ห น้ า | 61 บทที่ 4 การจดั การหลักสตู รและการจัดการขอ้ มลู การจัดการหลักสูตรในระบบบริหารการเรียนการสอนถือว่ามีความสาคัญอย่างมาก เพราะหลักสูตรเป็นส่วนกาหนดมาตรฐานการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพ โดยมีเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์อย่างชัดเจนว่าผู้เรียนควรเรียนรู้อะไร มีเน้ือหาสาระมากน้อย เพียงไร ควรได้รับการฝึกฝนให้มีทักษะในด้านใด และมีพัฒนาการท้ังในส่วนของร่างกาย จิตใจ สังคมและสติปัญญา ดังที่ สุมิตร คุณานุกร (2536) ได้กล่าวว่าหลักสูตร มีความสาคัญเพราะ เป็นเครือ่ งชีน้ าทางหรอื เป็นบทบัญญัติของรัฐในการจัดการศึกษา เพื่อให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับ การจัดการศึกษานาไปปฏิบัติ อีกท้ังยังเป็นเกณฑ์มาตรฐานทางการศึกษาและควบคุม การจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษา นอกจากนี้ต้องมีการจัดการข้อมูลในระบบบริหาร การเรียนการสอนให้มีความสอดคล้องกบั หลักสูตรที่ได้กาหนดไว้ 1. การจัดการหลกั สูตร การจัดการหลักสูตรเป็นระบบที่มีความสาคัญต่อระบบบริหารการเรียนการสอน เนือ่ งจากการจัดการหลักสูตรเป็นหัวใจสาคัญที่กาหนดมาตรฐานการเรียนรู้ ระบบการจัดการ หลักสูตรจึงทาให้การจัดการเรียนการสอนในระบบบริหารการเรียนการสอนมีความสะดวก และสามารถจดั การเรยี นการสอนได้ผลลัพธ์ตามเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1.1 ความหมายของหลักสูตร ห ลั ก สู ต ร จ า ก ทั ศ น ะ ข อ ง นั ก วิ ช า ก า ร ไ ด้ น า เ ส น อ ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง ห ลั ก สู ต ร ดังรายละเอียดต่อไปนี้ เซยเลอร์ อเล็กซานเดอร์ และเลวิส (Sayler, Alexander and Lewis, 1981) ได้ให้ ความหมายของหลักสูตรไว้ว่า หลักสูตร หมายถึง แผนการเรียนการสอนที่จัดโอกาสในการ เรียนรู้ให้แก่บุคคลทีไ่ ด้รบั การศกึ ษา
ห น้ า | 62 บีนส์และคณะ (Beane & others, 1986) ได้สรุปความหมายของหลักสูตรไว้ โดยใช้เกณฑ์ความเป็นรูปธรรม (Concrete) ไปสู่นามธรรม (Abstract) และจากการยึดโรงเรียน เป็นศูนย์กลาง (School - Centered) สู่การยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (Learner – Centered) โดย ได้อธิบายไว้ดังน้ี 1) หลกั สตู ร คือ ผลผลิตที่เกิดข้ึนจากกระบวนการจดั การศึกษา 2) หลกั สตู ร คือ โครงการหรอื แผนการในการจัดการศึกษา 3) หลักสตู ร คือ การเรียนรทู้ ีก่ าหนดไว้อย่างมคี วามหมาย 4) หลักสตู ร คือ ประสบการณข์ องผู้เรยี น โซเวลล์ (Sowell, 1996) ได้กล่าวว่า หลักสูตร คือ การสอนอะไรให้กับผู้เรียน ซึ่งมีความหมายที่กว้างขวาง ที่รวมทั้งข้อมูลข่าวสาร ทักษะและทัศนคติ ทั้งที่ได้กาหนดไว้และ ไม่ได้กาหนดไว้ให้แก่ผู้เรยี นในสถานศกึ ษา ชมพันธุ์ กุญชร ณ อยุธยา (2540) ได้กล่าวถึงหลักสูตรว่ามีความแตกต่างกันไป ตั้งแต่ความหมายที่แคบสุดจนถึงกว้างสุด ซึ่งสามารถจาแนกความคิดเห็นของนักการศึกษาที่ ได้ให้นิยามความหมายของหลักสตู รแบ่งออกเปน็ 2 กลุ่มใหญ่ ได้ดังนี้ 1) หลักสูตร หมายถึง แผนประสบการณ์การเรียนรวมถึงเนื้อหาวิชาของรายวิชา ต่าง ๆ กิจกรรมการเรียนการสอนและการประเมินผล 2) หลักสูตร หมายถึง ประสบการณ์การเรียนของผู้เรียน ที่สถาบันการศึกษา จัดให้แก่ผู้เรียนประกอบด้วย จุดมุ่งหมาย เนื้อหา การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การประเมนิ ผล รุจิร์ ภู่สาระ (2545) ได้อธิบายความหมายของหลักสูตรว่า หลักสูตรหมายถึง แผนการเรียนประกอบด้วยเป้าหมาย และจุดประสงค์เฉพาะที่จะนาเสนอและจัดการเน้ือหา รวมถึงแบบของการเรียนการสอนตามจุดประสงค์ และท้ายที่สุดจะต้องมีการประเมินผล ของการเรยี น จากความหมายดังกล่าว สรุปได้ว่า หลักสูตร หมายถึง แนวการจดั ประสบการณ์ หรือเอกสาร ที่มีการจัดทาเป็นแผนการจัดสภาพการเรียนรู้หรือโครงการจัดการศึกษา โดยมี การกาหนดวิธีการจัดการเรียนรู้ การกาหนดกิจกรรม การประเมินผล เพื่อให้ผู้เรียนเกิด ผลการเรียนรู้ตามจดุ ประสงค์หรอื จดุ มงุ่ หมายตามที่หลกั สูตรกาหนดไว้
ห น้ า | 63 1.2 องคป์ ระกอบของระบบการจดั การหลักสูตร ศยามน อินสะอาด (2550) ได้กล่าวว่า องค์ประกอบของระบบการจัดการ หลักสตู ร เป็นส่วนของการจัดการเกี่ยวกับระบบการเรียนการสอน โดยผู้สอนหรือผู้ดูแลระบบ เป็นผู้จัดทาระบบจัดการหลักสูตร ซึ่งถือว่าระบบจัดการหลักสูตรเป็นหัวใจสาคัญของระบบ บริหารการเรียนการสอน เนื่องจากเป็นส่วนของการจัดการเกี่ยวกับบทเรียนท้ังระบบ ประกอบด้วยส่วนสาคญั 4 ส่วน ได้แก่ 1.2.1 ส่วนจัดทาบทเรียน เป็นส่วนที่ผู้สอนหรือผู้พัฒนาบทเรียนเพิ่มเน้ือหา ลงในระบบบริหารการเรียนการสอน เช่น มูเดิ้ล โดยผู้สอนต้องสร้างหมวดหมู่รายวิชา และ รายวิชา ดังภาพที่ 4-1 เพื่อให้สะดวกในการจัดทาบทเรียนและง่ายต่อการจัดการรายวิชา โดยการสร้างเน้ือหา สามารถจะแยกส่วนออกมาเป็นตัวอักษร ภาพกราฟิก สื่อมัลติมีเดีย วีดิทัศน์ ภาพวาดทางวิศวกรรม เนื้อหาเอ็กซ์เอ็มแอล (XML) รูปภาพ ซึ่งในระบบบริหาร การเรียนการสอนอาจจะมีรูปแบบของเน้ือหาอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลาย ๆ อย่าง โดยเน้ือหา บนเว็บไซต์สามารถเพิ่มเนื้อหาได้หลายรูปแบบ เช่น เน้ือหาประกอบด้วยตัวอักษรอย่างเดียว ไปจนถึงสื่อประสมปฏิสัมพันธ์ที่อยู่ในรูปของสื่อการเรียนการสอน คู่มือออนไลน์ ภาพกราฟิก จากการจบั ภาพบนหนา้ จอคอมพิวเตอร์ และข้อมูลกราฟทีซ่ บั ซ้อน เป็นต้น ภาพที่ 4-1 ตัวอย่างหนา้ จอการสรา้ งหมวดหมู่รายวิชาในระบบบริหารการเรียนการสอนมูเดิล้
ห น้ า | 64 สุวิช ถิระโคตร (2554) ได้กล่าวว่า วิธีการสร้างเนื้อหาในเว็บไซต์หรือ ระบบบริหารการเรียนการสอนใหม้ ีประสิทธิภาพ แบ่งเป็น 7 ขั้นตอน ดงั น้ี 1) การเลือกเน้ือหา (Selecting for Digitization) ข้ันตอนแรกในวงจรชีวิต ของการสร้างเน้ือหาดิจิทัล คือ การเลือกเนื้อหาที่จะสร้างเป็นดิจิทัล ความเชื่อพื้นฐาน ของคนท่ัวไปมองว่าทุก ๆ อย่างจะเกิดมูลค่าในการจัดเก็บด้วยรูปแบบดิจิทัล แต่อาจจะ ไม่เสมอไป หากจะมองในมุมมองของความพึงพอใจหรือความเป็นไปได้ ในบางกรณีเทคโนโลยี อาจจะไม่มีความพร้อมที่เพียงพอ ราคาของการสร้างให้อยู่ในรูปดิจิทัล และการบารุงรักษา อาจจะเป็นราคาที่สูงเกินไป อย่างไรก็ตามหากมีแผนที่จะสร้างสิ่งใหม่ หรือทาสิ่งที่มีอยู่ให้เป็น ดิจทิ ลั กระบวนการเลือกและการจดั ลาดบั ก่อนหลงั ทีด่ ีน่าจะเปน็ จดุ หลกั ของความสาเร็จ 2) การสร้างเนื้อหาดิจิทัล (Creating Digital Content) การปฏิบัติที่ดี สาหรับการสร้างควรจะออกแบบและกาหนดรูปแบบของเน้ือหาสาหรับสิ่งแวดล้อมที่แตกต่าง กันไป ความสามารถของการปรับรูปแบบใหม่และการปรับวัตถุประสงค์เป็นจุดแข็งหนึ่ง ของการทาใหเ้ นือ้ หาดิจทิ ลั งา่ ยต่อการสรา้ งและเผยแพร่ 3) การอธิบายเน้ือหาดิจิทัล (Describing Digital Content) ถ้าต้องการที่จะ ให้เนื้อหาดิจิทัลที่สร้างขึ้นถูกจัดเก็บ ค้นหาพบและถูกใช้ได้ตลอดเวลา จาเป็นที่จะต้องมีการ จัดการไฟล์ที่ดี (เน้นที่การต้ังชื่อไฟล์) รวมทั้งบรรยายหรืออธิบายเนื้อหาดิจิทัลด้วยเมตาดาต้า ที่เกีย่ วข้องว่าเนือ้ หานีค้ ืออะไร มากจากไหน และใครเป็นผู้ใช้ 4) การจัดการเนื้อหาดิจิทัล (Managing Digital Content) เกี่ยวกับ การจัดการเน้ือหาดิจิทัล ประกอบไปด้วยการจัดการบันทึกรายการ (Record) และเล่มรวม (Collection) นอกจากนี้แล้วยังคงต้องจัดเตรียมเกี่ยวกับการเพิ่มเติมของเน้ือหา การลบ การโยกย้าย การปรับปรุง การเตรียมการสารองข้อมูล และการซ่อมบารุง เป็นกลยุทธ์ที่มี ความจาเป็นที่จะป้องกันไม่ให้เนื้อหาดิจิทัลที่สร้างขึ้นสูญหาย การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ไม่ว่าจะเป็นฮาร์ดแวร์หรือซอฟต์แวร์จาเป็นที่จะต้องเตรียมสาหรับการถ่ายโอนหรือโอนย้าย ทีเ่ ก็บรวมท้ังปรบั เปลี่ยนรปู แบบให้เข้ากบั แพลตฟอร์มใหมไ่ ด้ 5) การค้นพบเน้ือหาดิจิทัล (Discovering Digital Content) เม่ือเนื้อหา ดิจทิ ัลถูกสร้างข้ึน มีการจดั เกบ็ ลักษณะของไฟล์ข้อมูลที่มีเมตาดาต้า แสดงบางส่วนของเน้ือหา ท้ังหมด สิ่งนจี้ ะช่วยใหซ้ อฟต์แวรท์ ี่ใชส้ าหรับสืบค้นสามารถค้นพบเนื้อหาได้การที่เน้ือหาที่สร้าง สามารถพบการควบคุมทิศทางและการสืบค้นได้รวดเร็วเป็นหนทางหนึ่งที่จะทาให้เกิด การเรียนรไู้ ด้
ห น้ า | 65 6) ความสมารถในการใช้และใช้ซ้า(Enabling Use & Re-Use) เนื้อหา ดิจิทัลถูกสร้างขึ้นเพื่อการถูกสาเนา การกระจายและการปรับปรุงที่ง่าย ดังน้ันความสามารถ เกี่ยวกับการใชแ้ ละนามาใช้ซ้าเพือ่ ให้เกิดงานใหม่เป็นการเตรียมโอกาสทีย่ ิง่ ใหญ่ใหก้ ับผใู้ ช้ 7) การเก็บรักษาเน้ือหาดิจิทัล (Preserving Digital Content) เทคโนโลยี ดิจิทัลต้องพึ่งพาอาศัยสื่อที่สามารถอ่านขึ้นมาได้ ดังน้ันการถูกลบหรือเกิดความล้มเหลว กส็ ามารถเกิดขึ้นได้ เพื่อป้องกนั ความเสียหายของเนื้อหาจึงต้องมีแผนสาหรับการสาเนาเพื่อให้ เนือ้ หาสามารถที่จะถูกเคลือ่ นย้ายและถ่ายโอนไปยังหนว่ ยงานหรอื ผใู้ ห้บริการจดั เก็บได้ ดังตัวอย่างภาพที่ 4-2 เป็นการเพิ่มเนื้อหาบทเรียนในระบบบริหาร การเรียนการสอนมูเดิ้ล โดยผู้สอนหรือผู้พัฒนาสามารถเพิ่มเน้ือหาบทเรียนได้หลายรูปแบบ เชน่ ตัวหนังสือ รปู ภาพ วิดีทศั น์ เป็นต้น ภาพที่ 4-2 ตวั อย่างหนา้ จอการเพิ่มเนือ้ หาบทเรียนในระบบบริหารการเรียนการสอนมเู ดิ้ล 1.2.2 ส่วนกาหนดกิจกรรมการเรียนการสอน เป็นส่วนที่ผู้สอนหรือผู้พัฒนา บทเรียน เพิ่มกิจกรรมลงในระบบบริหารการเรียนการสอน โดยกิจกรรมการเรียนการสอน เน้นผู้เรยี นเป็นสาคัญ ดงั ที่ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยลงกรณ์ (2553) ได้กาหนดหลักในการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ที่ควรคานึงถึงในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ซึ่งมีความสอดคล้องกับ กิจกรรมในระบบบริหารการเรียนการสอน ได้แก่ 1) จัดกิจกรรมให้สอดคล องกับเจตนารมณ์ของหลักสูตร และมี ความสอดคล้องกบั จุดประสงค์การจดั การเรียนรแู้ ละเนือ้ หาวิชา
ห น้ า | 66 2) จัดกิจกรรมให้เหมาะสมกับวัย ความสามารถ ความสนใจของผู้เรียน และใชส้ ือ่ ในการเรียนรทู ีห่ ลากหลายและเหมาะสม 3) จัดกิจกรรมโดยใช้เทคนิควิธีการจัดการเรียนรูที่หลากหลายและมี ลาดับข้ันตอนที่การเรียนการสอนที่ชัดเจน 4) จัดกิจกรรมโดยเน้นการเรยี นอย่างมีความสุข 5) จัดกิจกรรมแล้วตอ้ งสามารถประเมินผลได้ 6) จัดกิจกรรมโดยให้ผู้เรียนเป็นผู้ทากิจกรรมและมีการส่งเสริม กระบวนการคิดของผู้เรียน ดังภาพตัวอย่างที่ 4-3 เป็นกิจกรรมก่อนเรียนที่ให้ผู้เรียนได้ทา กิจกรรม ใช้กระบวนการคิด โดยให้ศึกษาสถานการณ์ปัญหาที่เกิดขึ้นแล้วทาภารกิจที่ได้รับ มอบหมาย นอกจากนีย้ ังมีฐานความช่วยเหลือเปน็ ตวั ช่วยทาภารกิจให้ประสบผลสาเร็จ ภาพที่ 4-3 ตัวอย่างกิจกรรมในระบบบริหารการเรียนการสอนมเู ดิ้ล 1.2.3 ส่วนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เป็นส่วนที่ใช้สาหรับวัดและ ประเมินผลการเรียนรู้ในระบบบริหารการเรียนการสอน โดยสามารถประเมินผลได้ 3 ระยะ คือ การวัดประเมินผลก่อนเรียน ระหว่างเรียน และหลังเรียน โดยการวัดประเมินผลต้องคานึงถึง หลักมาตรฐานของสถานศึกษา ดังเช่น กระทรวงศึกษาธิการ (2553) ได้กาหนดการวัดและ ประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นกระบวนการเก็บรวบรวม ตรวจสอบ ตีความผลการเรียนรู้ และพัฒนาการด้านต่าง ๆ ของผู้เรยี น ตามมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดของหลักสูตร นาผลไปปรับปรุงพัฒนาการจัดการ
ห น้ า | 67 เรียนรู้ และใช้เป็นข้อมูลสาหรับการตัดสินผลการเรียน สถานศึกษาต้องมีกระบวนการจัดการ ที่เป็นระบบ เพื่อให้การดาเนินการวัดและประเมินผลการเรียนรู้เป็นไปอย่างมีคุณภาพ และ ประสิทธิภาพ จะทาให้ผลการประเมินตรงตามความรู้ความสามารถที่แท้จริงของผู้เรียน ถูกต้องตามหลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ สถานศึกษาจึงควรกาหนดหลักการ ดาเนินการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เพื่อเป็นแนวทาง ในการตัดสินใจเกี่ยวกับการวัดและ ประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสตู รสถานศกึ ษา ดงั น้ี 1) สถานศึกษาเป็นผู้รับผิดชอบการวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ ของผู้เรยี น โดยเปิดโอกาสใหผ้ ทู้ ี่เกีย่ วข้องมีสว่ นร่วม 2) การวดั และการประเมนิ ผลการเรียนรู้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาผู้เรียน และตัดสินผลการเรียน 3) การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ต้องสอดคล้องและครอบคลุม มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ชีว้ ัดตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่กาหนดในหลักสูตรสถานศึกษา และจัด ให้มกี ารประเมนิ การอา่ น คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตลอดจนกิจกรรม พัฒนาผู้เรยี น 4) การวัดและประเมินผลการเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการ จัดการเรียนการสอนต้องดาเนินการด้วยเทคนิควิธีการที่หลากหลาย เพื่อให้สามารถวัดและ ประเมินผลผู้เรียนได้อย่างรอบด้านท้ังด้านความรู้ ความคิด กระบวนการ พฤติกรรม และเจตคติ เหมาะสมกับสิ่งที่ต้องการวัด ธรรมชาติของรายวิชา และระดับช้ันของผู้เรียน โดยต้ังอยู่บนพืน้ ฐานของความเที่ยงตรง ยุติธรรม และเช่อื ถือได้ 5) ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผู้ เ รี ย น พิ จ า ร ณ า จ า ก พั ฒ น า ก า ร ข อ ง ผู้ เ รี ย น ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ การร่วมกิจกรรม และการทดสอบ ควบคู่ ไปกบั กระบวนการเรียนการสอนตามความเหมาะสมของแตล่ ะระดับและรูปแบบการศกึ ษา 6) เปิดโอกาสใหผ้ เู้ รียนและผู้เกี่ยวข้องตรวจสอบผลประเมินการเรยี นรู้ 7) ให้มีการเทียบโอนผลการเรียนระหว่างสถานศึกษาและระหว่าง รูปแบบการศกึ ษาต่าง ๆ 8) ให้สถานศึกษาจัดทาและออกเอกสารหลักฐานการศึกษา เพื่อเป็น หลักฐานการประเมนิ ผล
ห น้ า | 68 ภาพที่ 4-4 ตวั อย่างหน้าจอแบบทดสอบก่อนเรียนในระบบบริหารการเรียนการสอนมูเดิล้ 1.3 กรณีตวั อย่างระบบการจัดการหลักสูตร กรณีตัวอย่างใช้งานระบบการจัดการหลักสูตร โดยการใช้งานระบบบริหาร การเรียนการสอนมเู ดิล้ ในการสร้างรายวิชาขึน้ มาใหม่ มีขน้ั ตอนดงั น้ี 1.3.1 ผู้สอนเข้าสู่ระบบโดยใช้ชื่อในการเข้าสู่ระบบในช่อง “ชื่อผู้ใช้งาน” และ รหัสผ่าน ในช่อง “รหัสผ่าน” แล้วคลิกที่เข้าสู่ระบบ ดังภาพที่ 4-5 ภาพที่ 4-5 หนา้ จอการเข้าสู่ระบบ
ห น้ า | 69 1.3.2 จะปรากฏหน้าจอหลัก ให้คลิกที่หัวข้อ “การจดั การระบบ” เลือก “รายวิชา ท้ังหมด” แล้วคลิกหวั ข้อ “เพิม่ /แก้ไขรายวิชา” ภาพที่ 4-6 หนา้ จอหลกั การจัดการระบบ 1.3.3 จะปรากฏหนา้ จอแก้ไขรายวิชา โดยระบบจะแสดงประเภทหรอื หมวดหมู่ ของรายวิชาทีม่ อี ยู่ในระบบทั้งหมด ในที่น้ใี ห้คลกิ ที่ “เพิ่มรายวิชา” จะปรากฏหนา้ จอการเพิม่ รายวิชา ทาการเพิม่ รายละเอียดรายวิชาที่หัวข้อทัว่ ไป ดังภาพที่ 4-7 ภาพที่ 4-7 หน้าจอหลกั การเพิ่ม/แก้ไขรายวิชา
ห น้ า | 70 หมายเลข 1 คือ ประเภทของรายวิชา หมายเลข 2 คอื ชือ่ เตม็ ของชือ่ รายวิชา หมายเลข 3 คือ ชือ่ ย่อของรายวิชา หมายเลข 4 คือ รหัสรายวิชา หมายเลข 5 คือ บทคดั ยอหรอื คาอธิบายรายวิชา หมายเลข 6 คือ รูปแบบของการจัดการเรียนการสอน เช่น แบบหัวข้อ แบบรายสปั ดาห์ แบบกลุ่มสนทนา แบบสกอร์ม เปน็ ต้น หมายเลข 7 คือ จานวนหวั ข้อหรอื สัปดาห์ทีใ่ ชใ้ นการเรียนการสอน หมายเลข 8 คือ วนั เริม่ ตน้ รายวิชา หมายเลข 9 คือ การแสดงส่วนเนือ้ หาหรอื กิจกรรมทีป่ ิดหรอื ซ่อนไว้ หมายเลข 10 คือ จานวนข่าวหรอื ประกาศทีแ่ สดงในหน้าแรกของรายวิชา หมายเลข 11 คือ การแสดงคะแนนในการทาแบบทดสอบหรอื กิจกรรมต่าง ๆ 1.3.4 หลังจากน้ันคลิกที่ปุ่ม บันทึกการเปลี่ยนแปลง จะปรากฏหน้าจอในการ ต้ังค่าสถานะบทบาทของผใู้ ช้งานในรายวิชา ภาพที่ 4-8 หนา้ จอการตั้งค่าสถานะบทบาทของผู้ใช้งานในรายวิชา
ห น้ า | 71 หมายเลข 1 Administrator คือ ผดู้ แู ลระบบ สามารถจัดการข้อมูลทุกอย่าง ในระบบ หมายเลข 2 Course creator คือ ผสู้ ร้างรายวิชา สามารถสร้างรายวิชาใหม่ หมายเลข 3 Teacher คือ ผู้สอน สามารถสร้างรายวิชา สร้างกิจกรรม ต่าง ๆ จดั การเรยี นการสอนและให้คะแนนผู้เรยี น หมายเลข 4 Non-editing teacher คือ ผู้สอน สามารถสอนและให้คะแนน ผเู้ รียน หมายเลข 5 Student คือ ผู้เรียน สามารถเข้ามาเรียนและมาทากิจกรรม ในรายวิชา หมายเลข 6 Guest คือ ผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ ไม่สามารถเข้ามาเรียนได้ ยกเว้นแตว่ ิชาที่อนญุ าตให้ผู้เยี่ยมชมทวั่ ไปเข้ามาเรียนได้ 1.3.5 หากต้องการคลิกเพิ่มบุคคลเข้าไปในสถานะบทบาท ให้คลิกที่ชื่อบทบาท ที่ตอ้ งการ เชน่ หากต้องการเพิ่มผู้สอนให้คลิกที่ข้อความ Teacher จะปรากฏหน้าจอเพิ่มผู้สอน โดยระบบจะแสดงรายชื่อผู้ใช้งานท้ังหมดในระบบด้านซ้ายมือ ให้คลิกเลือกรายชื่อผู้สอน ที่ตอ้ งการ แล้วคลิกที่ปุ่ม “เพิ่ม” เพือ่ เลือกผสู้ อนเข้าในรายวิชา ภาพที่ 4-9 หนา้ จอการเพิ่มผสู้ อนเข้าสู่รายวิชา 1.3.6 จะปรากฏรายชื่อผู้สอนที่เลือกในรายวิชา แล้วหลังจากนั้นเพิ่มรายชื่อ ผู้เรียนเข้าสู่ระบบ โดยทาคล้ายกับการเพิ่มผู้สอน หลังจากน้ันคลิกที่ปุ่ม “คลิกที่นี่เพื่อเข้าไป ยงั รายวิชาของคุณ”
ห น้ า | 72 ภาพที่ 4-10 หน้าจอแสดงรายชอ่ื ผสู้ อนในรายวิชา 1.3.7 จะปรากฏหน้าจอรายวิชา โดยมีการแบ่งเนื้อหารายวิชาเป็นรายสัปดาห์ และสามารถเพิม่ เน้ือหาในช่อง “เพิ่มแหล่งข้อมลู ” และเพิ่มกิจกรรมในชอ่ ง “เพิ่มกิจกรรม” ภาพที่ 4-11 หนา้ จอแสดงการแก้ไข/เพิม่ เติมรายวิชา ดังตัวอย่างภาพที่ 4-12 เป็นการจัดทาบทเรียนในระบบบริหารการเรียน การสอนมูเดิ้ล โดยผู้สอนหรือผู้พัฒนาสามารถเพิ่มเน้ือหาบทเรียนได้หลายรูปแบบ เช่น ตัวหนังสือ หนา้ เว็บเพจ ไฟล์หรือเวบ็ ไซต์ เป็นต้น
ห น้ า | 73 ภาพที่ 4-12 ตวั อย่างหนา้ จอการเพิม่ แหล่งข้อมลู ในรายวิชา 2. การจดั การข้อมลู การจัดการข้อมูลเป็นระบบที่มีความสาคัญต่อระบบการเรียนการสอน เนื่องจาก การจัดเก็บไฟล์ข้อมูลในการใช้เพื่อการเรียนการสอน โดยการบันทึกข้อมูล เริ่มจากการบันทึก ข้อมูลที่เกิดขึ้นจากการเรียนการสอน เม่ือมีข้อมูลเพิ่มมากขึ้น จึงมีความพยายามเป็นอย่างยิ่ง ที่ต้องมีระบบการจัดการข้อมูลที่ดีในการจัดการข้อมูลให้มีระเบียบ สามารถค้นหาและเรียกใช้ ข้อมูลได้ 2.1 ความหมายของขอ้ มลู จากทศั นะของนกั วิชาการได้นาเสนอความหมายของขอ้ มลู ดงั ตอ่ ไปนี้ ทิโมทีและลินดา(Timothy and Linda , 2008) กล่าวว่า ข้อมูล คือ ข้อเท็จจริง ที่ยังไม่ผ่านการประมวลผล ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลแล้วเรียกว่าสารสนเทศ ข้อมูลจะเก็บ ไว้เป็นไฟล์ ซึ่งจาแนกออกเป็น 4 ประเภทคือ ไฟล์เอกสาร ไฟล์แผ่นตารางทาการ ไฟล์ ฐานขอ้ มูล และไฟล์การนาเสนอ พงษ์ศักดิ์ ผกามาศ (2553) ได้ให้ความหมายของข้อมูลว่า ข้อมูล หมายถึง ข้อมูลที่เกบ็ รวบรวมไว้ในคอมพิวเตอร์และจะถูกเรียกใช้เพื่อประมวลผลโดยโปรแกรมประยุกต์ ต่าง ๆ ข้อมูลดังกล่าวอาจเก็บอยู่ในแฟ้มข้อมูลเดียวหรือหลายแฟ้มหรืออยู่ในรูปฐานข้อมูล ที่เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลตั้งแต่ 1 แฟ้มข้อมูลขึ้นไป โดยเป็นแฟ้มข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน เกบ็ ไว้ในที่เดียวกันในหน่วยบนั ทึกข้อมลู สารอง
ห น้ า | 74 นันทนี แขวงโสภา (2556) ได้ให้ความหมายของข้อมูล คือ ข้อเท็จจริงต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องหรือคุณลักษณะของบุคคลส่ังของ สถานที่หรือเหตุการณ์ใด ๆ ที่เป็นท้ังตัวเลข เช่น ราคา ปริมาณ ส่วนสูง น้าหนัก ระยะทาง ข้อเท็จจริงที่ไม่ใช่ตัวเลขเช่น ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ ชื่อ สินค้า ข้อความ รูปภาพ เป็นต้น จากความหมายดังกล่าว สรุปได้ว่า ข้อมูล หมายถึง ข้อเท็จจริงที่ยังไม่ผ่าน การประมวลผลและมีการเก็บรวบรวมไว้ในคอมพิวเตอร์ มีการเรียกใช้เพื่อประมวลผลโดย โปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ 2.2 ระบบการจดั การขอ้ มูล (Data Management) เป็นส่วนที่ใช้สาหรับจัดการข้อมูลในระบบบริหารการเรียนการสอน เนื่องจาก ข้อมูลที่ผู้สอนและผู้เรียนใช้ประกอบการเรียนการสอนมีมาก ทาให้ต้องมีระบบการจัดการ ข้อมูลเข้ามาจัดการข้อมูลต่าง ๆ เช่น ข้อมูลเนื้อหา ข้อมูลการสอบ ข้อมูลผู้เรียน ซึ่งข้อมูล เหล่านีถ้ ูกจัดเก็บในฐานข้อมูลทีร่ ะบบได้ออกแบบ ประกอบด้วยส่วนสาคญั 5 ส่วน ดังน้ี 2.2.1 ส่วนการกาหนดการต้ังค่าพื้นฐาน เป็นส่วนการตั้งค่าการใช้งาน ของระบบบริหารการเรียนการสอน จะมีความแตกต่างกนั ไปตามสถานะของผใู้ ช้งาน ได้แก่ 1) สถานะผู้ดูแลระบบ สามารถต้ังค่าการใช้งานระบบได้ทั้งหมด เช่น การสร้างรายวิชา การกาหนดสิทธิ์ผู้ใช้งาน การสารองข้อมูล การเปลี่ยนการแสดงผลเว็บไซต์ การจัดการส่วนเสริมตา่ ง ๆ เปน็ ตน้ ภาพที่ 4-13 ตวั อย่างหนา้ จอการตงั้ ค่าพืน้ ฐานสาหรับผู้ดแู ลระบบในมูเดิล้
ห น้ า | 75 2) สถานะผู้สอน สามารถตั้งค่าการใช้งาน เช่น รายละเอียดข้อมูล ส่วนตัว การสร้างรายวิชา การกาหนดสิทธิ์ผู้เรียน การนาเข้าและส่งออกเนื้อหาหรือกิจกรรม และการตง้ั ค่าภาษาในการใชง้ าน เป็นต้น ภาพที่ 4-14 หนา้ จอการนาเข้ากิจกรรมการรายวิชาในระบบมูเดิ้ล 3) สถานะผู้เรียนสามารถต้ังค่าการใช้งาน เช่น การแก้ไขรายละเอียด ส่วนตวั และการตง้ั ค่าภาษาในการใชง้ าน เปน็ ต้น ภาพที่ 4-15 หนา้ จอการตั้งค่าพืน้ ฐานสาหรับผเู้ รียนในระบบมูเดิ้ล
ห น้ า | 76 2.2.2 สว่ นการจัดการข้อมลู ผเู้ รยี น เป็นการจัดการข้อมูลของผู้เรียน ที่สมัคร เข้ามาเรียนในรายวิชา ซึ่งมีการจัดเก็บข้อมูลของผู้เรียน เช่น ชื่อ-นามสกุล รูปภาพ สาขาวิชา สถานศึกษา อีเมล เบอร์โทรศัพท์ ช่วงเวลาที่เข้ามาใช้งานในระบบ เป็นต้น ดังภาพที่ 4-16 เป็นการจัดการข้อมูลผู้เรียนในระบบบริหารการเรียนการสอนมูเดิ้ล โดยจะแสดงรายชื่อ ของผู้เรยี นในรายวิชาทั้งหมด หากต้องการแก้ไขหรอื ดขู ้อมูลตา่ ง ๆ ก็สามารถคลิกชื่อ หรือคลิก รปู ภาพเพือ่ เข้าไปดูรายละเอียดของผู้เรยี น ภาพที่ 4-16 หนา้ จอการจดั การขอ้ มลู ผเู้ รียนในระบบมูเดิ้ล
ห น้ า | 77 2.2.3 ส่วนการจัดการข้อมูลผู้สอน เป็นการจัดการข้อมูลของผู้สอน ที่สมัคร เข้ามาเป็นผู้สอนในรายวิชา ซึ่งมีการจัดเก็บข้อมูลของผู้สอน เช่น ชื่อ-นามสกุล สาขาวิชา สถานศกึ ษา อีเมล เบอร์โทรศัพท์ ช่วงเวลาที่เข้ามาใช้งานในระบบ เป็นต้น ภาพที่ 4-17 หน้าจอการจัดการขอ้ มูลผสู้ อนในระบบมูเดิ้ล 2.2.4 ส่วนการรายงานผลการเรียน เป็นส่วนที่ระบบรายงานผลการทา กิจกรรม แบบทดสอบในการเรียนการสอนให้กับผู้เรียน ซึ่งระบบบริหารการเรียนการสอน บางระบบ สามารถให้ผู้สอนส่งออกผลคะแนนหรือผลการเรียน เพื่อสามารถนาไปต่อยอด หรอื นาไปประเมินผล เชน่ ส่งออกไฟล์ในรูปแบบ .pdf ไฟล์เอกสารตารางงาน เปน็ ต้น ภาพที่ 4-18 ตวั อย่างหนา้ จอรายงานผลการเรียนในระบบมเู ดิ้ล
ห น้ า | 78 2.2.5 ส่วนการสารองข้อมูล เป็นส่วนที่สารองข้อมูล คัดลอกแฟ้มข้อมูล เพื่อทาสาเนา หลีกเลี่ยงความเสียหายที่จะเกิดขึ้นในระบบบริหารการเรียนการสอน หากข้อมูล เกิดการเสียหายหรือสูญหาย สามารถนาข้อมูลที่สารองไว้มาใช้งานได้ทันที เช่น ข้อมูลผู้เรียน ข้อมลู รายวิชา ข้อมูลการใช้งาน เป็นต้น ภาพที่ 4-19 หนา้ จอการสารองขอ้ มลู ในระบบมเู ดิ้ล 2.3 ข้อดีของระบบการจัดการข้อมูล สชุ าติ สุภาพิมพ์ (2557) ได้กล่าวถึงข้อดรี ะบบการจัดการข้อมูลในระบบบริหาร การเรียนการสอน ไว้ดังนี้ 2.3.1 ผู้ใช้หลายฝ่ายสามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ เนื่องจากระบบฐานข้อมูล จะเกบ็ ข้อมูลทั้งหมดไว้ในที่เดียวกนั 2.3.2 ลดความซ้าซ้อนของข้อมูล เม่ือมีการแก้ไขข้อมูล จะแก้ไขข้อมูล ในฐานข้อมลู หลักเพียงแห่งเดียว 2.3.3 ข้อมูลมีความสมบูรณ์ เน่ืองจากไม่มีความซ้าซ้อนกัน ทาให้ฐานข้อมูล ถกู ต้องและเช่อื ถือได้อยู่เสมอ 2.3.4 ความม่ันคงของฐานข้อมูล เน่ืองจากระบบฐานข้อมูลแยกเป็นอิสระจาก โปรแกรมประยกุ ต์ ทาให้สามารถใช้งานได้จากโปรแกรมหลายโปรแกรม 2.3.5 บารุงรกั ษางา่ ย เนือ่ งจากข้อมลู ทั้งหมดถกู เกบ็ ไว้ที่เดียวกัน
ห น้ า | 79 3. สรุป การจัดการหลักสูตรและการจัดการข้อมูลเป็นส่วนที่กาหนดมาตรฐานการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนได้รับเนื้อหา และพัฒนาทักษะให้เกิดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งการจัดการ หลักสตู รในระบบบริหารการเรียนการสอน มีองค์ประกอบที่สาคัญ ประกอบด้วย 1) ส่วนจัดทา บทเรียน เน้นด้านเนือ้ หาที่เป็นทั้งตัวอกั ษร หรือภาพ 2) ส่วนกาหนดกิจกรรมการเรียนการสอน เน้นด้านกิจกรรมหรือการปฏิบัติชิ้นงาน เพื่อเพิ่มทักษะให้กับผู้เรียน และ 3) ส่วนการวัดและ ประเมินผลการเรียนรู้ เน้นการวัดและประเมินท้ังก่อนเรียน ระหว่างเรียน และหลังเรียน เพื่อให้ ทราบพฒั นาการของผู้เรยี น ผสู้ อนต้องมีการจัดการข้อมูลในการเรียนการสอน ต้ังแต่เริ่มบันทึกข้อมูล เพิ่ม แก้ไข หรือลบข้อมูล และจัดการข้อมูลให้มีระเบียบ สามารถค้นหาและเรียกใช้ข้อมูลได้ โดยมี ส่วนประกอบสาคญั ได้แก่ 1) การกาหนดการตง้ั ค่าพืน้ ฐาน เป็นการกาหนดสิทธิ์ผู้ใช้ให้สามารถ จัดการข้อมูลได้ เช่น ผู้ดูแลระบบสามารถจัดการทุกส่วนได้ ผู้สอนสามารถจัดการในส่วน เน้ือหาการเรียนการสอน 2) ส่วนการจัดการข้อมูลผู้เรียน เป็นการจัดการข้อมูลทั่วไป ของผู้เรยี น 3) ส่วนการจัดการข้อมูลผู้สอน เป็นการจัดการข้อมูลทั่วไปของผู้สอน และ 4) ส่วน การรายงานผลการเรียน ในส่วนน้ีระบบจะรายงานผลการทากิจกรรม แบบฝึกหัด แบบทดสอบ และแสดงออกมาในรูปแบบผลคะแนนหรอื ผลการเรียนได้
ห น้ า | 80 4. แบบฝึกหัด ตอนท่ี 1 จงตอบคาถามต่อไปน้ี 1. จงบอกความหมายของหลักสูตร 2. องค์ประกอบของระบบการจัดการหลกั สตู รมีอะไรบ้าง จงอธิบายมาพอสงั เขป 3. องค์ประกอบของระบบการจัดการหลักสูตร นักศึกษาคิดว่าส่วนใดมีความสาคัญ มากที่สดุ เพราะเหตุใด 4. ส่วนกาหนดกิจกรรมการเรียนการสอนในการจัดการหลักสูตร สามารถกาหนด กิจกรรมได้ด้วยวิธีใดบ้าง จงยกตัวอย่างมา 3 ข้อ พร้อมทั้งอธิบายพอสังเขป 5. ส่วนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในการจัดการหลักสูตร สถานศึกษามีส่วน เกีย่ วข้องในการวดั และประเมินผลอย่างไร จงอธิบายพอสงั เขป 6. จงบอกความหมายของข้อมลู 7. ระบบการจัดการข้อมูลมีสว่ นประกอบอะไรบ้าง จงอธิบายมาพอสังเขป 8. ในสถานะผู้ดูแลระบบ สามารถกาหนดการต้ังค่าพื้นฐานในการจัดการข้อมูลใน ระบบบริหารการเรียนการสอนอย่างไร 9. จงยกตวั อย่างข้อดขี องระบบการจดั การข้อมลู มาอย่างนอ้ ย 5 ข้อ 10. จงอธิบายว่าการจัดการหลักสูตร กับ การจัดการข้อมูล มีความเหมือนหรือ ต่างกันอย่างไร ตอนท่ี 2 ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่ม ๆ ละ 3 คน ทาการสร้างตัวอย่างบทเรียน 1 บทเรียน และศึกษา ร ะ บ บ ก า ร จั ด ก า ร ห ลั ก ก า ร ห ลั ก สู ต ร แ ล ะ ร ะ บ บ จั ด ก า ร ข้ อ มู ล ใ น เ ว็ บ ไ ซ ต์ http://demo.moodle.net/login/index.php โดยใช้ชื่อผู้ใช้งานและรหัสผ่านในการเข้าสู่ระบบดังนี้ ชื่อผใู้ ช้งาน (Username) รหัสผใู้ ชง้ าน (Password) Admin sandbox Manager sandbox Teacher sandbox Student sandbox
Search
Read the Text Version
- 1 - 20
Pages: