Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทัศนธาตุ

ทัศนธาตุ

Published by yuttana5984, 2021-02-03 04:12:32

Description: หนังสือ E-book ศิลปะพื้นฐาน เรื่องทัศนธาตุ

Keywords: ทัศนธาตุ

Search

Read the Text Version

ความหมายของศลิ ปะ ในสมัยโบราณ นกั ปราชญ์ได้ใหค้ วามหมายของศลิ ปะ (Art) ไว้วา่ ศลิ ปะ คือ สิ่งทีม่ นุษย์สร้างขึ้น ไม่ได้เปน็ สิง่ ที่เกิดขึน้ ตามธรรมชาติ เพราะฉะน้ัน ต้นไม้ ภเู ขา ทะเล น้าตก ความงดงามต่าง ๆ ตาม ธรรมชาติจึงไม่เป็นศลิ ปะ ดอกไม้ที่เหน็ ว่าสวยสดงดงามนกั หนา ก็ไม่ได้เป็นศลิ ปะเลย ถ้าหากเรายึดถือ ตามความหมายนี้แล้ว สิ่งที่มนุษย์สร้างสรรค์ขึ้นท้ังหลาย ก็ล้วนแล้วแต่เป็นศิลปะทั้งสิ้น ไม่ว่าจะ เป็น ภาพวาด ภาพพิมพ์ งานปั้น งานแกะสลัก เสื้อผ้าอาภรณ์ เคร่ืองประดับ ที่อยู่อาศัย ยานพาหนะ เครือ่ งใช้สอย ดอกกุหลาบ ทิวทศั นธ์ รชาติ ความงามในงาน ศิลปะออกเปน็ 2 ประเภท คอื 1. ความงามทางกาย (Physical Beauty) เป็นความงามของรูปทรงที่ก้าหนดเร่ืองราว หรือ เกิดจากการประสานกลมกลืนกันของทัศนธาตุ เป็นผลจากการจัดองค์ประกอบทางศิลปะ 2.ความงามทางใจ (Moral Beauty) ได้แก่ ความรู้สึก หรืออารมณ์ ที่แสดงออกมาจากงาน ศิลปะหรือ ที่ผู้ชมสัมผัสได้จากงานศิลปะนั้น ๆ ในงานศิลปะชิ้นหนึ่ง ๆ มีความงามทั้ง 2 ประเภทอยู่ ร่วมกัน แต่อาจแสดงออกอย่างใดอย่างหนึ่ง มากน้อยขึ้นอยู่กับประเภทของงาน เจตนาของผู้สร้าง และการรบั รู้ของผู้ชมด้วย ดังน้ัน จึงอาจสรุปได้ว่า “ศิลปะเป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นจากความคิดสร้างสรรค์เพื่อให้เกิด ความงาม และความพึงพอใจ” ที่มนุษย์ได้สร้างสรรค์สืบเนื่องกันมาตั้งแต่อดีตอันยาวนานจนถึง ปัจจุบัน และจะสร้างสรรค์สืบต่อไปในอนาคตให้อยู่คู่กับเผ่าพันธ์ุมนุษย์ไปตราบนานเท่านาน โดยมี การ สร้างสรรค์ พัฒนารูปแบบต่าง ๆ ออกไปอย่างมากมายไม่มีทีส่ ิน้ สุด

คุณค่าของงานทัศนศิลป์ มีคนเปน็ จา้ นวนมากยงั ไม่เข้าใจคณุ ค่าของงานทัศนศลิ ป์ คิดว่าทศั นศิลป์คือส่ิงทีเ่ กินความจ้าเป็นในการ ดา้ รงชีวติ อยู่ จรงิ อยู่ทัศนศิลป์มใิ ช่ปจั จยั 4 แตก่ ็ใหป้ ระโยชน์และมีคุณค่าต่อชีวติ มนุษย์ในด้านจติ ใจและ อารมณไ์ ม่มากก็น้อย การที่มนษุ ย์ผู้นน้ั จะรู้คุณค่าของงานทัศนศิลป์ได้นน้ั ตอ้ งเกิดความเข้าใจและเกิด ความชื่นชม ศรทั ธาเสียก่อน จึงจะรู้คุณค่าของงานทศั นศลิ ป์ได้ดี ดังนนั้ จึงจา้ เปน็ ต้องเรียนรู้คุณค่าของ งานทศั นศลิ ป์ โดยผลงานทัศนศิลป์สามารถ แบ่งคุณค่าได้เป็น 2 คณุ ค่าใหญ่ๆ คือ 1. คุณค่าทางความงาม (Aesthetics Value) ความประณีตความละเอียดมีระเบียบ น่าทึ่ง มโหฬาร ประหลาด แปลกหูแปลกตา และเป็นสิ่งที่มีคุณงามความดีหรือดีเลิศท้าให้ผู้พบเห็นเกิดความ ประทับใจไปอีกนาน สิ่งเหล่านี้เรียกรวมกันว่าคุณค่าทางความงาม ความงามที่มีอยู่ในงานทัศนศิลป์ เกิดจากการประสานกันของส่วนประกอบต่าง ๆ ของความงามเช่น จุด เส้น รูปร่าง รูปทรง สี แสงเงา พื้นผิว ความกลมกลืน และการจัดภาพ เป็นต้น โดยผู้สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์จะแสดงออกตาม ความรู้สึก ในแต่ละเหตุการณ์แต่ละสังคม เพราะความงามของแต่ละสังคมย่อมมีความแตกต่างกัน ดังนั้นถ้าต้ังใจมองงานทัศนศิลป์ทั้ง 3 แขนง อย่างจริงจังโดยสังเกตพิจารณาวิเคราะห์ทุกมุม จะเห็น คุณค่าหรอื เสน่หใ์ นตัวเอง 2. คุณค่าทางเร่ืองราว (Content Value) ผลงานทัศนศิลป์สามารถบอกเล่าเหตุการณ์ เร่ืองราว ความเชื่อ และรสนิยมของมนุษย์ในสังคมแต่ละสมัยทั้งทางตรงและทางอ้อม ดังน้ัน การมองคุณค่าใน แตล่ ะสมัยจงึ มคี วามแตกต่างกันออกไป คณุ ค่าทางเรื่องราวทีน่ า้ มาสร้างสรรค์ในงานทัศนศิลป์ มีดงั นี้ 1. คุณค่าเร่ืองราวเกี่ยวกบั ประวัติศาสตร์ 2. คณุ ค่าเร่อื งราวเกี่ยวกับความเชื่อในสิ่งเร้นลบั ศรัทธา

3. คุณค่าเรือ่ งราวเกี่ยวกบั ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี 4. คุณค่าเรือ่ งราวเกีย่ วกับการเมือง การปกครอง 5. คณุ ค่าเรื่องราวเกี่ยวกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 6. คณุ ค่าเรือ่ งราวเกีย่ วกบั วรรณคดี นทิ านพืน้ บ้าน ส้านวน คา้ พังเพย สภุ าษิต 7. คุณค่าเรอ่ื งราวเกีย่ วกับความเจรญิ ก้าวหน้าทางวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ทศั นธาตุ (Visual Elements) ใ น ท า ง ทั ศ น ศิ ล ป์ ห ม า ย ถึ ง ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ศิ ล ป ะ ที่ ม อ ง เ ห็ น ไ ด้ ป ร ะ ก อ บ ไ ป ด้ ว ย 1. จุด (Dot) หมายถึง รอยหรือแต้มที่มีลักษณะกลม ๆ ปรากฎที่พื้นผิว ซึ่งเกิดจากการจ้ิม กด กระแทก ด้วยวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น ดินสอ ปากกา พู่กัน และวัสดุปลายแหลมทุกชนิด จุด เป็นต้น ก้าเนิดของเส้น รูปร่าง รูปทรง แสงเงา พ้ืนผิว ฯลฯ เช่น น้าจุดมาวางเรียงต่อกนั จะเกิดเปน็ เส้นและการ นา้ จุดมาวางให้เหมาะสม กจ็ ะเกิดเป็นรูปร่าง รปู ทรง และลักษณะผวิ ได้ 2. เส้น (Line) เป็นสิ่งที่มีผลตอ่ การรบั รู้ เพราะท้าให้เกิดความรู้สกึ ต่ออารมณ์และจิตใจของ มนษุ ย์ เส้นเป็นพืน้ ฐานสา้ คัญของศลิ ปะทกุ แขนง ใช้ร่างภาพเพือ่ ถ่ายทอดสิง่ ที่เหน็ และสิ่งที่คิด จนิ ตนาการให้ปรากฏเป็นรูปภาพ

เสน้ (Line) หมายถึง การนา้ จดุ หลาย ๆ จดุ มาเรียงต่อกันไปในทิศทางใดทิศทางหน่งึ เปน็ ทาง ยาว หรอื สิ่งทีเ่ กิดจากการขดู ขดี เขียน ลาก ให้เกิดเปน็ ร้ิวรอย – เส้นนอน ให้ความรู้สกึ กว้างขวาง เงียบสงบ นิ่ง ราบเรียบ ผอ่ นคลายสายตา – เส้นตั้ง ให้ความรู้สกึ สงู สงา่ มนั่ คง แข็งแรง รุ่งเรือง – เส้นเฉียง ให้ความรสู้ ึกไม่มั่นคง เคลื่อนไหว รวดเร็ว แปรปรวน – เส้นโค้ง ให้ความรสู้ ึกอ่อนไหว สภุ าพอ่อนโยน สบาย นุ่มนวล เย้ายวน – เส้นโค้งก้นหอย ให้ความรู้สกึ เคลือ่ นไหว การคลีค่ ลาย ขยายตวั มึนงง – เส้นซิกแซกหรอื เส้นฟนั ปลา ให้ความรสู้ ึกรุนแรง กระแทกเปน็ หว้ งๆ ต่นื เต้น สบั สนวุ่นวาย และ การขัดแย้ง – เส้นประ ให้ความรู้สึกไม่ต่อเนอ่ื ง ไม่ม่ันคง ไม่แน่นอน เส้นกับความรสู้ ึกที่กล่าวมานีเ้ ปน็ เพียงแนวทางหนง่ึ ไม่ใช่ความรสู้ ึกตายตัว ท้ังนขี้ ึ้นอยู่กับการน้าไปใช้ ร่วมกับส่วนประกอบอื่น ๆ เชน่ เส้นโค้งคว้่าลง ถ้าน้าไปเขียนเปน็ ภาพปากในใบหนา้ การต์ ูนรูปคน ก็ จะให้ความรสู้ ึกเศร้า ผดิ หวัง เสียใจ แตถ่ ้าเป็นเส้นโค้งหงายขึ้น ก็จะให้ความรสู้ ึกอารมณด์ ี เป็นต้น 3. รปู ร่างและรปู ทรง รปู ร่าง (Shape) หมายถึง เส้นรอบนอกทางกายภาพของวตั ถุ สิ่งของเครือ่ งใช้ คน สตั ว์ และ พืช มี ลกั ษณะเปน็ 2 มิติ มีความกว้าง และความยาว รปู ร่าง แบ่งออกเปน็ 3 ประเภท คือ – รปู ร่างธรรมชาติ (Natural Shape) หมายถึง รปู ร่างที่เกิดขึน้ เองตามธรรมชาติ เชน่ คน สัตว์ และ พืช เป็นต้น

– รูปรา่ งเรขาคณิต (Geometrical Shape) หมายถึง รปู ร่างทีม่ นษุ ย์สร้างข้ึนมีโครงสรา้ ง แนน่ อน เชน่ รปู สามเหลี่ยม รูปสี่เหลย่ี ม และรูปวงกลม เป็นต้น – รปู ร่างอิสระ (Free Shape) หมายถึง รปู ร่างทีเ่ กิดขึน้ ตามความต้องการของผู้สร้างสรรค์ ให้ ความรสู้ ึกที่เปน็ เสรี ไม่มีโครงสรา้ งทีแ่ นน่ อนของตวั เอง เป็นไปตามอิทธิพลของ สิ่งแวดล้อม เช่น รูปร่างของหยดน้า เมฆ และควนั เป็นต้น

4. น้าหนักอ่อน-แก่ (Value) หมายถึง จ้านวนความเข้ม ความอ่อนของสตี ่าง ๆ และแสงเงาตามที่ ประสาทตารบั รู้ เมอ่ื เทียบกบั น้าหนกั ของสีขาว-ด้า ความออ่ นแก่ของแสงเงาทา้ ให้เกิดมติ ิ เกิดระยะใกล้ไกลและสมั พันธ์กับเรือ่ งสีโดยตรง 5. สี (Colour) หมายถึง ส่ิงทีป่ รากฎอยู่ท่ัวไปรอบ ๆ ตัวเรา ไม่ว่าจะเป็นสีทีเ่ กิดข้ึนเองในธรรมชาติ หรอื สง่ิ ทีม่ นษุ ย์สรา้ งขึน้ สีท้าให้เกิดความรู้สกึ แตกต่างมากมาย เช่น ท้าใหร้ ู้สึกสดใส ร่าเริง ต่นื เต้น หมน่ หมอง หรอื เศร้าซึมได้ เป็นต้น

6. บริเวณว่าง (Space) หมายถึง บริเวณทีเ่ ปน็ ความว่างไม่ใชส่ ่วนทีเ่ ปน็ รปู ทรงหรอื เนือ้ หาในการจัด องค์ ประกอบใดก็ตาม ถ้าปล่อยใหม้ ีพ้นื ทีว่ ่างมากและให้มรี ปู ทรงนอ้ ย การจดั นนั้ จะให้ความรสู้ ึกอ้าง อ้าง โดดเดีย่ ว

7. พืนผิว (Texture) หมายถึง พืน้ ผิวของวตั ถตุ ่าง ๆ ทีเ่ กิดจากธรรมชาตแิ ละมนุษย์สร้างสรรคข์ ึ้น พืน้ ผิวของวัตถทุ ีแ่ ตกต่างกนั ย่อมใหค้ วามรสู้ ึกทีแ่ ตกต่างกนั ด้วย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook