญิง ๔๐ คน ปัจจุบันโรงเรียนกองทัพบกอุปถัมภ์ค่ายนารายณ์ ศึกษา (Khai Narai Suksa Army Sponsors School) มีพลโท ณัฐวุฒิ นาคะนคร ผู้บัญชาการหน่วย บญั ชาการสงครามพิเศษ เป็นผรู้ ับใบอนญุ าต/ผ้จู ัดการโรงเรียน มพี ลตรี วัฒนา ฉตั รรตั นแสง รองผ้บู ญั ชาการ หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ เป็นรองผู้จัดการคนที่ ๑ และพลตรี เกรียงศักด์ิ ภัทรพงศ์สินธุ์ เป็นรอง ผู้จัดการคนที่ ๒ มีนางอัปสร สุรโชติ เป็นผู้อานวยการโรงเรียน และ นางสาวจิตรเมธี สายสุ่ม เป็นรอง ผู้อานวยการโรงเรียน เปิดสอนประเภท สามัญศึกษา ระดับช้ันเตรียมอนุบาล – ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ มี ห้องเรียน จานวน ๕๖ หอ้ งเรยี น มีนักเรียนจานวน ๑,๙๒๐ คน มีผู้บริหาร จานวน ๘ คน มีคณะครู จานวน ๗๐ คน มีบคุ ลากรทางการศกึ ษา จานวน ๑๓ คน มีพีเ่ ล้ียงนกั เรยี นระดับปฐมวัย จานวน ๑๒ คน มนี กั การภาร โรงและพนักงานขับรถ จานวน ๘ คน และมีทหารชว่ ยราชการ จานวน ๑๗ คน ๖ รร.ทบอ.ค่ายนารายณ์ศึกษา แผนแมบ่ ทพัฒนาโรงเรียน ๒๕๖๕ – ๒๕๖๗

๑.๒ วสิ ัยทัศน์ของโรงเรียน (Vision of School) “สร้างวินัยให้มั่นคง ดารงคุณธรรม มุ่งม่ันพัฒนาวิชาการ สืบสานวัฒนธรรมไทย ชุมชนให้การยอมรับ ขบั เคลอื่ นด้วยเทคโนโลยี” สรา้ งวินยั ให้ม่นั คง หมายถงึ การส่งเสริมให้นักเรียน ครู และบุคลากรปฏิบัติตนตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ขอ้ บังคับของครอบครวั โรงเรยี นและสังคม เป็นปกตวิ ิสัย ไมล่ ะเมดิ สทิ ธขิ องผู้อื่น ตรงต่อเวลาในการ ปฏบิ ัติกจิ กรรมตา่ ง ๆ ในชวี ิตประจาวนั และรบั ผิดชอบในการทางานท้งั สว่ นตวั และสว่ นรวม ดารงคณุ ธรรม หมายถงึ การสง่ เสรมิ ให้นกั เรยี น ครู และบุคลากร มีคณุ ธรรมขัน้ พ้ืนฐาน ๘ ประการ ไดแ้ ก่ ขยัน ประหยัด ซ่ือสัตย์ มีวนิ ยั สุภาพ สะอาด สามัคคี และมนี า้ ใจ มุ่งมน่ั พัฒนาวิชาการ หมายถงึ การขับเคล่ือนงานวิชาการของโรงเรียนโดยการพัฒนาผู้เรียน พัฒนาครู และบุคลากรไปสู่เป้าประสงค์ที่ชัดเจนโดดเด่น เป็นที่พึงพอใจและยอมรับของผู้ท่ีเก่ียวข้อง สามารถเป็น แบบอย่าง รวมทัง้ สามารถดารงคุณภาพไวไ้ ดอ้ ยา่ งยัง่ ยนื สืบสานวัฒนธรรมไทย หมายถึง อนุรักษ์ศิลปะ วัฒนธรรมไทย อนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม และ ดารงชวี ติ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ชุมชนใหก้ ารยอมรับ หมายถึง การเปดิ โอกาสให้ชมุ ชน เขา้ มารว่ มดาเนินกจิ กรรม ตง้ั แต่การศึกษาปัญหา การวางแผนดาเนนิ การ การตัดสนิ ใจ การแก้ไขปัญหา และการประเมินร่วมกัน เพือ่ ขบั เคล่ือนให้กิจกรรมของ โรงเรียนดาเนนิ ไปอย่างมีประสิทธภิ าพโดยยดึ หลักการมีสว่ นรว่ ม คอื หลักร่วมคิด ร่วมทา ร่วมตรวจสอบ และ ร่วมรบั ผิดชอบ ขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี หมายถึง การส่งเสริมให้นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีการใช้ อปุ กรณ์เทคโนโลยที ่ีทันสมัย มกี ารพัฒนานวัตกรรมเพ่อื นามาประยุกต์ใช้กับการทางาน การจัดการเรียนการ สอน รวมถึงมีพฤติกรรมและความรูท้ เี่ ท่าทนั ในการใชเ้ ทคโนโลยีไดอ้ ย่างถูกตอ้ งเหมาะสม แผนแมบ่ ทพฒั นาโรงเรยี น ๒๕๖๕ – ๒๕๖๗ รร.ทบอ.ค่ายนารายณศ์ กึ ษา ๗

๑.๓ นโยบายของโรงเรยี น เปา้ หมายในการจัดการศกึ ษาของโรงเรยี นกองทพั บกอุปถัมภ์คา่ ยนารายณ์ศึกษาเพ่ือให้ “โรงเรียนเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้ทท่ี ันสมยั และนกั เรียนเปน็ ผมู้ วี นิ ัย ใฝ่เรียนรู้ และมีคุณธรรม” ดังนั้นเพื่อให้เป็นไปตาม เป้าหมายดงั กล่าว โรงเรยี นจึงกาหนดนโยบายของโรงเรียนดังนี้ ๑. จดั การศึกษาทกุ ระดับ ทุกประเภท โดยใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ รวมทั้งแนวทางการ จดั การเรียนรู้เชิงรุก และการวดั ผลและประเมินผลเพอ่ื พัฒนาผเู้ รียนที่สอดคลอ้ งกับมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ ๒. ปรับปรงุ หลักสูตรและกระบวนการเรยี นร้ใู หท้ นั สมยั และทันตอ่ การเปลย่ี นแปลงของโลกในศตวรรษที่ ๒๑ ๓. ส่งเสรมิ การพัฒนากรอบหลกั สูตรระดับทอ้ งถิ่นและหลักสูตรสถานศกึ ษา ๔. พฒั นาผเู้ รยี นให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์ สามารถแก้ไขสถานการณ์เฉพาะหน้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยจัดการ เรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) จากประสบการณ์จริงหรือจากสถานการณ์จาลองผ่านการลงมือปฏิบัติ ตลอดจน จัดการเรียนการสอนในเชิงแสดงความคดิ เหน็ เพอ่ื เปิดโลกทัศนม์ มุ มองร่วมกนั ของผูเ้ รียนและครใู ห้มากขนึ้ ๕. พัฒนาผู้เรียนให้มีความรอบรู้และมีทักษะชีวิต เพื่อเป็นเคร่ืองมือในการดารงชีวิตและสร้างอาชีพ เช่น การใช้ เทคโนโลยีดิจทิ ัล มสี ขุ ภาวะและทัศนคติทดี่ ตี อ่ การดแู ลสขุ ภาพ ๖. พฒั นาครูให้มที ักษะ ความรู้ และความชานาญในการใชเ้ ทคโนโลยีดิจิทัล ปัญญาประดิษฐ์ และภาษาอังกฤษ รวมท้ัง การจัดการเรียนการสอนเพื่อฝกึ ทกั ษะการคิดวเิ คราะหอ์ ย่างเป็นระบบและมีเหตุผล ๗. พัฒนาครูทุกระดับใหม้ ีทักษะความรู้ที่จาเป็น เพอ่ื ทาหน้าทีค่ รูมอื อาชพี (Professional Teachers) ๘. ส่งเสริมใหใ้ ช้ภาษาต่างประเทศร่วมกบั ภาษาไทยในการจัดการเรยี นการสอนเพอ่ื วางรากฐานใหผ้ ู้เรียนมีพัฒนาการดา้ น การคิดวเิ คราะห์ รวมทั้งมที ักษะการส่อื สารและใช้ภาษาในการต่อยอดการเรียนรไู้ ด้อยา่ งมีประสิทธิภาพ ๙. ปลกู ฝงั ผู้เรยี นใหม้ หี ลักคิดที่ถูกต้องด้านคุณธรรม จริยธรรม และเป็นผู้มีความพอเพียง มีวินัย สุจริต จิต อาสา โดยกระบวนการลูกเสอื และยวุ กาชาด ๑๐. พัฒนาแพลตฟอรม์ ดิจิทัลเพื่อการเรยี นรู้ และใช้ดจิ ิทลั เปน็ เครอื่ งมอื การเรียนรู้ ๑๑. เสรมิ สร้างการรบั รู้ ความเขา้ ใจ ความตระหนัก และส่งเสรมิ คุณลกั ษณะและพฤตกิ รรมทพ่ี ึงประสงค์ ๑๒. ส่งเสริมการพัฒนาส่ิงประดิษฐ์และนวัตกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ให้สามารถเป็นอาชีพและสร้าง รายได้ ๑๓. สนับสนุนกิจกรรมการปอ้ งกนั และปราบปราม การทจุ รติ ประพฤตมิ ิชอบ และสง่ิ เสพติด ๘ รร.ทบอ.คา่ ยนารายณ์ศึกษา แผนแม่บทพฒั นาโรงเรียน ๒๕๖๕ – ๒๕๖๗

๑.๔ โครงสร้างการบรหิ ารงานของโรงเรียน แผนแม่บทพฒั นาโรงเรียน ๒๕๖๕ – ๒๕๖๗ รร.ทบอ.ค่ายนารายณศ์ ึกษา ๙

๑.๕ ข้อมูลครู บคุ ลากร และนกั เรียน ๑.๕.๑ จานวนครแู ละบุคลากรทางการศึกษา บคุ ลากร จานวน ๑ บรหิ าร ๑๒ ๒ ครผู ู้สอนระดับปฐมวยั ๑๐ ๓ ครผู ู้สอนระดบั ประถมศึกษา ๓๐ ๔ ครผู ู้สอนระดบั มธั ยมศกึ ษา ๒๙ ๕ บุคลากรทางการศึกษา ๑๕ ๑๒ ๖ พเ่ี ล้ยี งระดับปฐมวัย ๘ ๗ นักการภารโรง/พนักงานขับรถ ๑๙ ๑๓๕ ๘ ทหารชว่ ยราชการ รวมทงั้ สน้ิ ๑.๕.๒ ข้อมูลจานวนนักเรยี น (ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ -๒๕๖๕) จานวนนักเรียน จานวนห้องเรียน ปกี ารศึกษา ปีการศึกษา ปีการศึกษา ชัน้ เรยี น ปกี ารศกึ ษา ปีการศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ เตรยี มอนบุ าล ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ ๑๑๑ อนุบาล ๑ ๓๓๓ อนุบาล ๒ ๑๙ ๑๕ ๙ ๔๓๓ อนบุ าล ๓ ๓๔๔ ๖๒ ๕๙ ๖๖ ๑๑ ๑๑ ๑๑ รวม ๔๓๔ ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๑ ๙๘ ๑๐๐ ๘๑ ๔๔๓ ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๒ ๔๔๔ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๓ ๘๙ ๑๐๐ ๑๐๔ ๓๔๔ ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๔ ๓๓๔ ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๕ ๒๔๙ ๒๗๔ ๒๖๐ ๔๓๓ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๖ ๒๒ ๒๒ ๒๒ ๑๓๘ ๙๙ ๑๒๘ ๘๘๗ รวม ๙๘๘ ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี ๑ ๑๓๓ ๑๓๕ ๑๐๓ ๗๙๘ ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๒๔ ๒๕ ๒๓ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ ๓ ๑๕๘ ๑๓๖ ๑๓๑ ๕๗ ๕๗ ๕๖ รวม ๑๓๓ ๑๓๓ ๑๔๕ รวมทั้งสิน้ ๑๔๔ ๑๖๓ ๑๗๒ ๑๕๓ ๑๔๖ ๑๓๓ ๘๓๙ ๘๐๐ ๘๑๒ ๒๙๔ ๒๙๗ ๒๖๒ ๓๕๘ ๒๘๕ ๒๙๙ ๒๘๙ ๓๕๘ ๒๘๗ ๙๔๑ ๙๘๐ ๘๔๘ ๒,๐๒๙ ๒,๐๑๔ ๑,๙๒๐ ๑๐ รร.ทบอ.คา่ ยนารายณ์ศึกษา แผนแมบ่ ทพัฒนาโรงเรียน ๒๕๖๕ – ๒๕๖๗

สว่ นที่ ๒ พันธกจิ ของโรงเรียน (Mission of School) แผนแมบ่ ทพฒั นาโรงเรียน ๒๕๖๕ – ๒๕๖๗ รร.ทบอ.คา่ ยนารายณศ์ กึ ษา ๑๑

2สว่ นที่ พนั ธกจิ ของโรงเรยี น (Mission of School) ๒.๑ พันธกิจของโรงเรียน (Mission of School) ๑) พัฒนาผู้เรียนให้มีระเบียบวินัย มีคุณธรรม จริยธรรม มีความพอเพียง มีความซื่อสัตย์สุจริต มีจิต อาสา และมีคุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ตามเกณฑ์ทโี่ รงเรยี นกาหนด ๒) พฒั นาผ้เู รยี นใหม้ ีความสามารถทางวชิ าการและยกระดับนักเรยี นสู่ความเปน็ สากล ๓) พัฒนาผูเ้ รยี นสามารถใช้ภาษาอังกฤษและภาษาจีนในการสอ่ื สาร และใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) ในการเรียนรูไ้ ดต้ ามศกั ยภาพ ๔) พัฒนาครใู ห้สามารถจดั การเรยี นการสอนแบบเชิงรุก (Active Learning) ท่ีเน้นการลงมอื ปฏบิ ัตแิ ละ เน้นผเู้ รียนเป็นสาคญั เพอ่ื กระตุ้นให้เกดิ กระบวนการคิดข้นั สูง ๕) พฒั นาบคุ ลากรใหม้ ีความคิดรเิ ร่มิ สร้างสรรค์ มีทักษะในเรอื่ งสารสนเทศ ส่ือ เทคโนโลยี และดิจิทัล (Digital Literacy Skills) คิดเปน็ แก้ปัญหาเปน็ และทางานร่วมกับผอู้ ่ืนได้ ๖) พัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ (Child Center) โดยจัดการเรียนรู้ แบบActive Learning ด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการสร้างสรรค์ทางปัญญา (Constructivism) ท่ีเนน้ กระบวนการเรียนรู้มากกว่าเน้ือหาวิชา เพื่อช่วยให้ผู้เรียนสามารถเช่ือมโยงความรู้ หรอื สรา้ งความรูใ้ หเ้ กดิ ขึ้นในตนเอง ดว้ ยการลงมือปฏิบัตจิ รงิ ผ่านสอื่ หรอื กิจกรรมการเรยี นรทู้ ่มี คี รผู ู้สอนเป็นผู้ แนะนา ๗) พฒั นาสื่อการเรยี นรู้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง โดยสนับสนุนการพัฒนาสื่อให้สัมพันธ์ กับเนอื้ หาบทเรยี นและจดุ มงุ่ หมายที่สอน มีเนื้อหาถูกต้อง ทันสมัย น่าสนใจ ส่งผลต่อการเรียน เหมาะกับวัย ระดบั ชน้ั ความรูแ้ ละประสบการณ์ของผ้เู รียน และมีราคาไม่แพงเกนิ ไป ๘) พฒั นาระบบเครือขา่ ยความร่วมมอื กับผู้ปกครอง ชุมชน ศิษย์เก่า และองค์กรต่าง ๆ ในการพัฒนา การศกึ ษา ๙) พัฒนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อสนบั สนนุ การบริหารจดั การและการจดั การเรียนรู้ ๑๐) พฒั นาอาคารสถานท่แี ละสง่ิ อานวยความสะดวกให้เออื้ ตอ่ การจดั การเรียนรู้อยา่ งมคี ณุ ภาพ ๑๒ รร.ทบอ.คา่ ยนารายณศ์ กึ ษา แผนแม่บทพัฒนาโรงเรยี น ๒๕๖๕ – ๒๕๖๗

สว่ นท่ี ๓ ยทุ ธศาสตร์ (Strategic) แผนแม่บทพฒั นาโรงเรยี น ๒๕๖๕ – ๒๕๖๗ รร.ทบอ.ค่ายนารายณศ์ ึกษา ๑๓

3สว่ นที่ ยทุ ธศาสตร์ (Strategic) ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๑ การพัฒนาบคุ ลากร กลยุทธ์ที่ ๑ การพฒั นาครู กลยทุ ธ์ท่ี ๒ การพัฒนานกั เรยี น กรอบประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์ กรอบประเดน็ ยุทธศาสตร์ ๑. การพัฒนาบคุ ลากร พัฒนาครใู ห้มีทักษะ C-Teacher ดงั น้ี กลยุทธ์ท่ี ๑ การพัฒนาครู ๑. Content: มีความรแู้ ละทกั ษะในเรอ่ื งท่สี อนเป็นอยา่ งดี ๒. Computer & ICT: มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีช่วยในการ จดั การเรียนการสอนเป็นอยา่ งดี ๓. Constructionist: สามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ให้ นักเรียนสามารถสรา้ งองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง โดยการเชื่อมโยง ความรู้เดิมที่มีอยู่เข้ากับความรู้และประสบการณ์ใหม่ๆ ท่ีได้รับ และได้จากการลงมือปฏบิ ัติ ๔. Connectivity: สามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างนักเรียน กบั นักเรยี น นกั เรยี นกับครู ครกู ับครู ครกู บั ผปู้ กครอง และครูกับ ชมุ ชน/องคก์ รภายนอก เพ่ือการจดั การเรยี นรู้ให้แก่นกั เรียน ๕. Collaboration: สามารถจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือระหว่าง ผู้เรียนกบั ผ้เู รียน และระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน เพ่ือฝึกทักษะการ ทางานเป็นทีม การเรียนรู้ด้วยตนเอง การแลกเปล่ียนความ คิดเห็นและสารสนเทศระหว่างกัน ซึ่งจะส่งผลต่อการพัฒนา ผูเ้ รียนในดา้ นทักษะอาชพี และทกั ษะชีวิต ๖. Communication: มีทักษะการสื่อสาร ท้ังการบรรยาย การ ยกตัวอย่าง การเลือกใช้สื่อ การนาเสนอ รวมถึงการจัด สภาพแวดล้อม ให้เอ้ือต่อการเรียนรู้ เพื่อถ่ายทอดความรู้ให้แก่ ผู้เรยี นได้อยา่ งเหมาะสม ๗. Creativity: มีทักษะการสร้างสรรคก์ จิ กรรรมการเรียนการสอนท่ี หลากหลายและแปลกใหม่ใหเ้ อื้อต่อการเรียนร้ขู องนักเรียน ๘. Caring: มีมุทิตาจิตต่อนักเรียน แสดงออกถึงความรัก ความ ห่วงใยอย่างจริงใจต่อนักเรียน เพื่อให้นักเรียนเกิดความเช่ือใจ ส่งผลต่อการจัดสภาพการเรียนรู้ทาให้รู้สึกผ่อนคลาย ซ่ึงเป็น สภาพท่ีนกั เรยี นจะมคี วามสุขในการเรยี นรู้ ๑๔ รร.ทบอ.คา่ ยนารายณศ์ ึกษา แผนแมบ่ ทพฒั นาโรงเรียน ๒๕๖๕ – ๒๕๖๗

ยุทธศาสตร์ กรอบประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ กลยทุ ธ์ที่ ๒ การพัฒนานักเรยี น พฒั นาผู้เรยี นให้มีทักษะ 3Rs 8Cs ดังนี้ - 3Rs ประกอบดว้ ย ๑) Reading คอื การอา่ นออก ๒) Writing คอื การเขยี นได้ ๓) Arithmetic คอื การคิดเลขเป็น - 8Cs ประกอบดว้ ย ๑) Critical Thinking & Problem Solving คือ ทักษะด้าน การคดิ อย่างมวี ิจารณญาณ และทกั ษะในการแกป้ ญั หา ๒) Creativity & Innovation คือ ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวตั กรรม ๓) Cross-cultural Understanding คือ ทักษะด้านความ เข้าใจตา่ งวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ ๔) Collaboration, Teamwork & Leadership คือ ทักษะ ด้านความร่วมมือ การทางานเป็นทีม และภาวะผู้นา ๕) Communications Information & Media Literacy คอื ทักษะด้านการสือ่ สารและการรูเ้ ทา่ ทันสื่อ ๖) Computing & ICT Literacy คือ ทักษะด้าน คอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศ ๗) Career & Learning Skills คือ ทักษะอาชีพและทักษะ การเรียนรู้ ๘) Compassion คอื ความมีวนิ ยั คุณธรรม จริยธรรม แผนแม่บทพฒั นาโรงเรยี น ๒๕๖๕ – ๒๕๖๗ รร.ทบอ.ค่ายนารายณ์ศึกษา ๑๕

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๒ การพฒั นาระบบการศึกษา กลยุทธท์ ่ี ๑ การพัฒนาระบบการศกึ ษาเชงิ รุก (Active Learning) กลยุทธท์ ี่ ๒ การพัฒนาระบบการศกึ ษาแบบสร้างสรรค์ทางปัญญา (Constructivism) กรอบประเด็นยุทธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์ กรอบประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ ๒. การพฒั นาระบบการศกึ ษา การจัดการเรยี นรู้แบบเชงิ รกุ (Active Learning) มีลักษณะดงั นี้ กลยทุ ธท์ ่ี ๑ จัดการเรยี นรแู้ บบเชิงรกุ ๑) จัดการเรียนรทู้ ่ีพัฒนาศักยภาพทางสมอง ได้แก่ การคิด การ (Active Learning) แกป้ ญั หาและการนาความรู้ไปประยกุ ต์ใช้ ๒) จดั การเรยี นรทู้ ่ีเปดิ โอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการ เรียนรสู้ งู สดุ ๓) จดั ให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้และจัดกระบวนการเรียนรู้ด้วย ตนเอง ๔) จัดให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ทั้งในด้านการสร้างองค์ ความรูก้ ารสร้างปฏิสัมพันธ์ ร่วมกัน สร้างร่วมมือกันมากกว่า การแข่งขนั ๕) จัดใหผ้ ูเ้ รียนเรียนร้เู ร่ืองความรับผิดชอบร่วมกัน การมีวินัยใน การทางานและการแบ่งหน้าท่ี ความรับผิดชอบในภารกิจ ต่างๆ ๖) จัดกระบวนการเรียนท่สี ร้างสถานการณใ์ ห้ผ้เู รียนอ่าน พูด ฟัง คิดอยา่ งลุม่ ลกึ ผู้เรียนจะเปน็ ผจู้ ดั ระบบการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง ๗) จดั กจิ กรรมการจดั การเรยี นรทู้ เ่ี นน้ ทักษะการคิดขัน้ สูง ๘) จัดกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนบูรณาการข้อมูล ข่าวสาร หรือสารสนเทศและหลกั การ ความคิดรวบยอด ๙) ผู้สอนจะเป็นผู้อานวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรยี นเป็นผูป้ ฏิบัติดว้ ยตนเอง ๑๐) จัดกระบวนการสร้างความรู้ที่เกิดจากประสบการณ์ การ สรา้ งองคค์ วามรู้และการสรปุ ทบทวนของผ้เู รยี น ๑๖ รร.ทบอ.ค่ายนารายณศ์ ึกษา แผนแมบ่ ทพัฒนาโรงเรยี น ๒๕๖๕ – ๒๕๖๗

กลยทุ ธท์ ่ี ๒ ยุทธศาสตร์ กรอบประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ จัดการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์ด้วย การจัดการศึกษาแบบสร้างสรรค์ทางปัญญา (Constructivism) ท่ี ปญั ญา(Constructionism) เน้นกระบวนการเรียนรู้มากกว่าเน้ือหาวิชา เพื่อช่วยให้ผู้เรียน สามารถเช่ือมโยงความรู้ หรือสร้างความรู้ให้เกิดข้ึนในตนเอง ด้วย การลงมือปฏิบัติจริงผ่านสื่อหรือกิจกรรมการเรียนรู้ โดยมีครูเป็นผู้ แนะนา กระตุ้น หรืออานวยความสะดวก มีลักษณะการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ดงั นี้ ๑) นักเรียนได้สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง โดยให้ผู้เรียนลงมือ ประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเองหรือได้ปฏิสัมพันธ์ กับสง่ิ แวดล้อมภายนอกทม่ี คี วามหมายการเรียนรู้จะได้ผลดี ถ้าหากผู้เรียนเข้าใจในตนเอง มองเห็นความสาคัญในส่ิงที่ เรียนรู้และสามารถเชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความรู้เก่า รู้ว่า ตนเองไดเ้ รยี นร้อู ะไรบา้ งและสรา้ งเป็นองคค์ วามรู้ใหมข่ ึ้นมา ๒) นักเรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ โดยครูควรพยายามจัด บรรยากาศการเรียนการสอนท่ีเปิดโอกาสให้ผู้เรียนลงมือ ปฏบิ ัติกิจกรรมการเรียนด้วยตนเอง โดยมีทางเลือกในการ เรียนรู้ท่ีหลากหลาย สามารถเชื่อมโยงความรู้ระหว่าง ความรใู้ หมก่ บั ความรู้เกา่ ได้ ๓) นักเรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์และสิ่งแวดล้อม ห ลั ก ก า ร น้ี ชี้ ใ ห้ เ ห็ น ค ว า ม ส า คั ญ ข อ ง ก า ร เ รี ย น รู้ ร่ ว ม กั น (Social Value) ทาให้ผู้เรียนเห็นว่าเป็นแหล่งความรู้อีก แหล่งหนึง่ ทส่ี าคญั และสามารถแลกเปลี่ยนความรู้กันได้ ซ่ึง เมือ่ นักเรียนจบการศึกษาก็จะปรับตัวได้ง่ายข้ึนและทางาน ร่วมกบั ผู้อ่ืนไดเ้ ป็นอย่างดีและมปี ระสิทธภิ าพ ๔) นักเรียนใชเ้ ทคโนโลยีเป็นเครอื่ งมอื การรูจ้ กั แสวงหาคาตอบ จากแหลง่ ความร้ตู ่างๆ ด้วยตนเองเป็นผลให้เกิดพฤติกรรม ท่ีฝังแน่น เมื่อผู้เรียนสามารถเรียนรู้ว่าจะเรียนรู้ได้อย่างไร (Learn How to Learn) แผนแม่บทพฒั นาโรงเรียน ๒๕๖๕ – ๒๕๖๗ รร.ทบอ.ค่ายนารายณศ์ กึ ษา ๑๗

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๓ การพัฒนาส่อื การเรยี นรู้ กลยุทธ์ท่ี ๑ การจัดเครือ่ งมือและอุปกรณส์ นับสนนุ การเรียนรู้ (Hardware) กลยุทธท์ ่ี ๒ การจัดวสั ดุ โปรแกรม หรือแอปพลิเคชนั สนบั สนนุ การเรยี นรู้ (Software) กลยทุ ธ์ที่ ๓ การใช้เทคนคิ หรอื วิธีการสนบั สนนุ การเรยี นรู้ (Techniques or Methods) กรอบประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ กรอบประเด็นยุทธศาสตร์ ๓. การพฒั นาส่อื การเรยี นรู้ กลยทุ ธ์ที่ ๑ การจดั เคร่ืองมอื และอุปกรณ์ ส่อื ท่ีเป็นเครอ่ื งมอื และอุปกรณ์สนับสนุนการเรียนรู้ (Hardware) สนบั สนุนการเรยี นรู้ (Hardware) หมายถึง ส่ิงท่ีเป็น อุปกรณ์ทางเทคนิคทั้งหลายที่ประกอบด้วย กลไกไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งไม่ใช่ส่ิงส้ินเปลืองเช่น เครื่อง ฉายภาพยนตร์เครอ่ื งฉายสไลด์ เครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ เครื่อง กลยทุ ธ์ที่ ๒ การจดั วัสดุ โปรแกรม หรือ ฉายภาพจากคอมพิวเตอร์ เครอ่ื งรับโทรทัศน์ เครื่องเล่นซีดี/ดีวีดี เครอ่ื งเสยี ง และ เครื่องคอมพวิ เตอร์ เปน็ ตน้ สื่อทเ่ี ป็นวัสดุ โปรแกรม หรอื แอปพลิเคชัน (Software) สนับสนุน แอปพลเิ คชันสนับสนุนการเรียนรู้ การเรยี นรู้ ประกอบด้วย (Software) ๑) สื่อวัสดุท่ีต้องใช้ Hardware ในการนาเสนอ เช่น ฟิล์ม แผ่นใส เทปบันทึกเสียง แผ่นซีดี/ดีวีดี และอุปกรณ์บันทึก ข้อมลู คอมพวิ เตอรใ์ ห้เพยี งพอตอ่ การจดั การเรียนการสอน ๒) สอ่ื วสั ดุทีไ่ มต่ อ้ งใช้ Hardware ในการนาเสนอ เช่น เอกสาร ประกอบการเรียน ตารา หนังสือ คู่มือ รูปภาพ แผนภาพ ของจริง ของตวั อย่าง หุน่ จาลอง เปน็ ตน้ กลยทุ ธ์ท่ี ๓ การใช้เทคนคิ หรือวิธีการสนบั สนุน สื่อทเ่ี ป็นเทคนิคหรอื วิธกี ารสนบั สนนุ การเรยี นรู้ (Techniques การเรียนรู้ (Techniques or or Methods) หมายถงึ สื่อท่ีตอ้ งอาศยั เทคนิคหรือวิธกี าร เพื่อ Methods) การให้เกิดการเรยี นรู้ หรือใชท้ ั้งวัสดุอุปกรณ์และวิธกี ารไปพรอ้ มๆ กัน แตเ่ นน้ ที่วิธีการเป็นสาคญั เช่น การสาธติ ประกอบการใช้ เครอื่ งมือเคร่ืองจกั ร การทดลอง การแสดงบทบาท การศึกษา นอกสถานท่ี การจัดนิทรรศการ เปน็ ต้น หลกั การพฒั นาส่อื การเรยี นรู้ ๑) สื่อตอ้ งสัมพนั ธก์ บั เนอ้ื หาบทเรยี นและจดุ มุง่ หมายทส่ี อน ๒) สื่อตอ้ งมเี นื้อหาถกู ต้อง ทนั สมยั นา่ สนใจ และเปน็ สอ่ื ทสี่ ่งผล ตอ่ การเรยี นมากท่ีสุด ๓) สอ่ื ต้องเหมาะกับวยั ระดบั ช้ัน ความรู้ และประสบการณ์ของ ผเู้ รียน ๔) สอื่ ต้องมีราคาไม่แพงเกินไป หรอื ถ้าจะผลิตควรคมุ กบั เวลาและ การลงทุน ๑๘ รร.ทบอ.ค่ายนารายณศ์ ึกษา แผนแม่บทพัฒนาโรงเรียน ๒๕๖๕ – ๒๕๖๗

ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๔ การพัฒนาอาคารสถานที่และส่งิ อานวยความสะดวก กลยทุ ธท์ ี่ ๑ การสร้างและดแู ลอาคารสถานท่ี กลยทุ ธท์ ี่ ๒ การจดั หาดูแลรกั ษาเครือ่ งมอื และส่งิ อานวยความสะดวก กลยุทธ์ท่ี ๓ การรกั ษาความปลอดภยั กรอบประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์ กรอบประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ ๔. การพฒั นาอาคารสถานท่ีและสิ่งอานวยความสะดวก การพัฒนาอาคารสถานที่และส่ิงอานวยความสะดวก ๓ งาน ดังน้ี กลยุทธท์ ี่ ๑ การสร้างและดแู ลอาคารสถานที่ ๑) การสรา้ งและดแู ลอาคารสถานที่ - การดาเนินการเกี่ยวกับอาคารเรียน/ห้องเรียน/ห้องพักครู/ หอ้ งปฏิบัติกิจกรรมเฉพาะ ได้แก่ การออกแบบ การก่อสร้าง การปรับปรุงอาคารสถานท่ี และการปรับปรุงสาธารณูปโภค เช่น ถนน ลานจอดรถ ระบบการระบายนา้ สงิ่ กอ่ สรา้ ง - งานซ่อมบารุงและรักษาอาคาร ได้แก่การดูแลรักษาอายุการ ใชง้ านของอาคารสถานที่ ซอ่ มแซมงานระบบภายใน-ภายนอก อาคารสถานท่ี ตรวจเช็คความเรียบร้อยอาคาร รักษาสภาพ อาคารให้มีสภาพเหมาะสมพร้อมใช้งาน ซ่อมแซมระบบ ประปา/ไฟฟ้า เคร่ืองปรับอากาศ ระบบภายในอาคาร ถนน และควบคมุ ดแู ลงานรกั ษาความสะอาดของสถานศึกษา - การดาเนินการเกีย่ วกบั ภมู ทิ ัศน์และสภาพแวดล้อมได้แก่ การ ปรบั ปรุงสภาพแวดลอ้ มให้เกิดความสะอาด สวยงาม ดูแลตัด แต่งสนามหญ้าและต้นไม้ จัดตกแต่งไม้ดอกไม้ประดับดูแล จัดการงานเพาะชา ขยายพันธ์ุไม้เพื่อสนับสนุนกิจกรรมและ ปรับปรุงภูมิทัศน์เพ่ือความร่มร่ืนของโรงเรียนงานปลูกป่า จัดการเครอื่ งมือเครอื่ งจกั รทใี่ ช้ในงานปรับปรุงภมู ิทัศน์ - การจัดการขยะมูลฝอย ดูแลการจัดเก็บและกาจัดขยะ ดูแล การจา้ งเหมาสบู ส่ิงปฏิกูล แผนแมบ่ ทพฒั นาโรงเรยี น ๒๕๖๕ – ๒๕๖๗ รร.ทบอ.ค่ายนารายณศ์ ึกษา ๑๙

ยทุ ธศาสตร์ กรอบประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ กลยทุ ธ์ท่ี ๒ การจัดหาดูแลรักษาเคร่ืองมอื ๒) การจดั หาดูแลรักษาเคร่อื งมือและสิ่งอานวยความสะดวก และสิ่งอานวยความสะดวก - การดูแลระบบส่งจ่ายไฟฟ้า ระบบหม้อแปลงไฟฟ้า ระบบส่ง จา่ ยไฟฟ้าแรงต่า ระบบควบคุมและป้องกันอุปกรณ์ไฟฟ้าและ กลยุทธท์ ี่ ๓ การรกั ษาความปลอดภัย เคร่ืองกลไฟฟ้าระบบไฟฟ้าแสงสว่างและการจ่ายกาลังไฟฟ้า ระบบควบคมุ อาคารอัตโนมัติระบบเคร่ืองกาเนิดไฟฟ้าสารอง ระบบปรับอากาศ ระบบป้องกนั อัคคีภัยและสัญญาณแจ้งเหตุ เพลิงไหม้ - การควบคุมดูแลระบบน้าประปา ตรวจสอบคุณภาพน้าใช้ ต ร ว จ ส อ บ แ ล ะ ซ่ อ ม แ ซ ม บ า รุ ง รั ก ษ า ร ะ บ บ ท่ อ ส่ ง จ่ า ย น้ า จดบนั ทึกหน่วยการใชน้ า้ ตรวจสอบและควบคุมอตั ราการใชน้ า้ - การควบคุมดแู ลและจดั บริการงานดา้ นการขนส่งของโรงเรียน จัดระบบบริการรถรับส่งนักเรียน อานวยความสะดวกในการ เดินทางของบุคลากรและนักเรียน ซ่อมบารุงรักษารถยนต์/ รถจักรยานยนต์ รวมท้ังควบคุมการปฏิบัติงานของพนักงาน ขับรถ การเบิกจา่ ยเชอ้ื เพลงิ ๓) การรกั ษาความปลอดภัย - การควบคุมดแู ลเกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพย์สินของโรงเรียน ดูแลการจัดเวรยามตรวจสอบการ ปฏิบัตงิ านของเวรยาม ดูแลตรวจตรารถยนต์ที่สัญจรเข้า-ออก โรงเรียน ๒๐ รร.ทบอ.คา่ ยนารายณ์ศึกษา แผนแม่บทพฒั นาโรงเรยี น ๒๕๖๕ – ๒๕๖๗

สว่ นที่ ๔ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ เป้าหมาย ตัวชีว้ ดั ความสาเรจ็ และโครงการ (Strategic Strategies Goals KPI and Project) แผนแมบ่ ทพัฒนาโรงเรยี น ๒๕๖๕ – ๒๕๖๗ รร.ทบอ.คา่ ยนารายณ์ศกึ ษา ๒๑

4สว่ นท่ี ยทุ ธศาสตร์ กลยทุ ธ์ เปา้ หมาย ตวั ชว้ี ดั ความสาเรจ็ และโครงการ (Strategic Strategies Goals KPI and Project) ๔.๑ แผนผังแสดงการเชือ่ มโยงวิสยั ทัศน์ พันธกจิ และยุทธศาสตร์ วสิ ยั ทศั น์ (Vision : V) สร้างวินัยใหม้ นั่ คง ดารงคุณธรรม มงุ่ มนั่ พัฒนาวิชาการ สืบสานวฒั นธรรมไทย ชุมชนให้การยอมรบั ขับเคล่อื นด้วยเทคโนโลยี พนั ธกจิ (Mission : M) ๑) พัฒนาผเู้ รียนใหม้ ีระเบียบวินยั มคี ณุ ธรรม จริยธรรม มคี วามพอเพยี ง มคี วามซื่อสตั ยส์ ุจริต มจี ติ อาสา และมีคุณลกั ษณะ ท่พี ึงประสงคต์ ามเกณฑ์ทีโ่ รงเรยี นกาหนด ๒) พฒั นาผ้เู รียนให้มคี วามสามารถทางวิชาการและยกระดับนกั เรยี นสคู่ วามเปน็ สากล ๓) พฒั นาผเู้ รียนสามารถใช้ภาษาอังกฤษและภาษาจีนในการส่ือสาร และใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) ในการเรยี นรไู้ ด้ ตามศักยภาพ ๔) พฒั นาครใู หส้ ามารถจัดการเรยี นการสอนแบบเชิงรุก (Active Learning) ท่เี น้นการลงมอื ปฏิบัติและเน้นผ้เู รยี น เป็นสาคัญ เพือ่ กระตุ้นใหเ้ กิดกระบวนการคดิ ข้นั สูง ๕) พัฒนาบคุ ลากรให้มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ มที ักษะในเรื่องสารสนเทศ สือ่ เทคโนโลยี และดจิ ิทัล (Digital Literacy Skills) ๖) พัฒนารปู แบบการจดั การเรียนการสอนที่เน้นผเู้ รียนเป็นสาคัญ (Active Learning) ดว้ ยกระบวนการจัดการเรยี นรู้ ตามแนวคิดการสรา้ งสรรคท์ างปญั ญา (Constructivism) ท่เี นน้ กระบวนการเรยี นรู้มากกว่าเนื้อหาวิชา เพื่อช่วยให้ ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงความรู้ หรอื สร้างความรใู้ ห้เกดิ ขึน้ ในตนเอง ด้วยการลงมอื ปฏบิ ตั ิจริงผ่านสือ่ หรือกจิ กรรม การเรียนรทู้ ี่มีครูผู้สอนเป็นผู้แนะนา ๗) พัฒนาสือ่ การเรียนรู้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง โดยสนบั สนุนการพัฒนาส่อื ให้สมั พนั ธ์กบั เนื้อหาบทเรยี น และจุดมุ่งหมายที่สอน มเี น้อื หาถูกตอ้ ง ทันสมัย น่าสนใจ สง่ ผลต่อการเรยี น เหมาะกบั วยั ระดับชน้ั ความรู้ และประสบการณข์ องผ้เู รยี น และมรี าคาไมแ่ พงเกนิ ไป ๘) พฒั นาระบบเครอื ข่ายความรว่ มมือกับผปู้ กครอง ชุมชน ศิษย์เก่า และองค์กรตา่ งๆ ในการพัฒนาการศึกษา ๙) พฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจดั การและการจัดการเรียนรู้ ๑๐) พัฒนาอาคารสถานท่ีและส่งิ อานวยความสะดวกให้เอื้อต่อการจดั การเรยี นรู้อย่างมคี ุณภาพ ยุทธศาสตร์ (Strategic) ยุทธศาสตร์ท่ี ๑ การพฒั นาบุคลากร ยุทธศาสตร์ท่ี ๒ การพฒั นาระบบการศึกษา ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๓ การพฒั นาส่ือการเรยี นรู้ ยุทธศาสตร์ที่ ๔ การพฒั นาอาคารสถานที่ และสิ่งอานวยความสะดวก ๒๒ รร.ทบอ.ค่ายนารายณ์ศึกษา แผนแมบ่ ทพัฒนาโรงเรยี น ๒๕๖๕ – ๒๕๖๗

๔.๒ ความเชอื่ มโยงระหวา่ งวิสัยทัศน์ พันธกจิ ยทุ ธศาสตร์ และกลยุทธ์ วิสยั ทัศน์ (Vision : V) สร้างวินยั ให้ม่ันคง ดารงตนตามหลกั คณุ ธรรม มุ่งมน่ั พัฒนาวิชาการ สบื สานวัฒนธรรมไทย ชุมชนให้การยอมรับ ขบั เคลอ่ื นดว้ ยเทคโนโลยี Key Word วิสัยทศั น์ พนั ธกจิ (Mission : M) ยุทธศาสตร์ (Strategic : S) V1 สร้างวินยั ใหม้ ่ันคง M1 พัฒนาผเู้ รยี นใหม้ ีระเบยี บวินัย มีคุณธรรม S1 ยทุ ธศาสตร์ที่ ๑ การพฒั นาบุคลากร จรยิ ธรรม มคี วามพอเพียง มีความซื่อสัตย์ สุจริต มีจิตอาสา และมีคุณลักษณะที่พึง V2 ดารงคุณธรรม ประสงคต์ ามเกณฑท์ ี่โรงเรยี นกาหนด V3 ม่งุ ม่นั พัฒนาวิชาการ M2 พัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถทาง วชิ าการและยกระดับนักเรียนสู่ความเป็น สากล M3 พัฒนาผเู้ รยี นสามารถใช้ภาษาอังกฤษและ ภาษาจีนในการสื่อสาร และใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ (ICT) ในการเรียนรู้ได้ตาม ศกั ยภาพ M4 พฒั นาครใู หส้ ามารถจัดการเรียนการสอน แบบเชงิ รกุ (Active Learning) ที่เน้นการ ลงมอื ปฏบิ ัตแิ ละเนน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคัญ เพ่ือ กระต้นุ ใหเ้ กิดกระบวนการคดิ ขั้นสูง M5 พัฒ นา บุค ลา กร ให้ มีค ว า มคิ ด ริ เริ่ ม สรา้ งสรรค์ มที ักษะในเร่อื งสารสนเทศ สื่อ เทคโนโลยี และดิจิทัล (Digital Literacy Skills) M6 พฒั นารปู แบบการจดั การเรยี นการสอนทเี่ น้นผเู้ รียน S2 ยุทธศาสตรท์ ่ี ๒ การพัฒนาระบบการศึกษา เป็นสาคัญ (Active Learning) ด้วยกระบวนการ จัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการสร้างสรรค์ทางปัญญา (Constructivism)ทีเ่ น้นกระบวนการเรียนรู้มากกว่า เน้ือหาวิชา เพ่ือช่วยให้ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยง ความรู้ หรอื สร้างความร้ใู ห้เกิดข้นึ ในตนเองดว้ ยการ ลงมือปฏบิ ัตจิ ริงผา่ นส่ือหรอื กิจกรรมการเรียนรู้ที่ มีครผู ู้สอนเปน็ ผู้แนะนา V4 สบื สานวฒั นธรรมไทย M7 พัฒนาสอ่ื การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของ S3 ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๓ การพัฒนาสอ่ื การเรยี นรู้ เศรษฐกิจพอเพียง โดยสนับสนุนการ พัฒนาส่ือให้สัมพันธ์กับเน้ือหาบทเรียน และจุดมุ่งหมายท่ีสอน มีเนื้อหาถูกต้อง ทันสมัย น่าสนใจ ส่งผลต่อการเรียน เหมา ะกับวัย ระดับชั้น ค วามรู้และ ประสบการณ์ของผู้เรียน และมีราคาไม่ แพงเกนิ ไป V5 ชุมชนใหก้ ารยอมรับ M8 พัฒนาระบบเครือข่ายความร่วมมือกับ ผู้ปกครอง ชุมชน ศิษย์เก่า และองค์กร ต่างๆ ในการพฒั นาการศึกษา V6 ขบั เคล่อื นดว้ ยเทคโนโลยี M9 พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ S4 ยทุ ธศาสตร์ที่ ๔ การพฒั นาอาคารสถานที่และสิ่ง สนับสนนุ การบรหิ ารและการจัดการเรยี นรู้ อานวยความสะดวก M10 พฒั นาอาคารสถานที่และสิ่งอานวยความ สะดวกให้เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมี คณุ ภาพ แผนแมบ่ ทพัฒนาโรงเรียน ๒๕๖๕ – ๒๕๖๗ รร.ทบอ.ค่ายนารายณ์ศกึ ษา ๒๓

ยุทธศาสตร์ท่ี ๑ การพัฒนาบคุ ลากร ประกอบดว้ ยกลยุทธ์ ดงั น้ี กลยุทธ์ที่ ๑. การพฒั นาครู - พฒั นาครใู ห้มคี วามรู้รอบด้าน - พัฒนาครใู หส้ ามารถจัดการความรู้ได้ - สง่ เสรมิ ครใู หม้ ีคุณธรรม จริยธรรม กลยทุ ธ์ที่ ๒ การพฒั นานักเรยี น - พฒั นาความรู้และทกั ษะรอบดา้ น - พฒั นาคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ ๑. หลกั การและเหตผุ ล : จากผลการประเมนิ คุณภาพนักเรียน ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นทกุ กลมุ่ สาระในภาพรวมยงั ไม่เปน็ ท่ี พอใจ เนื่องจากในปกี ารศึกษาทผ่ี ่านมาผลการประเมนิ การอ่านการ การเขียน การสื่อสารยังไม่พัฒนา ดังน้ัน จึงกาหนดยทุ ธศาสตร์การพฒั นานกั เรียนและพัฒนาครู โดยมจี ุดเน้นให้นกั เรยี นมที กั ษะ 3Rs และ 8Cs และให้ ครูมที กั ษะ 8Cs โดยจัดทาโครงการต่าง ๆ เพ่ือการพัฒนาครแู ละนกั เรียนให้สอดคล้องกบั นโยบายของโรงเรียน ๒. วตั ถุประสงค์ : ๒.๑ เพื่อพฒั นาครูใหม้ คี วามรรู้ อบด้าน ๒.๒ เพอ่ื พฒั นาครูใหส้ ามารถจดั การความรไู้ ด้ ๒.๓ เพอ่ื สง่ เสริมครูใหม้ ีคุณธรรม จรยิ ธรรม ๒.๔ เพอ่ื พัฒนานักเรยี นใหม้ คี วามรู้และทักษะรอบดา้ น ๒.๕ เพือ่ พฒั นานักเรียนใหม้ คี ุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ๓. หน่วยงานทร่ี ับผดิ ชอบ : ๓.๑ ฝา่ ยบริหารงานบคุ คล ๓.๒ ฝา่ ยบริหารงานวชิ าการ ๓.๓ ฝ่ายบริหารงานปกครองและกจิ กรรมนกั เรียน ๔. ระยะเวลาดาเนินการ : ปีการศึกษา ๒๕๖๕ – ๒๕๖๗ โดยกาหนดการจัดโครงการตามวันสาคัญและตามห้วงเวลาที่ เหมาะสม ๕. แนวทางการติดตามประเมนิ ผล : ๕.๑ ผู้ดาเนินโครงการทาการประเมินผลโครงการและรายงานผลการดาเนินโครงการให้ผู้รับ ใบอนญุ าต/ผ้จู ดั การทราบผ่านผบู้ ริหารโรงเรยี น ไมเ่ กนิ ๑๕ วนั หลังจากเสรจ็ สนิ้ โครงการ ๕.๒ ผบู้ รหิ ารโรงเรยี นกากับดูแลการจัดทาโครงการให้เปน็ ไปด้วยความเรียบร้อย รวมถึงสรุปผล การปฏบิ ัติงานประจาปี เพอ่ื สรุปผลการปฏบิ ตั ิตามแผนงานเพ่ือดาเนินการปรับปรุงแผนงานและการปฏิบัติใน ปตี อ่ ไป ๒๔ รร.ทบอ.คา่ ยนารายณ์ศึกษา แผนแมบ่ ทพัฒนาโรงเรียน ๒๕๖๕ – ๒๕๖๗

ยุทธศาสตร์ท่ี ๒ การพฒั นาระบบการศึกษา ประกอบด้วยกลยทุ ธ์ ดังนี้ กลยุทธท์ ่ี ๑ จดั การเรียนรู้แบบเชงิ รกุ (Active Learning) กลยุทธ์ท่ี ๒ จดั การเรยี นรู้แบบสร้างสรรคด์ ว้ ยปัญญา (Constructionism) ๑. หลกั การและเหตผุ ล : พระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติพ.ศ.๒๕๔๒ (ฉบับที่ ๒)แก้ไขเพ่ิมเติม พ.ศ. ๒๕๔๕ หมวด ๔ มาตรา ๒๒ ไดร้ ะบุวา่ การจดั การศกึ ษาต้องยดึ หลกั ว่าผู้เรยี นทุกคนมีความสามารถ เรียนรู้และพฒั นาตนเองได้ และถือว่า ผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตาม ธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ และมาตรา ๒๔ การจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้สถานศึกษาและหน่วยงานท่ี เกี่ยวข้องดาเนินการดังต่อไปน้ี ๑) จดั เนอ้ื หาสาระและกจิ กรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของ ผู้เรียน โดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ๒) ฝึกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญ สถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา ๓) จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนจาก ประสบการณ์จริง ฝกึ การปฏบิ ตั ิใหท้ าได้ คดิ เป็น ทาเปน็ รักการอา่ นและเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเน่ือง ๔) จัดการ เรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรดู้ า้ นต่าง ๆ อยา่ งไดส้ ดั สว่ นสมดุลกันรวมทงั้ ปลกู ฝงั คุณธรรมค่านิยมท่ี ดีงานและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ในทุกวิชา ๕) ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม ส่ือการเรียนและอานวยความสะดวกเพ่ือให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้รวมทั้ง สามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการเรียนรู้และ ๖)จัดการเรียนรู้ให้เกิดข้ึนได้ทุกเวลาทุก สถานการณท์ ีม่ ีการประสานความรว่ มมือกับบิดา มารดา ผู้ปกครอง และบุคคลในชุมชนทุกฝ่าย เพ่ือร่วมกัน พัฒนาผู้เรยี นตามศกั ยภาพ ดงั นั้นโรงเรยี นจงึ มกี ลยุทธ์พฒั นารูปแบบการจัดการเรียนรโู้ ดยยดึ ผ้เู รยี นเปน็ สาคัญ ๒. วตั ถุประสงค์ : ๒.๑ เพอื่ จัดการเรยี นรูแ้ บบเชงิ รุก (Active Learning) ๒.๒ เพ่ือจัดการเรียนรูแ้ บบสรา้ งสรรค์ดว้ ยปัญญา (Constructionism) ๓. หนว่ ยงานท่ีรบั ผดิ ชอบ : ๓.๑ ฝา่ ยบริหารงานวิชาการ ๓.๒ ฝ่ายบริหารงานปกครองและกิจการนักเรยี น ๓.๓ ฝ่ายบรหิ ารท่วั ไป ๔. ระยะเวลาดาเนนิ การ : ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๕ – ๒๕๖๗ โดยกาหนดการจัดโครงการตามห้วงเวลาทเ่ี หมาะสม ๕. แนวทางการติดตามประเมินผล : ๕.๑ ผู้ดาเนินโครงการทาการประเมินผลโครงการและรายงานผลการดาเนินโครงการให้ผู้รับ ใบอนญุ าต/ผ้จู ดั การทราบผ่านผบู้ ริหารโรงเรียน ไม่เกิน ๑๕ วันหลังจากเสรจ็ สิ้นโครงการ ๕.๒ ผบู้ รหิ ารโรงเรยี นกากบั ดแู ลการจดั ทาโครงการใหเ้ ป็นไปดว้ ยความเรยี บร้อย รวมถงึ สรุปผลการ ปฏบิ ตั งิ านประจาปี เพื่อสรปุ ผลการปฏิบัติตามแผนงานเพ่ือดาเนินการปรับปรุงแผนงานและการปฏิบัติในปี ตอ่ ไป แผนแมบ่ ทพฒั นาโรงเรียน ๒๕๖๕ – ๒๕๖๗ รร.ทบอ.ค่ายนารายณ์ศกึ ษา ๒๕

ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๓ การพฒั นาสอื่ การเรียนรู้ ประกอบด้วยกลยุทธ์ดังนี้ กลยุทธท์ ี่ ๑ การจดั เครือ่ งมอื และอุปกรณส์ นบั สนุนการเรยี นรู้ (Hardware) กลยุทธท์ ่ี ๒ การจัดโปรแกรมหรอื แอปพลิเคชนั สนบั สนนุ การเรียนรู้ (Software) กลยทุ ธท์ ่ี ๓ การใช้เทคนคิ หรือวิธกี ารสนบั สนุนการเรยี นรู้ (Techniques or Methods) ๑. หลกั การและเหตผุ ล : สื่อการเรียนรเู ปน็ ปจั จยั สาคัญอยา่ งหนึ่งท่ี จะชว่ ยให้สถานศึกษาจัดการเรยี นรูไดบรรลุ ตามจุดหมาย ของหลักสตู ร สือ่ เปน็ เครอื่ งถา่ ยทอดความรูความคิด เสรมิ สรา้ งคณุ ธรรมจริยธรรม คานิยมและประสบการณ ใหแ้ ก่ผเู้ รยี น การเรยี นรูอาจเกิดขึ้นไดโดยผู้เรียนอาจไดพบเห็น ไดยิน หรือกระทากิจกรรมต่างๆด้วยตนเอง โดยใช้สื่อรูปแบบต่าง ๆ ซ่ึงเรยี กวา่ ส่อื การเรียน แต่เม่ือใดก็ตามที่มี การสอนจะต้องมีการเรียนเกิดข้ึน ถ้าสื่อ การสอนและสอ่ื การเรยี นสอดคลองสัมพนั ธก์ ัน การเรียนการสอนกจ็ ะดาเนินไปอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ และบรรลุ เปา้ หมายตามที่หลักสูตรต้องการ ดงั นัน้ การพัฒนาส่ือการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับกิจกรรมการเรียนรู้จะทาให้ การจดั การเรยี นรูป้ ระสบผลสาเรจ็ ตามหลักสตู ร ๒. วัตถุประสงค์ : ๒.๑ เพือ่ จดั เครอื่ งมอื และอปุ กรณส์ นับสนนุ การเรียนรู้ (Hardware) ๒.๒ เพอื่ จัดโปรแกรมหรือแอปพลเิ คชันสนบั สนุนการเรยี นรู้ (Software) ๒.๓ เพ่ือใช้เทคนิคหรอื วธิ กี ารสนับสนุนการเรยี นรู้ (Techniques or Methods) ๓. หน่วยงานทีร่ ับผิดชอบ : ๓.๑ ฝ่ายบริหารวิชาการ ๓.๒ ฝ่ายบริหารทว่ั ไป ๔. ระยะเวลาดาเนินการ : ปีการศึกษา ๒๕๖๕ – ๒๕๖๗ โดยกาหนดการจดั โครงการตามหว้ งเวลาทีเ่ หมาะสม ๕. แนวทางการตดิ ตามประเมินผล : ๕.๑ ผู้ดาเนินโครงการทาการประเมินผลโครงการและรายงานผลการดาเนินโครงการให้ผู้รับ ใบอนุญาต/ผู้จัดการทราบผา่ นผู้บรหิ ารโรงเรยี น ไม่เกนิ ๑๕ วันหลังจากเสร็จสิ้นโครงการ ๕.๒ ผบู้ ริหารโรงเรยี นกากับดแู ลการจดั ทาโครงการใหเ้ ปน็ ไปดว้ ยความเรียบรอ้ ย รวมถงึ สรุปผลการ ปฏิบตั งิ านประจาปี เพ่อื สรปุ ผลการปฏิบัติตามแผนงานเพื่อดาเนินการปรับปรุงแผนงานและการปฏิบัติในปี ตอ่ ไป ๒๖ รร.ทบอ.ค่ายนารายณ์ศกึ ษา แผนแมบ่ ทพัฒนาโรงเรยี น ๒๕๖๕ – ๒๕๖๗

ยทุ ธศาสตร์ที่ ๔ การพัฒนาอาคารสถานที่และสิ่งอานวยความสะดวก ประกอบด้วยกลยุทธ์ดังนี้ กลยทุ ธท์ ี่ ๑ การสรา้ งและดแู ลอาคารสถานที่ กลยุทธ์ท่ี ๒ การจดั หาดแู ลรักษาเครอ่ื งมอื และส่ิงอานวยความสะดวก กลยุทธ์ที่ ๓ การรกั ษาความปลอดภยั ๑. หลักการและเหตุผล : ยุคศตวรรษที่ 21 เป็นยุคแห่งการเปลี่ยนแปลงในหลาย ๆ ด้าน ท้ังด้านเทคโนโลยี สังคม และ วัฒนธรรม การเตรียมความพร้อมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ทักษะท่ีจาเป็นในโลกแห่งการเปล่ียนแปลงนี้จะทาให้ ผู้เรียนสามารถเติบโตไปพร้อม ๆ กับความรู้ท่ีจะสามารถนาไปใช้ในการดารงชีวิตได้อย่างมีคุณภาพ ทั้งน้ี องคป์ ระกอบหนง่ึ ท่มี คี วามสาคญั เป็นอยา่ งยงิ่ ในการส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ให้เกิดข้ึนกับ ผเู้ รยี น คือ การจดั สภาพแวดลอ้ มการเรยี นรทู้ ดี่ ีและเหมาะสมใหก้ บั ผเู้ รียน เนือ่ งด้วยการจัดกระบวนการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 นนั้ บทบาทของครไู ด้ปรับเปล่ียนบทบาทตนเองจากผู้สอนไปเป็นผู้อานวยความสะดวกใน การเรียนรใู้ ห้ผู้เรยี นไดเ้ รียนรู้จากการลงมือปฏิบตั ิ สามารถแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้ ฉะนั้นการสนับสนุน การเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ทางดา้ นการสร้างอาคารสถานท่ีและสิ่งอานวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู้ การดูแล ซ่อมบารุง และรักษาอาคารสถานทีแ่ ละส่งิ อานวยความสะดวก การปรบั ปรุงภมู ทิ ศั น์ และ การรักษา ความปลอดภัยจึงเป็นปัจจัยสนับสนุนให้การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ให้สามารถเกิดข้ึนได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ ๒. วตั ถปุ ระสงค์ : ๒.๑ เพอ่ื สรา้ งและดแู ลอาคารสถานที่ ๒.๒ เพือ่ จัดหาดแู ลรกั ษาเครอ่ื งมือและสงิ่ อานวยความสะดวก ๒.๓ เพ่ือรกั ษาความปลอดภยั ของอาคารสถานทีแ่ ละบุคลากร ๓. หนว่ ยงานทร่ี ับผิดชอบ : ฝา่ ยบริหารทัว่ ไป ๔. ระยะเวลาดาเนินการ : ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๕ – ๒๕๖๗ โดยกาหนดการจัดโครงการตามหว้ งเวลาทเี่ หมาะสม ๕. แนวทางการติดตามประเมินผล : ๕.๑ ผู้ดาเนินโครงการทาการประเมินผลโครงการและรายงานผลการดาเนินโครงการให้ผู้รับ ใบอนญุ าต/ผู้จดั การทราบผ่านผบู้ ริหารโรงเรียน ไมเ่ กิน ๑๕ วนั หลังจากเสรจ็ ส้นิ โครงการ ๕.๒ ผบู้ ริหารโรงเรยี นกากบั ดแู ลการจดั ทาโครงการให้เปน็ ไปด้วยความเรยี บรอ้ ย รวมถึงสรปุ ผลการ ปฏบิ ัตงิ านประจาปี เพื่อสรุปผลการปฏิบัติตามแผนงานเพ่ือดาเนินการปรับปรุงแผนงานและการปฏิบัติในปี ต่อไป แผนแม่บทพฒั นาโรงเรยี น ๒๕๖๕ – ๒๕๖๗ รร.ทบอ.ค่ายนารายณ์ศกึ ษา ๒๗





๔.๓ ยุทธศาสตร์ กลยทุ ธ์ เป้าหมาย ตวั ช้วี ัดความสาเรจ็ และโครงการ ยทุ ธศาสตร์ (Strategic) กลยทุ ธ์ (Strategies) เปา้ หมาย (Goals) ๑ การพัฒนาบุคลากร ๑ การพฒั นาครู ๑ ครูมีความรู้และสามารถ ๑ ร ๑.๑ พฒั นาครูใหม้ ี จัดการเรียนรู้เชิงรุก(Active จ ความรรู้ อบด้าน Learning) ๒ร เช ๒ ครูมีความรู้และสามารถใช้ ๓ ร เทคโนโลยสี ารสนเทศในการ ค สอน ๔ร ก ๓ ครูมีความรู้และสามารถผลิต ๕ ร สื่อ/นวัตกรรมการเรียนรู้ได้ ส อย่างน้อยปีละ ๑ ชน้ิ ๖ร ส ๗ร เร ๘จ ร แผนแม่บทพัฒนาโรงเรียน ๒๕๖๕ – ๒๕๖๗ รร.ทบอ.ค่ายนา

ตัวช้วี ัดความสาเรจ็ โครงการ/กจิ กรรม ร้อยละของครูท่ีมีความรู้เกี่ยวกับการ ๑ โครงการพัฒนาครูและบุคลากร ให้มีความรู้ในการ จดั การเรยี นรู้เชิงรุก (Active Learning) จดั การเรียนการสอนแบบเชิงรุก (Active Learning) ร้อยละของครูที่มีแผนการจัดการเรียนรู้ ๒ โครงการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้เชิงรุก ชงิ รุก(Active Learning) (Active Learning) ร้อยละของครูท่ีมีความรู้เก่ียวกับการใช้ ๓ โครงการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความรู้และ คอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยสี ารสนเทศ ทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการ บริหารจัดการและการเรยี นรู้ ร้อยละของครทู ี่ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศใน การสอน ร้อยละของครูที่มีความรู้เกี่ยวกับการผลิต ๔ โครงการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความรู้และ ส่อื /นวตั กรรมการเรียนรู้ ทกั ษะในการผลิตส่อื /นวตั กรรมการเรียนรู้โดยใช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์สาเร็จรปู ร้อยละของครูที่ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สาเรจ็ รูปผลติ ส่อื /นวตั กรรมการเรียนรู้ ร้อยละของครูท่ีส่งสื่อ/นวัตกรรมการ ๕ โครงการประกวดส่อื และนวัตกรรมการเรยี นรู้ รียนรู้เข้ารว่ มการประกวด จานวนครทู ่ีส่งสื่อ/นวัตกรรมการเรยี นรู้เข้า รว่ มการประกวดเพ่มิ ข้นึ ารายณศ์ ึกษา ๑

ยทุ ธศาสตร์ (Strategic) กลยทุ ธ์ (Strategies) เปา้ หมาย (Goals) ๑.๒ พฒั นาครใู ห้ ๔ ครูมีความรู้และทักษะการ ๗ ร สามารถจัดการ ความรไู้ ด้ วัดผลและประเมินผลการ ป เรียนรู้ของ นักเรี ยนตาม ส ส ภ า พ จ ริ ง ( Authentic Assessment)ได้ ๘ร เร ๕ ครูสามารถพัฒนาตนเอง ๙ ร ดว้ ยการอบรมสมั มนา ศึกษา ด ดู ง า น แ ล ะ แ ล ก เ ป ล่ี ย น แ เรียนรู้ ( ภ ๖ ครูมีชุมชนการเรียนรู้ทาง ๑๐ ร วิชาชพี (PLC) ก ๗ ครูทุกคนนาชมุ ชนการเรียนรู้ ๑๑ ร ทางวชิ าชพี (PLC)เขา้ มาใช้ใน ว การ พั ฒ นาง านแล ะ การ แ เรียนรู้ของผูเ้ รยี น ๘ ครูทุกคนมีขวัญและกาลังใจ ๑๒ ร ในการปฏิบัตงิ าน ท ๙ มีอัตราส่วนครู:ผู้เรียนตาม ๑๓ อ เกณฑ์มาตรฐาน ๒ รร.ทบอ.คา่ ยนารายณ์ศกึ ษา แผนแม่บทพฒั นาโรง

ตัวชี้วดั ความสาเรจ็ โครงการ/กิจกรรม ร้อยละของครูท่ีมีความรู้ในการวัดผลและ ๖ โครงการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความรู้และ ประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียนตาม ทักษะในการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ สภาพจริง (Authentic Assessment) ข อ ง นั ก เ รี ย น ต า ม ส ภ า พ จ ริ ง ( Authentic Assessment) ร้อยละของครูท่ีส่งผลการเรียนปลายภาค ๗ โครงการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง รยี นผดิ พลาดลดลงทกุ ปกี ารศกึ ษา ร้อยละของครูที่เข้ารับการพัฒนาตนเอง ๘ โครงการพัฒนาครูและบุคลากร ให้มีความเชี่ยวชาญ ด้วยการอบรมสัมมนาศึกษาดูงาน และ ทางวชิ าชพี แลกเปล่ียนเรียนรู้อย่างน้อยปีละ ๑ ครั้ง ก า ร อ บ ร ม สั ม ม น า จั ด โ ด ย ห น่ ว ย ง า น ภายนอกหรอื โรงเรียนเปน็ ผู้จัด) ร้อยละของครูท่ีมีความรู้เก่ียวกับชุมชน ๙ โครงการชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวิชาชีพ (PLC) การเรียนร้ทู างวิชาชพี (PLC) นเิ ทศและวิจยั ในชน้ั เรยี น ร้อยละของครูท่ีนาชุมชนการเรียนรู้ทาง วิชาชีพ(PLC)เข้ามาใช้ในการพัฒนางาน และการเรียนรู้ของผเู้ รยี น ร้อยละของครูท่ีมีขวัญและกาลังใจในการ ๑๐ โครงการสรา้ งขวัญและกาลังใจ ทางาน อัตราส่วนครู:ผเู้ รียน เท่ากบั ๑ : ๓๐ ๑๑ โครงการบริหารอัตรากาลัง งเรียน ๒๕๖๕ – ๒๕๖๗

ยุทธศาสตร์ (Strategic) กลยทุ ธ์ (Strategies) เป้าหมาย (Goals) ๑.๓ ส่งเสริมครใู หม้ ี ๑๐ ครู บุคลากร มีคุณธรรม ๑๔ ม คุณธรรม และ จริยธรรม และจรรยาบรรณ จ จริยธรรม วชิ าชพี ครู ๒ การพัฒนานักเรยี น ๒.๑ พฒั นานกั เรยี นให้ ๑๑ นักเรียนมีทักษะการอ่าน ๑๕ ร มีความร้แู ละ (Reading) การเขียน (Writing) แ ทกั ษะรอบด้าน และการคดิ คานวณ(Arithmetic) ก ๑๖ ร ใ ๑๗ ร ค ส ๑๒ นักเรียนมีทักษะด้านการคิด ๑๘ ร อย่างมีวิจารณญาณและมี ก ทักษะในการแก้ปญั หา ไ (Critical Thinking and ป Problem Solving) ๑๙ ร อ แผนแมบ่ ทพฒั นาโรงเรียน ๒๕๖๕ – ๒๕๖๗ รร.ทบอ.คา่ ยนา

ตัวชี้วัดความสาเร็จ โครงการ/กจิ กรรม มีจานวนเร่ืองร้องเรียนครูและบุคลากร ๑๒ โครงการธรรมเพ่อื ชวี ิต จากผูป้ กครองลดลง ทกุ ปกี ารศึกษา ๑๓ โครงการพฒั นาการบริหารจดั การชน้ั เรียนแบบมี ปฏสิ มั พนั ธเ์ ชิงบวก ร้อยละของนักเรียนที่มีทักษะในการอ่านใน ๑๔ โครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ แต่ละระดับช้ันตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษา ภาษาไทย กาหนด รอ้ ยละของนักเรียนที่มีทักษะในการเขียน ๑๕ โครงการส่งเสริมการอ่านออก เขียนได้ คิดเลข ในแตล่ ะระดบั ช้นั ตามเกณฑท์ ่ีกาหนด เปน็ ร้อยละของนักเรียนท่ีมีทักษะในการคิด ๑๖ โครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนกลุ่มสาระการ คานวณในแต่ละระดับชั้นตามเกณฑ์ท่ี เรยี นรูค้ ณิตศาสตร์ สถานศกึ ษากาหนด ร้อยละของนักเรียนที่มีความสามารถใน ๑๗ โครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนกลุ่มสาระการ การ คิด จาแ นกแ ย กแย ะ ใ ค ร่ค ร วญ เรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ไตร่ตรองอย่างรอบคอบโดยใช้เหตุผล ประกอบการตัดสินใจ ร้อยละของนักเรียนท่ีสามารถแก้ปัญหา ๑๘ โครงการ EIS (English Integrated Study) อยา่ งมีเหตผุ ล ๑๙ โครงการพฒั นาศักยภาพนักเรียนท่ีมี ความสามารถพิเศษด้านคณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตรแ์ ละการกีฬา ารายณศ์ กึ ษา ๓

ยุทธศาสตร์ (Strategic) กลยุทธ์ (Strategies) เปา้ หมาย (Goals) ๑๓ นกั เรียนมีทักษะด้านการ ๒๐ ร สรา้ งสรรค์และนวัตกรรม อ (Creativity and ส Innovation) โค ๑๔ นักเรยี นมีทักษะด้านความ ๒๑ ม ร่วมมือ การทางานเป็นทมี ค และภาวะผูน้ า ผ (Collaboration, โร Teamwork and เป Leadership) ๑๕ นักเรียนมีทักษะด้านการ ๒๒ ร สือ่ สาร สารสนเทศและการ ก รเู้ ทา่ ทันสอ่ื ส (Communication, Information and Media Literacy) ๑๖ นักเรียนมีทักษะด้าน ๒๓ ร คอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยี ค สารสนเทศและการสื่อสาร แ (Computing and ICT Literacy) ๔ รร.ทบอ.ค่ายนารายณศ์ กึ ษา แผนแม่บทพัฒนาโรง

ตวั ชีว้ ดั ความสาเร็จ โครงการ/กจิ กรรม ร้อยละของนักเรียนที่สามารถเชื่อมโยง ๒๐ โครงการประกวดโครงงาน/นวตั กรรมนักเรียน องค์ความรู้และประสบการณ์มาใช้ในการ สร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ เช่น โครงการ ครงงาน ช้นิ งาน ผลผลติ เป็นต้น มกี ิจกรรมส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะด้าน ๒๑ โครงการส่งเสริมประชาธิปไตยและสภานักเรียน ความรว่ มมอื การทางานเป็นทีมและภาวะ ผู้นา เช่นกิจกรรมส่งเสริมประชาธิปไตยใน รงเรียน กิจกรรมลกู เสือ กิจกรรมยุวกาชาด ป็นตน้ ร้อยละของนักเรียนที่มีความสามารถใน ๒๒ โครงการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศกบั เจ้าของภาษา การใช้ภาษาอังกฤษและภาษาจีนในการ (ภาษาองั กฤษและภาษาจีน) สอื่ สาร ๒๓ โครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนกลุ่มสาระการ เรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ ร้ อย ล ะ ข อง นั กเ รี ย นที่ มี ทั กษ ะ ด้ า น ๒๔ โครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในการใช้ ICT คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือการเรียนรู้ การสืบค้นและการนาเสนอ และการสื่อสาร ผลงาน งเรยี น ๒๕๖๕ – ๒๕๖๗

ยทุ ธศาสตร์ (Strategic) กลยุทธ์ (Strategies) เปา้ หมาย (Goals) ๑๗ นักเรียนมีทักษะอาชีพและ ๒๔ ร ทักษะการเรียนรู้ (Career แ and Learning Skills) และ พ มีความพร้อมในการศึกษา ตอ่ หรือการทางาน ๑๘ นักเรยี นมผี ลสมั ฤทธ์ิทางการ ๒๕ ร เรียนและมีพัฒนาการตาม พ หลกั สูตร ๑๙ นั ก เ รี ย น มี ผ ล ก า ร ส อ บ ๒๖ ร ระ ดั บ ช าติ สู ง กว่าเ กณฑ์ ร ระดับประเทศ ๒๐ นกั เรยี นมีผลการแข่งขันด้าน ๒๗ ร วิชาการ(แข่งขันภายนอก) ว ตงั้ แตล่ าดบั ท่ี ๓ ขึน้ ไป แผนแมบ่ ทพฒั นาโรงเรยี น ๒๕๖๕ – ๒๕๖๗ รร.ทบอ.คา่ ยนา

ตัวชวี้ ดั ความสาเร็จ โครงการ/กจิ กรรม ร้อยละของนักเรียนที่มีทักษะด้านอาชีพ ๒๕ โครงการแนะแนวด้านการศึกษา ด้านอาชีพ และทักษะด้านการเรียนรู้และมีความ และด้านส่วนตวั /สงั คม พร้อมในการศกึ ษาต่อหรอื ทางาน ๒๖ โครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนกลุ่มสาระการ เรยี นรู้การงานอาชพี ๒๗ โครงการเรยี นเพิ่มเสริมความรู้สาหรับการศึกษา ตอ่ รอ้ ยละของนกั เรียนท่ีบรรลุการเรียนรู้และ ๒๘ โครงการเรียนดีมที นุ พฒั นาการตามหลกั สูตร ๒๙ โครงการระดมทรพั ยากรทางการศึกษา (ทุนการศกึ ษา) ๓๐ โครงการปรับพื้นฐานความรู้ ๓๑ โครงการพัฒนาหลักสูตร ๓๒ โครงการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษาและ แผนงาน ร้อย ละข อง นักเ รีย นที่ มี ผล การ สอบ ๓๓ โครงการยกระดับผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนในการ ระดบั ชาติสงู กว่าเกณฑ์ระดบั ประเทศ ทดสอบระดับชาติ ร้อยละของนักเรียนที่มีผลการแข่งขันด้าน ๓๔ โครงการส่งเสริมการแข่งขันด้านวิชาการ (แข่งขัน วชิ าการ (แข่งขนั ภายนอก) ภายนอก) ารายณ์ศกึ ษา ๕

ยุทธศาสตร์ (Strategic) กลยุทธ์ (Strategies) เป้าหมาย (Goals) ๒.๒ พัฒนานักเรียน ๒๑ นั ก เ รี ย น มี ค ว าม เ มต ต า ๒๘ ร ให้มีคณุ ลักษณะ กรุ ณา มี วิ นั ย คุ ณธร ร ม ร อันพงึ ประสงค์ จรยิ ธรรม (Compassion) ค ๒๙ ร ส ว ๒๒ นักเรียนมีความเข้าใจการ ๓๐ ร ต่ าง วั ฒ นธร ร ม แ ล ะ ต่ า ง ร กระบวนทัศน์ (Cross-cultural, ด Under Standing) แ ๒๓ นักเรียนมีความภูมิใจใน ๓๑ ร ท้องถิน่ และความเป็นไทย แ ๓๒ ร ว ๒๔ นั กเ รี ย น มี สุ ข ภ าว ะ ท า ง ๓๓ ร รา่ งกายและจติ สังคม ก แ ๖ รร.ทบอ.ค่ายนารายณ์ศึกษา แผนแมบ่ ทพัฒนาโรง

ตัวชี้วัดความสาเรจ็ โครงการ/กจิ กรรม ร้อยละของนักเรียนท่ีมีพฤติกรรมเป็นผู้มี ๓๕ โครงการส่งเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระเบียบวินัย มีความเมตตา กรุณา มี คณุ ธรรม จริยธรรมและเคารพในกฎกติกา ๓๖ โครงการเฝา้ ระวังพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ รอ้ ยละของผ้เู รียนมีคา่ นิยมและจิตสานึกตามที่ ๓๗ โครงการจดั กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น สถาน ศึกษากาหนด โดยไม่ขัดกับกฎหมายและ วฒั นธรรมอันดขี องสังคม ร้อยละของนักเรียนที่ยอมรับและอยู่ ๓๘ โครงการพัฒนาคุณภาพผูเ้ รยี นกลุ่มสาระการ รว่ มกนั บนความแตกต่างระหว่างบุคคลใน เรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ด้านเพศ วัย เช้ือชาติ ศาสนา ภาษาวัฒนธรรม และประเพณี ๓๙ โครงการประชุมผู้ปกครองและปฐมนิเทศ นกั เรยี นใหม่ ร้อยละของนักเรียนที่มีความภูมิใจในท้องถ่ิน ๔๐ โครงการกิ จกรรมวั นส าคั ญของชาติ ศาสนา และเหน็ คุณค่าของความเป็นไทย พระมหากษัตริย์ ๔๑ โครงการส่งเสริมคุณภาพการดารงชีวิตตามหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ร้อยละของนักเรียนท่ีมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ๔๒ โครงการอนุรักษ์วัฒนธรรมและประเพณีไทย วฒั นธรรมและประเพณไี ทยและภูมิปัญญาไทย ร้อยละของนักเรียนเรียนท่ีมีการรักษาสุขภาพ ๔๓ โครงการพัฒนาคุณภาพผเู้ รียนกลุ่มสาระการ กาย สุขภาพจิต อารมณ์และสังคม และ เรียนรสู้ ุขศกึ ษาและพลศกึ ษา แสดงออกอย่างเหมาะสมในแต่ละช่วงวยั ๔๔ โครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ดนตรี และนาฏศิลป์ งเรียน ๒๕๖๕ – ๒๕๖๗

ยทุ ธศาสตร์ (Strategic) กลยทุ ธ์ (Strategies) เป้าหมาย (Goals) ๓๔ ร อ ก ๒๕ นักเรียนมีความรักความ ๓๕ ร ผูกพันต่อเพ่ือน และมีความ ต กตัญญูกตเวทีต่อครูและ แ สถาบัน แผนแม่บทพฒั นาโรงเรียน ๒๕๖๕ – ๒๕๖๗ รร.ทบอ.ค่ายนา

ตวั ชีว้ ดั ความสาเร็จ โครงการ/กจิ กรรม ๔๕ โครงการส่งเสริมสขุ ภาพและป้องกันโรคติดเช้อื ไวรัส โคโรนา -๒๐๑๙ (COVID-19) ๔๖ โครงการส่งเสริมการพยาบาล สุขภาพอนามัย และ โภชนาการ ร้อยละของนักเรียนที่สามารถอยู่ร่วมกับคนอื่น ๔๗ โครงการจัดระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรียน อย่างมีความสุข เข้าใจผู้อื่น ไม่มีความขัดแย้ง กบั ผ้อู ื่น และมจี ิตสังคม ๔๘ โครงการพฒั นานักเรียนจิตอาสา ร้อยละของนกั เรียนมีความรักความผูกพัน ๔๙ โครงการปัจฉิมนิเทศนักเรยี น ต่อเพื่อน และมีความกตัญญูกตเวทีต่อครู และสถาบนั ารายณ์ศกึ ษา ๗

ยุทธศาสตร์ (Strategic) กลยทุ ธ์ (Strategies) เปา้ หมาย (Goals) ๒ การพฒั นาระบบการศึกษา ๑ จัดการเรียนรู้แบบ ๑ มแี ผนการจัดการเรียนรูที่ ๑ ม เชงิ รุก (Active Learning) สอดคลองกับแนวการ ก จดั การเรยี นรูแบบเชงิ รกุ ค (Active Learning) ๒ มกี จิ กรรมการจัดการเรียนรู้ ๒ ม แบบเชงิ รกุ (Active เร Learning) ผ ป ๓ม ค ผ ๔ม น ๓ มสี อ่ื /นวตั กรรมในการ ๕ ม พัฒนาผูเ้ รียนที่สอดคลองกับ ส กจิ กรรมการจดั การเรยี นรู้ แ แบบเชิงรกุ (Active ร Learning) ๘ รร.ทบอ.คา่ ยนารายณศ์ กึ ษา แผนแม่บทพฒั นาโรง

ตัวชีว้ ัดความสาเร็จ โครงการ/กจิ กรรม มีแผนการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับแนว ๑ โครงการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้เชงิ รุก (Active การจัดการเรียนรู้แบบเชิงรุก(Active Learning) Learning) และสร้างสรรคด์ ว้ ยปัญญา ครบทุกรายวชิ า (Constructionism) มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามมาตรฐานการ ๒ โครงการนเิ ทศภายในและวจิ ัยในช้ันเรยี น รยี นรู้ ตวั ชีว้ ดั ของหลักสูตรสถานศึกษาท่ีเน้นให้ ผู้เรียนได้เรียนรู้ โดยผ่านกระบวนการคิดและ ปฏบิ ตั ิจริง มีการฝึกทักษะให้ผู้เรียนได้แสดงออก แสดง ความคิดเห็น สรุปองค์ความรู้ และนาเสนอ ผลงาน มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนสามารถ นาไปประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตประจาวันได้ มีส่ือ/นวัตกรรมในการพัฒนาผู้เรียนที่ ๓ โครงการประกวดสื่อและนวตั กรรมการเรยี นรู้ สอดคล้องกับกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ แบบเชิงรุก(Active Learning) ครบทุก รายวชิ า ๔ โครงการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือ บริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ ๕ โครงการพัฒนาห้องสมุดเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ด้วย ตนเองหรอื เรียนร้แู บบมสี ่วนร่วม ๖ โครงการพัฒนาWi-Fi และ อินเทอร์เน็ตสาหรับ นักเรยี น งเรยี น ๒๕๖๕ – ๒๕๖๗

ยทุ ธศาสตร์ (Strategic) กลยทุ ธ์ (Strategies) เป้าหมาย (Goals) ๔ มีการวัดผลและประเมินผล ๖ ม ผล การ เรี ย นรู ที่ ส ะท้ อน เป พัฒนาการของนักเรียนตาม สภาพจริง ๗ม เก ๘ม ใน ๒ จัดการเรยี นร้แู บบ ๕ มีแผนการจัดการเรียนรูที่ ๙ ม สร้างสรรค์ด้วย สอดคลองกบั แนวการจดั ก ปัญญา การเรียนรูแบบสร้างสรรค์ (Constructionism) ดว้ ยปญั ญา (Constructionism) ๖ มีกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ๑๐ ม แบบสร้างสรรค์ด้วยปัญญา เร (Constructionism) ผ ป ๑๑ ม ค ผ ๑๒ ม น แผนแม่บทพัฒนาโรงเรียน ๒๕๖๕ – ๒๕๖๗ รร.ทบอ.ค่ายนา

ตัวชวี้ ดั ความสาเร็จ โครงการ/กจิ กรรม มีวิธีการวัดและประเมินผลที่เหมาะสมกับ ๗ โครงการพัฒนาครูให้มีความรู้ด้านการวัดผลและ ป้าหมายในการจดั การเรียนรู้ ประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ มีการเปิดโอกาสให้ผู้เรี ยนและผู้ มีส่วน ๘ โครงการวัดผลและประเมนิ ผลตามสภาพจริง กีย่ วข้องมสี ่วนรว่ มในการวดั และประเมินผล มีการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนเพื่อนาไปใช้ ในการพฒั นาการเรียนรู้ มีแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีสามารถนาไปจัด ๙ โครงการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้เชงิ รุก (Active กิจกรรมการเรียนรู้ได้จริง Learning) และสร้างสรรคด์ ้วยปัญญา (Constructionism)** มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามมาตรฐานการ ๑๐ โครงการนิเทศภายในและวิจัยในชั้นเรียน** รยี นรู้ ตัวช้วี ดั ของหลกั สูตรสถานศึกษาที่เน้นให้ ผู้เรียนได้เรียนรู้ โดยผ่านกระบวนการคิดและ ปฏิบัติจรงิ มีการฝึกทักษะให้ผู้เรียนได้แสดงออก แสดง ความคิดเห็น สรุปองค์ความรู้ และนาเสนอ ผลงาน มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนสามารถ นาไปประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตประจาวันได้ ารายณศ์ ึกษา ๙

ยทุ ธศาสตร์ (Strategic) กลยุทธ์ (Strategies) เปา้ หมาย (Goals) ๗ มี สื่ อ/ น วั ต กร ร มใ นก า ร ๑๓ ม พัฒนาผู้เรียนที่สอดคลองกับ ส กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ แ แบบสร้างสรรค์ด้วยปัญญา (C (Constructionism) ๘ มีการวัดผลและประเมินผล ๑๔ ม ผล การ เรี ย นรู ที่ ส ะท้ อน ป พัฒนาการของนักเรียนตาม จ สภาพจรงิ ๑๕ ม เก ๑๖ ม ใน ** โครงการ ๙-๑๖ เหมือนกบั โครงการ ๑-๘ ของกลยทุ ธท์ ี่ ๑ ๑๐ รร.ทบอ.ค่ายนารายณ์ศกึ ษา แผนแมบ่ ทพฒั นาโรง

ตัวช้วี ดั ความสาเรจ็ โครงการ/กจิ กรรม ๑๑ โครงการประกวดสอ่ื และนวตั กรรมการเรียนรู้** มีสอื่ /นวัตกรรมในการพัฒนาผูเ้ รียนที่ สอดคลอ้ งกับกิจกรรมการจดั การเรยี นรู้ แบบสรา้ งสรรค์ด้วยปัญญา Constructionism) ครบทุกรายวิชา ๑๒ โครงการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือ บริหารจดั การและการจดั การเรียนรู้** ๑๓ โครงการพัฒนาห้องสมุดเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ด้วย ตนเองหรือเรียนรูแ้ บบมีส่วนร่วม** ๑๔ โครงการพัฒนาWi-Fi และ อินเทอร์เน็ตสาหรับ นกั เรียน** มีขั้นตอนการใช้เครื่องมือและวิธีการวัดและ ๑๕ โครงการพัฒนาครูให้มีความรู้ด้านการวัดผลและ ประเมินผลที่เหมาะสมกับเป้าหมายในการ ประเมินผลตามสภาพจรงิ ** จดั การเรยี นรู้ มีการเปิดโอกาสให้ผู้เรี ยนและผู้ มีส่วน ๑๖ โครงการวดั ผลและประเมนิ ผลตามสภาพจริง** กยี่ วข้องมีส่วนร่วมในการวดั และประเมินผล มีการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนเพื่อนาไปใช้ ในการพัฒนาการเรียนรู้ งเรียน ๒๕๖๕ – ๒๕๖๗

ยุทธศาสตร์ (Strategic) กลยุทธ์ (Strategies) เป้าหมาย (Goals) ๓ การพัฒนาสอ่ื การเรียนรู้ ๑ การจดั เครอื่ งมือและ ๑ จั ด ซื้ อ / จั ด ห า ส่ื อ ที่ เ ป็ น ๑ ม อปุ กรณ์สนบั สนนุ เ ค รื่ อ ง มื อ ห รื อ อุ ป ก ร ณ์ (H การเรยี นรู้ (Hardware) ประเภทต่าง ๆ ก (Hardware) เช่น เคร่ืองฉายภาพยนตร์ เคร่ืองฉายสไลด์ เคร่ืองฉาย ภาพข้ามศีรษะ เคร่ืองฉาย ภ า พ จ า ก ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ เครื่องรับโทรทัศน์ เคร่ือง เล่นซีดี/ดีวีดี เคร่ืองเสียง และ เครื่องคอมพิวเตอร์ ให้ เพยี งพอต่อการจัดการเรียน การสอน ๒ การจดั วัสดุ ๒ จัดซ้อื /จัดหาสือ่ วสั ดทุ ี่ตอ้ งใช้ ๒ ม โปรแกรมหรอื Hardware ในการนาเสนอ ก แอปพลเิ คชนั เชน่ ฟิลม์ แผ่นใส เทป ก สนับสนุนการเรยี นรู้ บันทกึ เสยี ง แผน่ ซีด/ี ดวี ดี ี (Software) และอุปกรณ์บันทึกขอ้ มูล คอมพิวเตอร์ให้เพียงพอต่อ การจดั การเรยี นการสอน แผนแมบ่ ทพฒั นาโรงเรียน ๒๕๖๕ – ๒๕๖๗ รร.ทบอ.ค่ายนา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook