Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการสอนแบบบูรณาการ ม.ปลาย1-2563

แผนการสอนแบบบูรณาการ ม.ปลาย1-2563

Published by Phonnapha7777, 2020-06-09 23:41:57

Description: แผนการสอนแบบบูรณาการ ม.ปลาย1-2563

Search

Read the Text Version

การแบง่ ยุคสมยั ทางประวตั ศิ าสตร์ 1. การแบง่ ชว่ งเวลาทางประวัติศาสตร์ตามแบบสากล จดุ มุ่งหมายในการแบ่งชว่ งเวลาทางประวัติศาสตร์ เป็นยุคสมัยต่าง ๆ เพอื่ ใหเ้ กิดความสะดวกในการศึกษา ค้นควา้ เรอื่ งราวของมนษุ ยใ์ นอดตี และชว่ ยให้ เข้าใจง่ายขึ้น ช่วงเวลาทางประวตั ศิ าสตรต์ ามแบบสากลแบง่ ออกเป็น 2 สมัย คอื 1) สมัยก่อนประวัติศาสตร์ สมยั ก่อนประวัติศาสตร์ เป็นช่วงเวลาทม่ี นุษยย์ งั ไมร่ ้จู ักการประดิษฐ์ตัวอกั ษรขนึ้ ใช้ จงึ ยงั ไมม่ หี ลักฐาน ทางประวัติศาสตร์ท่ีเปน็ ลายลักษณ์อกั ษร ดงั นน้ั การศึกษาเร่อื งราวของมนษุ ยส์ มยั ก่อนประวัตศิ าสตร์ จึง ต้องอาศัยการวิเคราะห์และตีความจากหลักฐานทางโบราณคดีท่ี ค้นพบ เชน่ เคร่ืองมือ เครอ่ื งใช้ เคร่อื งประดับท่ที าจากหนิ โลหะ และโครงกระดกู มนุษย์ ปจั จุบันการกาหนดอายสุ มัยกอ่ นประวตั ศิ าสตรใ์ นประเทศไทย อาศยั พัฒนาการทางเทคโนโลยี แบบ แผนการดารงชพี และสงั คม ยุคสมัยทางธรณวี ทิ ยา นามาใชร้ ่วมกันในการกาหนดยคุ สมยั โดยสามารถแบ่ง ยุคสมัยกอ่ นประวัตศิ าสตร์ไดด้ งั นี้ 1.1) ยุคหนิ เรมิ่ เมือ่ ประมาณ 500,000 ถงึ 4,000 ปี ล่วงมาแลว้ แบ่งเปน็ 3 ยคุ ยอ่ ย ดงั นี้  ยุคหินเก่า (500,000 – 10,000 ปีมาแลว้ ) เปน็ ช่วงเวลาแรก ๆ ของมนุษยชาติ มนษุ ยร์ ู้จกั ใช้ เครื่องมือขวานหนิ กะเทาะ ในระยะแรก เคร่ืองมือจะมีลกั ษณะหยาบ โดยนาหินกรวดแม่นา้ มา กะเทาะเพยี งดา้ นเดียวและไม่ได้กะเทาะหมดทง้ั กอ้ น ใช้สาหรบั ขุดสับและสับตัด มนษุ ย์ ในยุคหนิ เก่า ดารงชีวิตอยา่ งเรร่ อ่ น ลา่ สัตวแ์ ละหาของปุากนิ เป็นอาหาร  ยคุ หนิ กลาง (10,000 – 6,000 ปมี าแลว้ ) เปน็ ชว่ งเวลาที่มนุษย์รู้จักทาเคร่อื งมอื เครือ่ งใช้สาหรบั ลา่ สตั วด์ ว้ ยหิน ท่ีมีความประณตี มากข้ึนและมนษุ ยใ์ นยุคหนิ กลางเริ่มรจู้ กั การอยูร่ วมกล่มุ เป็นสงั คมมาก ขน้ึ  ยคุ หินใหม่ (6,000 – 4,000 ปีมาแลว้ ) เป็นชว่ งเวลาทม่ี นษุ ย์รูจ้ กั ทาเคร่อื งมือด้วยหนิ ขัดเป็นมนั เรยี บ เรียกว่า ขวานหินขดั ใช้สาหรับตัดเฉอื นแบบมีดหรอื ต่อดา้ มเพื่อใช้เปน็ เคร่อื งมอื ขดุ หรือถาก มนุษย์ยคุ หินใหมม่ คี วามเจรญิ มากกว่ายุคก่อน ๆ รู้จักตง้ั ถิ่นฐานเปน็ หลกั แหล่ง รจู้ กั การ เพาะปลูก เล้ียงสัตว์ ทาภาชนะดินเผา 1.2) ยคุ โลหะ เปน็ ช่วงที่มนุษย์มี พัฒนาการดา้ นการทาเครื่องมอื เครื่องใช้ โดยรจู้ กั การนาแร่ธาตมุ าถลุงและ หลอมใช้หล่อทาเปน็ อาวธุ หรือเคร่อื งมอื และ เครื่องประดบั ต่าง ๆ แบ่งสมยั ไดต้ ามวัตถุของโลหะ คือ

 ยคุ สาริด (4,000 – 2,500 ปีมาแลว้ ) เป็นช่วงเวลาทีม่ นษุ ยร์ จู้ ักใชโ้ ลหะสาริด(ทองแดงผสมดีบุก) ทา เคร่ืองมอื เคร่อื งใช้และเคร่ืองประดับ มีชีวิตความเปน็ อยู่ทด่ี กี ว่ายุคหิน อาศัยอยรู่ ว่ มกนั เป็นชุมชน ขนาดใหญ่ขึ้น ร้จู กั ปลกู ข้าวและเลยี้ งสัตว์  ยุคเหลก็ (2,500 – 1,500 ปีมาแลว้ ) เป็นชว่ งเวลาท่ีมนษุ ยร์ จู้ กั นาเหลก็ มาทาเปน็ เครื่องมอื เครอื่ งใช้ ซ่งึ มคี ุณภาพดีแข็งแกร่งกว่าสาริด การดารงชีวติ ดว้ ยการเกษตรกรรม มกี ารติดตอ่ คา้ ขาย ระหว่างชุมชนตา่ ง 3.1) แบ่งตามสมยั หรอื ตามเวลาท่ีเรม่ิ มีตวั อกั ษร โดยแบ่งได้ 2 สมยั ดังน้ี  สมยั ก่อนประวตั ิศาสตร์ หมายถงึ ยคุ ทย่ี ังไม่มกี ารบันทึกเร่อื งราวเปน็ ลายลกั ษณ์อักษร แบ่ง ออกเป็นยคุ หิน(ยุคหนิ เกา่ ยคุ หินกลาง ยคุ หินใหม)่ และยคุ โลหะ(ยุคสารดิ ยุคเหล็ก) โดยมีการขุด ค้นพบหลักฐานทางโบราณคดีในภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศไทยตามลาดับ  สมัยประวัตศิ าสตร์ หมายถึง ยุคทีม่ นษุ ย์เรมิ่ มีการใชต้ วั อักษรบนั ทกึ เร่อื งราวเหตุการณต์ ่าง ๆ จาก หลกั ฐานที่คน้ พบได้แก่ หลักศิลาจารกึ 3.2) แบง่ ยคุ สมัยตามอาณาจักร ได้ มกี ารแบง่ ยุคสมัยตามอาณาจกั ร ได้แก่ อาณาจกั ร ทวารวดี (นครปฐม) อาณาจกั รละโว้(ลพบุร)ี อาณาจกั รตามพรลงิ ค(์ นครศรีธรรมราช) อาณาจกั รศรวี ชิ ยั (สุราษฎร์ ธานี) อาณาจักรหรภิ ุญชัย(ลาพูน) 3.3) แบง่ ยุคสมยั ตามราชธานี เปน็ การแบง่ ยุคสมัยทางประวัตศิ าสตร์ ตามราชธานี ของไทย เรยี งความลาดับ เช่น สมยั สโุ ขทยั สมยั อยธุ ยา สมัยธนบรุ แี ละสมยั รัตนโกสินทร์ 3.4) แบ่งยุคสมยั ตามพระราชวงศ์ เปน็ การแบ่งยุคสมยั ทางประวัตศิ าสตร์ตามพระราชวงศ์ เชน่ สมยั ราชวงศพ์ ระร่วง ของอาณาจักรสโุ ขทัย สมยั ราชวงศอ์ ทู่ อง สมัยราชวงศ์สุพรรณภูมิ สมยั ราชวงศ์ สโุ ขทัย สมัยราชวงศ์ปราสาททอง สมัยราชวงศบ์ ้านพลหู ลวง โดยทัง้ หมดเปน็ ชือ่ พระราชวงศท์ ี่ ครองราชย์สมบัตเิ ป็นกษัตรยิ ใ์ นสมัยอยธุ ยา ราชวงศจ์ ักรี ในสมยั รัตนโกสินทร์ 3.5) แบง่ ยคุ สมัยตามรัชกาล เปน็ การแบง่ ยุคสมัยในช่วงเวลาทพี่ ระมหากษตั ริย์พระองค์นั้นครองราชย์ อยู่ ไดแ้ ก่ รชั สมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ รชั สมยั สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช และรัชสมัย พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยูห่ ัว 3.6) แบ่งยุคสมยั ตามระบอบการเมอื งการปกครอง ได้แก่ สมยั สมบูรณาญาสิทธิราชย์และสมัย ประชาธปิ ไตย โดยถือเหตุการณก์ ารเปลย่ี นแปลงทางการเมอื ง เมอ่ื วันท่ี 24 มิถุนายน 2475 เป็นเสน้ แบ่ง ยคุ สมัยการเปลยี่ นแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธริ าชย์ เขา้ สู่ระบอบประชาธิปไตย

ใบงานท่ี 1 วิชา สค33104 วชิ าประวตั ศิ าสตร์ชาติไทย ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย คาชแ้ี จง : จงตอบคาถามต่อไปนใี้ หถ้ ูกตอ้ ง 1.เวลาทปี่ รากฏในศิลาจาลกึ “1205 ศก ปีมะแม พอ่ ขุนรามคาแหง หาใครใ่ จในในแลใส่รายสื่อไทยนน้ั ” เปน็ ศกั ราชใด........................................................................................................................................ เทียบเปน็ พุทธศกั ราชใด........................................................................................................ ................. 2.การแบง่ ยคุ สมยั ทางประวตั ิศาสตร์แบง่ ออกเปน็ .................................สมยั ไดแ้ ก่ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................. ................ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ......................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. 3.ยคุ หนิ แบง่ ออกเป็น 3 ยุคย่อย ได้แก่ ............................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................ ................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................... ......................... .............................................................................................................................................................................. ......................................................... ................................................. 4.สมยั ทางประวัตศิ าสตร์ คอื .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .................................................................................................................... ......................................................... 5.สมเดจ็ พระเจ้าตากสนิ ทรงยา้ ยเมืองหลวงมาอยู่ทก่ี รุงธนบรุ ี เนอ่ื งจากสาเหตใุ ด .............................................................................................................................................................................. ..................................................................................... ........................................ ............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

............................................................................ ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................ 6.สาเหตุใดทพี่ ระเจ้าตากสินทรงเลือกกรงุ ธนบุรเี ป็นเมอื งหลวง .............................................................................................................................................................................. ...................................................................................................... ....................... .............................................................................................................................................................................. .......................................................................... .................................. ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................

ใบความรู้ เร่ืองวธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตร์ เฮโรโดตสั Herodotus บดิ าแหง่ ประวตั ศิ าสตร์ ไดน้ าคาว่า ประวัติศาสตร์ history มาจากคาในภาษา กรกี วา่ historeo ทแี่ ปลวา่ การถกั ทอ มาเขียนเป็นชอ่ื เรือ่ งราวการทาสงครามระหวา่ งเปอรเ์ ซยี กบั กรกี โดยใช้ หลกั ฐานต่าง ๆ เปน็ ขอ้ มูล ในการเขียนเปน็ เร่อื งราว ซึง่ คล้ายกบั การถักทอผืนผา้ ใหเ้ ปน็ ลวดลายที่ต้องการ เฮ โรโดตัส Herodotus จงึ เป็น นกั ประวตั ศิ าสตร์คนแรก ทน่ี าหลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์ มาศึกษาเพือ่ เขียนเปน็ เร่อื งราว อยา่ งไรก็ตาม การศกึ ษาเหตุการณ์ในอดีต อาจมีผสู้ งสัยว่ามีทางเป็นไปได้หรอื ไม่และจะศึกษากัน อยา่ งไร เนอื่ งจากเหตุการณ์ประวตั ศิ าสตร์ เปน็ เหตุการณ์ที่ผ่านมาแลว้ และ บางเหตกุ ารณเ์ กดิ ข้นึ มานานมาก จนสุดวสิ ัยที่คนปจั จุบนั จะจาเร่ืองราวหรอื ศกึ ษาเหตกุ ารณ์ทเ่ี กดิ ข้ึนไดด้ ว้ ยตนเอง นกั ประวัติศาสตร์ ได้อาศัย รอ่ งรอยในอดีตเป็นขอ้ มลู ในการอธิบายเรอ่ื งราวต่าง ๆทเ่ี กิดขึ้นในอดีต ร่องรอยทีว่ ่าน้เี รียกว่า หลักฐาน ประวัติศาสตร์ วิธีการทางประวัติศาสตร์ การศกึ ษาประวตั ศิ าสตร์ มปี ัญหาที่สาคัญอย่ปู ระการหนง่ึ คอื อดีตทมี่ ีการฟื้นหรอื จาลองขึ้นมาใหม่ นนั้ มคี วามถูกต้องสมบรู ณแ์ ละเชื่อถอื ไดเ้ พียงใด รวมทัง้ หลักฐานท่ีเป็นลายลักษณ์อักษรและไมเ่ ปน็ ลายลกั ษณ์ อกั ษร ทีน่ ามาใช้ เป็นขอ้ มลู นัน้ มีความสมบูรณม์ ากนอ้ ยเพียงใด เพราะเหตุการณท์ างประวตั ศิ าสตร์มอี ยู่ มากมายเกนิ กว่าที่จะศึกษาหรอื จดจาได้หมด แตห่ ลักฐานท่ใี ช้เป็นขอ้ มูลอาจมีเพยี งบางสว่ น ดงั นน้ั วิธกี ารทางประวตั ศิ าสตรจ์ งึ มคี วามสาคญั เพ่ือใช้เป็นแนวทางสาหรับผ้ศู ึกษาประวัติศาสตร์ หรือ ผทู้ ่ีจะเรียนรู้ประวตั ิศาสตรจ์ ะไดน้ าไปใช้ดว้ ยความรอบคอบ ระมัดระวัง ไมล่ าเอยี ง และเกิดความนา่ เชอ่ื ถือได้ มากที่สดุ ในการสืบคน้ ค้นคว้าเรอ่ื งราวทางประวตั ศิ าสตร์ มีอยหู่ ลายวธิ ี เช่น จากหลกั ฐานทางวตั ถุที่ขดุ ค้นพบ หลกั ฐานทเ่ี ปน็ การบันทกึ ลายลักษณ์อักษร หลกั ฐานจากคาบอกเล่า ซ่งึ การรวบรวมเรื่องราวต่างๆทาง ประวัตศิ าสตรเ์ หลา่ น้ี เรยี กวา่ วิธกี ารทางประวตั ศิ าสตร์ วธิ ีการทางประวัตศิ าสตร์ คอื การรวบรวม พจิ ารณาไตร่ตรอง วเิ คราะห์และตีความจากหลักฐานแลว้ นามาเปรียบเทยี บอยา่ งเป็นระบบ เพือ่ อธบิ ายเหตุการณ์สาคัญท่ีเกดิ ขึ้นในอดีต ว่าเหตุใดจึงเกิดขึน้ หรอื เหตกุ ารณใ์ นอดีตนนั้ ไดเ้ กิดและคลค่ี ลายอยา่ งไร ซง่ึ เปน็ ความมงุ่ หมายท่สี าคญั ของการศกึ ษาประวัตศิ าสตร์ ประเภทหลกั ฐานประวตั ศิ าสตร์ 1. หลกั ฐานที่จาแนกตามความสาคญั 1.1 หลักฐานชัน้ ต้น 1.2 หลกั ฐานชั้นรอง 2. หลกั ฐานท่ีใช้อกั ษรเป็นตวั กาหนด 2.1 หลกั ฐานทเี่ ปน็ ลายลกั ษณอ์ ักษร 2.2 หลักฐานทไ่ี ม่เปน็ ลายลักษณ์อกั ษร 3. หลกั ฐานที่กาหนดตามจุดหมายของการผลิต 3.1 หลักฐานท่ีมนุษยต์ ้งั ใจสรา้ งขน้ึ 3.2 หลักฐานทม่ี ิไดเ้ ปน็ ผลผลิตทม่ี นุษย์สรา้ งหรอื ต้ังใจสรา้ ง 1.1 หลกั ฐานช้นั ตน้ primary sources หมายถงึ คาบอกเล่าหรือบันทกึ ของผ้พู บเหน็ เหตุการณห์ รือผู้ท่ีเก่ียวขอ้ งกบั เหตุการณ์โดยตรง ได้แก่ บันทึก การเดนิ ทาง จดหมายเหตุ จารึก รวมถงึ สิ่งกอ่ สรา้ ง หลักฐานทางโบราณคดี โบราณสถาน โบราณวัตถุ เชน่ โบสถ์ เจดยี ์ วิหาร พระพทุ ธรปู รูปปั้น หม้อ ไห

ฯลฯ 1.2 หลักฐานช้นั รอง secondary sources หมายถงึ ผลงานทเ่ี ขยี นข้ึน หรอื เรียบเรยี งขน้ึ ภายหลังจากเกิดเหตุการณ์นั้นแลว้ โดยอาศยั คาบอกเลา่ หรือ จากหลักฐานชน้ั ตน้ ตา่ งๆ ไดแ้ ก่ ตานาน วทิ ยานิพนธ์ เปน็ ต้น 2.1 หลักฐานท่ีเปน็ ลายลักษณอ์ กั ษร written sources หมายถึง หลักฐานทีม่ ีการบนั ทกึ เป็นลายลักษณอ์ กั ษรบอกเล่าเรอื่ งราวตา่ งๆ ไดแ้ ก่ ศิลาจารึก พงศาวดาร ใบลาน จดหมายเหตุ วรรณกรรม ชีวประวตั ิ หนังสือพมิ พ์ วารสาร นิตยสาร รวมถงึ การบันทึกไวต้ าม สงิ่ กอ่ สรา้ ง โบราณสถาน โบราณวัตถุ แผนท่ี หลกั ฐานประเภทนี้จัดว่าเป็นหลกั ฐานสมยั ประวัตศิ าสตร์ 2.2 หลักฐานท่ีไม่เปน็ ลายลักษณ์อกั ษร หมายถงึ สิ่งท่มี นษุ ย์สร้างขน้ึ ทง้ั หมดทีไ่ ม่เป็นลายลักษณ์อกั ษร ได้แก่ ส่ิงกอ่ สรา้ ง โบราณสถาน โบราณวัตถุ ศลิ ปการแสดง คาบอกเล่า นาฏศิลป์ ตนตรี จติ รกรรม ฯลฯ 3.1 หลักฐานทีม่ นุษย์ตัง้ ใจสรา้ งขึ้น artiface หลักฐานทมี่ นษุ ยส์ ร้างข้ึนเพื่อใช้ในการดารงชวี ิต 3.2 หลักฐานทม่ี ิไดเ้ ปน็ ผลผลติ ท่ีมนุษย์สร้างหรือต้ังใจสร้าง วธิ กี ารทางประวัติศาสตร์ หมายถงึ กระบวนการสืบค้นเรอื่ งราวในอดตี ของสังคมมนุษย์ เรม่ิ ตน้ ทค่ี วามอยากรู้ อยากเหน็ ของผู้ต้องการศึกษาและตอ้ งการสอบสวนค้นคว้าหาคาตอบด้วยตนเอง จากร่องรอยท่ีคนในอดีตได้ ทาไว้และตกทอดเหลือมาถงึ ปัจจบุ นั โดยไมห่ ลงเช่ือคาพูดของใครคนใดคนหนงึ่ หรืออ่านหนังสือเพียงเล่มใด เลม่ หนงึ่ แล้วเช่อื ว่าเปน็ จริง สิง่ ท่ีต้องทาเป็นอนั ดบั แรกของการสืบคน้ อดตี เมื่อมปี ระเดน็ ท่ีต้องการสืบคน้ แลว้ คอื การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลจากหลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์อยา่ งกวา้ งขวางและละเอียดลออ ดว้ ยวิธีการต่างๆ เช่น สอบถามผูร้ ู้ ศึกษาเอกสาร เรียนรู้จากแหล่งเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง ตรวจสอบขอ้ มูลจากหลักฐานทุกชนิ้ ดว้ ย จติ สานึกว่า หลักฐานไมไ่ ด้บอกความจรงิ ทง้ั หมด หรอื บอกความจรงิ เสมอไป แล้วรวบรวมขอ้ เท็จจริงทไ่ี ด้ จากนั้นนาเสนอผลที่ศกึ ษาไดพ้ รอ้ มอา้ งอิงหลกั ฐานใหช้ ัดเจนเพอื่ ให้ผู้อนื่ ตรวจสอบ หรอื ศกึ ษาคน้ ควา้ ต่อไปได้ ขน้ั ตอนของวธิ กี ารทางประวัตศิ าสตร์ ประกอบดว้ ย 1. การกาหนดหวั ข้อเร่อื งที่ต้องการศึกษาให้ชดั เจน (เรอ่ื งอะไร ชว่ งเวลาใด ทไี่ หน) 2. รวบรวมขอ้ มลู จากหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตรใ์ หค้ รบถ้วน ครอบคลุม 3. ตรวจสอบความจริงจากหลักฐาน ท่ีเรียกวา่ การวิพากษ์วธิ ีทางประวตั ศิ าสตร์ 4. วิเคราะห์ขอ้ มลู และตีความเพ่ือค้นหาขอ้ เทจ็ จรงิ 5. นาเสนอผลงานความรทู้ ่ีค้นพบ โดยปราศจากอคตแิ ละความลาเอียง วิธกี ารทางประวตั ิศาสตร์กบั วธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์ วิธีการทางประวตั ศิ าสตร์ กับวิธีการทางวิทยาศาสตร์ มีบางส่วนทคี่ ล้ายคลึงกัน และมีบทส่วนแตกต่างกันดังนี้ 1. วธิ กี ารทางประวัติศาสตร์มกี ารกาหนดประเด็นปัญหา เพ่ือสืบค้นหาคาตอบ เช่นเดียวกบั วิธกี าร ทางวิทยาศาสตร์ทีม่ ีการสรา้ งสมมติฐานขนึ้ แล้วทดลองเพอื่ ตรวจสอบสมมติฐานนนั้ 2. วธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตรใ์ ช้วิธกี ารสรา้ งสถานการณใ์ หม่ หรือ ทดลองเพ่อื ทดสอบสมมติฐานทีต่ ้งั ขนึ้ แตน่ กั ประวัตศิ าสตร์ไม่สามารถสร้างสถานการณ์ขึ้นใหมใ่ หเ้ หมือนกับสถานการณ์ทเี่ กิดขึน้ จรงิ ในอดตี ได้ เพราะเหตกุ ารณท์ ่ีเกดิ ข้นึ ในอดตี จะเกิดข้ึนคร้ังเดยี ว มีลกั ษณะเฉพาะ และไมส่ ามารถสร้างซา้ ไดอ้ ีก แตน่ กั ประวัตศิ าสตร์จะรวบรวมข้อมลู จากหลกั ฐานอย่างหลากหลาย ตรวจสอบความน่าเช่ือถอื ของหลกั ฐาน จนกระท่งั ไดข้ ้อมูลทจ่ี ะสร้างความม่ันใจวา่ จะสามารถอธิบายและสรปุ เป็นหลักการได้ ดังนั้นแม้นกั

ประวัติศาสตร์จะมิได้เห็นเหตกุ ารณ์นน้ั โดยตรง แตพ่ ยายามหาขอ้ มูลใหม้ าก เพ่ือใหไ้ ดข้ ้อเท็จจริงให้ถกู ตอ้ งตาม ความเปน็ จรงิ ทีน่ ่าเป็นไปได้ แตน่ กั วิทยาศาสตรจ์ ะทดสอบหรือทดลองให้ได้ผลสรปุ ดว้ ยตนเอง 3. การนาเสนอผลงานของนักวิทยาศาสตร์ และนักประวัตศิ าสตร์ก็อาศัยหลกั การความเป็นไปได้มา คาดคะเน และสรุปผลเชน่ กัน แต่ผลสรุปทางวิทยาศาสตร์ จะสามารถนาไปทดลองซ้าๆ กจ็ ะได้ผลเชน่ นั้นทุก คร้งั แต่ผลสรุปทางประวัติศาสตร์ไมส่ ามารถนาไปทดลองได้ และมคี วามแตกต่างท่ีเปน็ “มิติของเวลา” เช่นเดยี วกบั ศาสตรท์ างสงั คมศาสตร์อื่นๆ ทีไ่ มส่ ามารถควบคมุ ปัจจยั ท่เี ปน็ ตวั แปรไดท้ ้งั หมด 4. ประวัติศาสตร์เป็นศาสตร์ทีไ่ มส่ ามารถนิยามคาเฉพาะ เพราะความหมายจะไม่ชดั เจนตายตวั ในทุก กาลและเทศะ เช่น ประชาธิปไตยของท้องถนิ่ หน่งึ กับอีกท้องถิน่ หน่งึ จะมีนยั แตกต่างกนั ขนึ้ อยู่กบั ผใู้ ช้หรอื ผู้ นยิ าม ซง่ึ แตกต่างกับวทิ ยาศาสตรท์ ี่สามารถใหน้ ิยามคาเฉพาะทมี่ ีความหมายตายตวั ไมเ่ ปลี่ยนแปลงตามเวลา และสถานท่ี คณุ ค่าของวธิ กี ารทางประวัติศาสตร์ คณุ ค่าของวธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตร์ ไดแ้ ก่ 1. วธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตร์เปน็ วิธีการวจิ ัยเอกสารและหลักฐานอ่นื ๆ ทเ่ี ปน็ รอ่ งรอยจากอดตี อยา่ งกวา้ งขวาง เพอ่ื ใหไ้ ดม้ าซ่งึ ความรใู้ หมบ่ นพื้นฐานของการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ที่รวบรวมมาอยา่ งเปน็ ระบบ และมเี หตุมีผล 2. ข้ันตอนการวพิ ากษว์ ิธีทางประวัตศิ าสตร์หรือการตรวจสอบความจรงิ จากขอ้ มูลและหลักฐาน ซ่ึง เป็นขน้ั ตอนของการคน้ หาความหมายที่ซุกซ่อนอยใู่ นหลกั ฐานจะทาใหผ้ ู้ศึกษาประวตั ศิ าสตร์ระมดั ระวงั และ คดิ พจิ ารณาข้อเท็จ และขอ้ จรงิ ทีแ่ ฝงอยูใ่ นหลักฐานให้ชดั เจน 3. วิธกี ารทางประวตั ศิ าสตรเ์ นน้ การเขา้ ใจอดตี คือ การให้ผู้ศึกษาเหตกุ ารณ์ในประวัติศาสตรต์ ้องทา ความเข้าใจยคุ สมัยที่ตนศกึ ษา เพอื่ ให้เข้าถึงความคิดของผ้คู นในยุคนนั้ โดยไม่นาความคิดของปจั จุบันไปตัดสิน อดตี อยา่ งไรก็ตาม เมอื่ ประวตั ศิ าสตร์คือการสืบค้นอดีตของสังคมมนษุ ย์ วิธกี ารทางประวตั ศิ าสตรซ์ ง่ึ เป็น วิธีการในการสืบสวนและค้นคว้า จึงนับเป็นวิธกี ารทางวิทยาศาสตรใ์ นรูปแบบหน่งึ ที่มีเหตผุ ลประกอบผลสรุป นน่ั เอง

ใบงานท่ี 2 วิชา สค33104 วชิ าประวัติศาสตร์ชาติไทย ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย คาชี้แจง : จงตอบคาถามต่อไปน้ีใหถ้ ูกตอ้ ง 1.จงบอกความสาคญั และประโยชน์ ของวิธกี ารทางประวัติศาสตร์ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................ ................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................ ................................................. .............................................................................................................................................................................. 2.จงอธิบายข้ันตอนวิธีการทางประวัติศาสตร์ .............................................................................................................................................................................. ....................................................... ................................................. .............................................................................................................................................................................. ......................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. ............................................................................. ................................................ .............................................................................................................................................................................. 3.ให้นกั ศึกษาอธบิ ายขั้นตอนของวธิ กี ารทางประวตั ิศาสตรแ์ ตล่ ะขัน้ ตอนมาพอสงั เขป ขั้นที่ 1 .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................ ................................................. .............................................................................................................................................................................. ขนั้ ที่ 2 .............................................................................................................................................................................. ............................................................................ ................................................. .............................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................... ........................... ขั้นที่ 3 .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ................................ ............................................................................................................................. .................................................

ข้นั ท่ี 4 .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................ ................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................ ................................................. ขั้นที่ 5 .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................ ................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................ ................................................. 4.จงอธบิ ายการจาแนกกลุ่มหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ .............................................................................................................................................................................. ................................................................................................................. ............ .............................................................................................................................................................................. ...................................................................... ................................................. ....................................................................................................................................................... ....................... ............................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. 5.นกั ศกึ ษาไดป้ ระโยชนอ์ ะไรจากการศึกษาวธิ กี ารทางประวัตศิ าสตร์ ............................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................ ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................

พระมหากษตั ริยร์ ชั กาลท1ี่ -10 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาู จฬุ าโลกมหาราช (รัชกาลท่ี๑) พระราชประวัตริ ัชกาลท่ี 1 แหง่ ราชวงศจ์ ักรี พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟูาจุฬาโลกมหาราช(ประสตู ิ พ.ศ. 2279 ข้ึนครองราชย์ พ.ศ. 2325 - พ.ศ. 2352) มพี ระนามเดมิ ว่า ทองด้วง พระราชประวตั ิ พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟูาจุฬาโลก ทรงเปน็ ปฐมกษตั ริย์แหง่ พระบรมราชวงศจ์ กั รี ทรงพระนามเต็มว่า

\" พระบาทสมเดจ็ พระบรมราชาธริ าชรามาธิบดี ศรสี นิ ทรบรมมหาจกั รพรรดิราชาธิบดนิ ทร์ ธรณินทราธิราชรตั นากาศภาสกรวงศอ์ งค์ปรมาธเิ บศร ตรีภูวเนตรวรนารถนายก ดลิ กรัตน ชาติอาชาวศรัย สมุทยั วโรมนต์สกลจกั รฬาธิเบนทร์ สุรเิ ยนทราธบิ ดนิ ทรหรหิ รินทรธาดาธิ บดี ศรสี ุวบิ ุลยคณุ ธขนิษฐ์ ฤทธริ าเมศวรมหันตบ์ รมธรรมกิ ราชาธิราชเดโชไชย พรหมเทพา ดเิ ทพนฤดนิ ทร์ภมู ินทรปรามาธิเบศร โลกเชฎฐวสิ ุทธ์ริ ตั นมกุฎประเทศคตามหาพทุ ธางกูร บรมบพติ ร พระพทุ ธเจา้ อยหู่ ัว \" ทรงประสูติเมื่อวันท่ี 20 มีนาคม พ.ศ. 2279 พระราชบิดาทรงพระนามว่า ออกอักษรสุนทรศาสตร์ พระราชมารดาทรงพระนามว่า ดาวเรือง มีบุตรและธดิ ารวมทงั้ หมด 5 คน คอื คนที่ 1 เปน็ หญิงชอ่ื \"สา\" ( ตอ่ มาไดร้ ับสถาปนาเปน็ พระเจ้าพน่ี างเธอกรมสมเด็จพระเทพสุดาวดี ) คนท่ี 2 เป็นชายชอ่ื \"ขุนรามนรงค์\" ( ถึงแก่กรรมกอ่ นท่จี ะเสยี กรงุ ศรอี ยุธยาแก่พมา่ คร้ังที่ 2 ) คนที่ 3 เป็นหญิงชอ่ื \"แกว้ \" ( ตอ่ มาไดร้ บั สถาปนาเป็นพระเจ้าพ่ีนางเธอกรมสมเด็จพระศรีสุดารักษ์ ) คนที่ 4 เป็นชายชอ่ื \"ดว้ ง\" (พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟาู จุฬาโลกมหาราช ) คนที่ 5 เป็นชายช่ือ \"บญุ มา\" ( ตอ่ มาได้รับสถาปนาเปน็ กรมพระราชวงั บวรมหาสุรสิงหนาท สมเดจ็ พระอนุชาธริ าช ) เมอ่ื เจริญวัยไดถ้ วายตัวเปน็ มหาดเล็กในสมเดจ็ พระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟูาอทุ มุ พร พระชนมายุ 21 พรรษา ออกบวชท่ีวัดมหาทลาย แลว้ กลบั มาเปน็ มหาดเล็กหลวงใน แผน่ ดนิ พระเจา้ อุทุมพร พระชนมายุ 25 พรรษา ได้รบั ตัวแหน่งเป็นหลวงยกกระบัตร ประจาเมอื งราชบรุ ใี น แผน่ ดนิ พระทน่ี งั่ สุริยามรินทร์ พระองคไ์ ดว้ ิวาหก์ ับธดิ านาค ธดิ าของท่านเศรษฐที องกบั สม้

พระชนมายุ 32 พรรษา ในระหว่างทรี่ ับราชการอยกู่ ับพระเจ้ากรุงธนบุรี ไดเ้ ล่ือนตาแหน่ง ดงั นี้ พระชนมายุ 33 พรรษา พ.ศ. 2312 ไดเ้ ลื่อนเป็นพระยาอภยั รณฤทธิ์ เม่อื พระเจา้ กรุง ธนบุรปี ราบชุมนมุ เจา้ พิมาย พระชนมายุ 34 พรรษา พ.ศ. 2313 ไดเ้ ลือ่ นเปน็ พระยายมราชทส่ี มุหนายกเม่ือพระเจ้า กรุงธนบรุ ไี ปปราบชมุ นมุ เจ้าพระฝาง พระชนมายุ 35 พรรษา พ.ศ. 2314 ได้เล่ือนเป็นเจา้ พระยาจกั รี เม่ือคราวเป็น แมท่ พั ไปตีเขมรคร้ังท่ี 2 พระชนมายุ 41 พรรษา พ.ศ. 2321 ไดเ้ ล่อื นเปน็ สมเด็จเจา้ พระยามหากษตั ริยศ์ กึ เมื่อคราวเป็นแม่ทัพใหญ่ไปตเี มืองลาวตะวนั ออก พ.ศ. 2323 เปน็ ครั้งสุดท้ายท่ไี ปปราบเขมร ขณะเดียวกบั ที่กรุงธนบรุ ีเกดิ จลาจล จงึ เสด็จยกกองทพั กลบั มากรุงธนบุรี เมอ่ื พ.ศ. 2325 พระองคท์ รงปราบปราม เส้ยี นหนามแผ่นดนิ เสร็จแลว้ จึงเสด็จข้ึนครองราชสมบตั ปิ ราบดาภิเษก แล้วได้มี พระราชดารัสใหข้ ดุ เอาหีบพระบรมศพของพระเจา้ กรุงธนบุรีข้นึ ต้งั ณ เมรุวัดบาง ยเ่ี รือพระราชทานพระสงฆบ์ ังสกุ ลุ แลว้ ถวายพระเพลิงพระบรมศพ เสร็จแล้วใหม้ ี การมหรสพ

พระราชกรณียกจิ ดา้ นการสถาปนากรุงรัตนโกสนิ ทร์เป็นราชธานี พระราชกรณียกจิ ประการแรกที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟูาจุฬาโลกมหาราช ทรงจดั ทาเม่ือเสดจ็ ขน้ึ ครองราชย์ คอื การโปรดเกลา้ ฯ ใหต้ ้งั กรุงรตั นโกสินทร์เป็นราชธานีใหม่ ทางตะวันออกของแมน่ า้ เจา้ พระยา แทนกรุงธนบุรี ดว้ ยเหตผุ ลทางดา้ นยุทธศาสตร์ เนื่องจากกรงุ ธนบรุ ีตง้ั อยบู่ นสองฝัง่ แม่น้า ทาให้การลาเลียงอาวุธยทุ ธภณั ฑ์ และการรกั ษา พระนครเปน็ ไปได้ยาก อีกทัง้ พระราชวังเดมิ มพี ื้นที่จากดั ไมส่ ามารถขยายได้ เนื่องจากติดวัดอรุณราชวราราม และวดั โมฬีโลกยาราม ส่วนทางฝั่งกรงุ รัตนโกสนิ ทรน์ น้ั มีความเหมาะสมกวา่ ตรงท่ีมพี ื้นแผน่ ดินเป็นลกั ษณะหัวแหลม มแี ม่น้าเปน็ คเู มืองธรรมชาติ มีชยั ภมู เิ หมาะสม และสามารถรบั ศกึ ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี การสร้างราชธานีใหม่น้นั ใชเ้ วลาทง้ั สิน้ ๓ ปี โดยพระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟาู จฬุ าโลกมหาราช ทรงทาพิธยี กเสาหลักเมือง เม่อื วันอาทติ ย์ เดือน ๖ ข้ึน ๑๐ ค่า ปีขาล จศ.๑๑๔๔ ตรงกับวนั ที่ ๒๑ เมษายน พศ.๒๓๒๕ และโปรดเกลา้ ฯให้สรา้ ง พระบรมมหาราชวงั สบื ทอดราชประเพณี และ สร้างพระอารามหลวงในเขตพระบรมมหาราชวงั ตามแบบกรุงศรอี ยธุ ยา ซง่ึ การสร้างเมอื งและพระบรมมหาราชวังเป็นการสืบทอดประเพณี วฒั นธรรม และศิลปะกรรมดัง้ เดมิ ของชาติ ซึง่ ปฏิบตั กิ นั มาตงั้ แต่สมัยกรงุ ศรีอยุธยา และไดพ้ ระราชทานนามแกร่ าชธานีใหมน่ ว้ี า่ “กรงุ เทพมหานคร บวรรตั นโกสินทร์ มหนิ ทรายทุ ธยา มหาดลิ กภพ นพรัตนราชธานีบรู รี มย์ อุดมราชนเิ วศน์มหาสถาน อมรพิมานอวตารสถิต สกั กะทตั ตยิ ะวษิ ณุกรรมประสทิ ธิ์” ตอ่ มาพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั ทรงแปลงสรอ้ ย “บวรรตั นโกสินทร”์ เป็น “อมรรตั นโกสนิ ทร”์ นอกจากนี้ ยังโปรดเกล้าฯให้ สร้างสง่ิ ต่างๆ อนั สาคัญต่อการสถาปนาราชธานี ไดแ้ ก่ ปอู มปราการ คลอง ถนนและสะพานตา่ งๆ มากมาย

พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลท่ี๒) พระราชประวัตริ ชั กาลที่ 2 แห่งราชวงศจ์ กั รี พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลยั (ประสตู ิ พ.ศ. 2310 ขน้ึ ครองราชย์ พ.ศ. 2353 - พ.ศ. 2367) มพี ระนามเดมิ ว่า ฉมิ พระราชประวัติ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั ทรงเปน็ พระมหากษตั ริยไ์ ทยองค์ที่ 2 แห่งราชวงศ์จักรี ทรงประสูติ เม่ือ 24 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2310 ตรงกบั วันพุธ ข้นึ 7 คา่ เดอื น 3 ปีกนุ มีพระนามเดมิ วา่ \"ฉิม\" พระองค์ทรงเปน็ พระบรมราชโอรสองค์ ที่ 4 ในพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟูาจฬุ าโลกมหาราชและกรมสมเด็จพระอมรนิ ทรามาตยพ์ ระบรมราชชนนีพันปีหลวง ประสูติ ณ บ้านอมั พวา แขวงเมอื งสมทุ รสงคราม ขณะนนั้ พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟาู จุฬาโลกมหาราช เป็นหลวงยกกรับตั รเมืองราชบุรี พระบดิ าได้ใหเ้ ขา้ ศกึ ษากับสมเดจ็ พระวนั รตั ( ทองอยู่ ) ณ วัดบางหวา้ ใหญ่ พระองค์ทรงมพี ระชายาเท่าทีป่ รากฎ 1. กรมสมเดจ็ พระศรีสรุ เิ ยนทรามาตย์ พระอัครมเหสี 2. กรมสมเด็จพระศรสี รุ าลยั พระสนมเอก ขณะข้ึนครองราชยใ์ นปี พ.ศ. 2352 มพี ระชนมายุได้ 42 พรรษา

พระราชกรณยี กจิ ท่สี าคญั พ.ศ. 2317 ขณะทเ่ี พงิ่ มีพระชนมายุได้ 8 พรรษา ไดต้ ิดตามไปสงครามเชียงใหม่ อยู่ในเหตกุ ารณค์ รงั้ ทีบ่ ิดามรี าชการไปปราบปรามเมือง นางรอง นครจาปาศักดิ์ และบางแก้ว ราชบุรี จนถงึ อายุ 11 พรรษา พ.ศ. 2322 พระราชบิดาไปราชการสงครามกรุงศรสี ัตนาคนหุต กต็ ิดตามไป พ.ศ. 2323 พระชนมายุ 13 พรรษา ได้เขา้ เปน็ ศิษยส์ มเดจ็ พระวนั รัต (ทองอยู่ ) พ.ศ. 2324 พระราชบดิ าได้เลือ่ นเป็นสมเด็จเจา้ พระยามหากษตั รยิ ศ์ กึ ฯ ไปร่วมปราบปรามเขมรกับพระบดิ า พ.ศ. 2325 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟูาจุฬาโลก ได้ปราบดาภเิ ษกแล้วไดท้ รงสถาปนาข้ึนเป็น \"สมเด็จพระเจ้าลกู ยาเธอเจ้าฟาู กรม หลวงอิศรสุนทร\" พ.ศ. 2329 พระชนมายุ 19 พรรษา ไดโ้ ดยเสดจ็ สมเดจ็ พระบรมชนกนาถ ไปสงครามตาบลลาดหญ้า และทางหัวเมอื งฝุายเหนอื พ.ศ. 2330 ไดโ้ ดยเสดจ็ พระบรมชนกนาถ ไปสงครามที่ตาบลท่าดนิ แดง และตีเมอื งทวาย พ.ศ. 2331 ทรงผนวชเปน็ พระภิกษุในพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ซึ่งเป็นพระองคแ์ รกทอ่ี ปุ สมบทในวัดนี้ เสด็จไปจาพรรษา เมอื่ ครบสามเดอื น ณ วัดสมอราย ปัจจบุ ันคือวดั ราชาธิราช ครัน้ ทรงลาผนวชในปีน้ัน ทรงอภเิ ษกสมรสกบั สมเดจ็ เจ้าหญงิ บุญรอด พระธดิ าในพระพี่นางเธอ สมเด็จเจา้ ฟูาหญงิ กรมพระศรสี ดุ ารักษ์ พ.ศ. 2336 โดยเสด็จพระราชบิดาไปตีเมอื งทวาย ครัง้ ที่ 2 พ.ศ. 2349 ( วนั อาทิตย์ เดือน 8 ขน้ึ 7 คา่ ปขี าล ) ทรงพระชนมายไุ ด้ 40 พรรษาได้รับสถาปนาเป็น \"กรมพระราชวงั บวรสถานมงคล\" ซึ่งดารงตาแหน่งพระมหาอปุ ราชข้ึนแทน กรมพระราชวงั บวรมหาสรุ สีหนาท ท่ไี ด้สวรรคตแลว้ เม่ือ พ.ศ. 2346 พระราชกรณยี กจิ สาคัญในรชั กาลท่ี ๒ ด้านการปกครอง พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั ทรงประกอบพระราชกรณยี กิจดา้ นการปกครองโดยยงั คงรปู แบบการปกครองแบบเดมิ แต่มีการต้ังเจ้านายท่ีเปน็ เช้อื พระวงศเ์ ข้าดแู ลบรหิ ารงานราชการตามหนว่ ยงานต่างๆ เชน่ กรมพระคลัง ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ใหพ้ ระเจ้าลกู ยาเธอ กรมหมื่นเจษฎาบดินทรเ์ ป็นผกู้ ากบั ดแู ล เป็นตน้ ส่วนด้านการออกและปรับปรงุ กฎหมายในการปกครองประเทศท่เี ออื้ ประโยชน์แก่ประชาชนมากขึ้น ได้แก่ พระราชกาหนดสกั เลก โดยพระองคโ์ ปรดใหด้ าเนินการสกั เลกหมใู่ หม่ เปล่ียนเป็นปีละ 3 เดอื น ทาใหไ้ พร่สามารถประกอบอาชีพได้ นอกจากนีย้ งั มกี ารออกกฎหมายวา่ ดว้ ยสญั ญาทด่ี ินรวมถงึ พินัยกรรมวา่ ตอ้ งทาเปน็ ลายลักษณ์อักษร และกฎหมายท่ี สาคญั ท่พี ระองคโ์ ปรดเกลา้ ฯ ให้กาหนดขนึ้ คอื กฎหมายหา้ มซื้อขายสบู ฝิน่ ด้านเศรษฐกิจ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลัยทรงประกอบพระราชกรณียกจิ ดา้ นเศรษฐกิจ ทสี่ าคัญคอื การรวบรวมรายได้จาการคา้ กบั ตา่ งประเทศ ซงึ่ ในสมัยน้ไี ด้มี การเรียกเกบ็ ภาษอี ากรแบบใหม่คอื การเดินสวนและการเดนิ นา การเดินสวนเปน็ การแตง่ ตั้งเจ้าพนักงานไปสารวจพืน้ ทเี่ พาะปลูกของราษฎร เพอื่ คดิ อตั ราเสียภาษอี ากรท่ีถูกตอ้ ง ทาใหเ้ กดิ ความยุตธิ รรมแก่เจา้ ของสวน สว่ นการเดินนาคลา้ ยกบั การเดินสวน แตใ่ หเ้ ก็บหางขา้ วแทนแทนการเกบ็ ภาษอี ากร ..... อา่ นต่อไดท้ :ี่ https://www.gotoknow.org/posts/374047

พระบาทสมเด็จพระนงั่ เกลา้ เจา้ อย่หู วั (รัชกาลท่ี๓) พระราชประวัตริ ชั กาลที่ 3 แหง่ ราชวงศจ์ ักรี พระบาทสมเดจ็ พระน่ังเกลา้ เจ้าอย่หู วั (ประสูติ พ.ศ. 2330 ขึน้ ครองราชย์ พ.ศ. 2367 - พ.ศ. 2394) มพี ระนามเดมิ ว่า พระองค์ชายทับ พระราชประวัติ พระบาทสมเดจ็ พระนั่งเกลา้ เจ้าอยู่หัว ทรงเป็นพระมหากษัตรยิ ไ์ ทยองค์ท่ี 3 แห่งราชวงศจ์ ักรี เป็นพระราชโอรสใน พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลิศหลา้ นภาลัย และสมเด็จพระศรีสรุ าลัย ( เจา้ จอมมารดาเรียม ) ประสตู ิ ณ วันจนั ทร์ เดอื น 4 แรม 10 ค่า ปีมะแม ตรงกับวนั ที่ 31 มนี าคม พุทธศักราช 2330 มพี ระนามเดมิ วา่ \"พระองคช์ ายทับ\" พ.ศ. 2365 พระองคช์ ายทับ ได้รับสถาปนาเป็นกรมหม่นื เจษฎาบดนิ ทรก์ ากบั ราชการกรมทา่ กรมพระคลงั มหาสมบัติ กรม พระตารวจวา่ การฎีกา นอกจากนยี้ งั ไดท้ รงรับพระกรณุ าใหแ้ ตง่ สาเภาหลวงออกไปค้าขาย ณ เมืองจีน พระองคท์ รงไดร้ ับพระ สามญั ญานามว่า \"เจา้ สัว\" ในขณะที่พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัวในรชั การท่ี 2 ทรงพระประชวรและเสดจ็ สวรรคต โดยมิได้ตรสั มอบราชสมบัตใิ หแ้ ก่ พระราชโอรสองค์ใด พระบรมวงศานุวงศ์ และบรรดาเสนาบดผี ้เู ป็นประทานในราชการจึงปรกึ ษากัน เห็นควรถวายราชสมบตั ิแก่พระ เจ้าลกู ยาเธอกรมหมื่นเจษฎาบดนิ ทร์ อันท่ีจริงแลว้ ราชสมบตั คิ วรตกแก่ เจา้ ฟาู มงกุฎ ( พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจา้ อยู่หัว ) เพราะเจา้ ฟูามงกฎุ เปน็ ราชโอรสทป่ี ระสตู ิจากสมเด็จพระบรมราชินีในรชั กาลที่ 2 โดยตรง สว่ นกรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ เปน็ เพยี งราช โอรสท่ีเกดิ จากเจา้ จอมเทา่ นั้น โดยทีพ่ ระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกลา้ เจ้าอย่หู วั ตั้งพระราชหฤทยั ไว้แล้ววา่ เมือ่ สิ้นรัชกาลพระองค์แลว้ จะ คนื ราชสมบัติ ให้แกส่ มเด็จพระอนชุ า ( เจา้ ฟูามงกุฎ) ดงั น้นั พระองค์จงึ ไม่ทรงสถาปนาพระบรมราชนิ ี คงมีแต่เจา้ จอมมารดา และเจา้ จอม

พระบาทสมเดจ็ พระนงั่ เกลา้ เจา้ อยู่หวั ข้ึนครองราชยใ์ นวนั ท่ี 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 ข้นึ 7 คา่ เดือน 9 ปีวอกฉศก พระราชกรณยี กจิ สาคัญในรชั กาลที่ ๓ ด้านการปกครอง ลกั ษณะการปกครองในสมัยรัตนโกสินทรต์ อนต้น ยังคงเปน็ แบบอยา่ งท่สี ืบทอดมาจากสมยั อยธุ ยาและกรงุ ธนบุรี คอื การปกครองแบบ สมบูรณาญาสทิ ธริ าชย์ พระมหากษตั ริยท์ รงอยู่ในตาแหน่งสูงสดุ ของการปกรองประเทศ ทรงเป็นประมขุ ผพู้ ระราชทานความพทิ ักษ์รักษาบา้ นเมืองให้ ปลอดภัยตาแหนง่ รองลงมา คอื พระมหาอปุ ราช ซ่ึงดารงตาแหน่งกรมพระราชวังบวรสถานมงคล เช่นเดียวกบั ในสมยั กรงุ ศรอี ยุธยาตอนปลาย ตาแหน่ง บังคบั บัญชาในดา้ นการปกครองแยกตอ่ มา คืออคั รมหาเสนาบดฝี ุายทหาร คอื พระสมหุ พระกลาโหม และฝุายพลเรือน คอื สมหุ นายก ตาแหนง่ รองลงมา เรยี ก เสนาบดจี ตสุ ดมภ์ คือ เสนาบดีเมืองหรอื เวียง กรมวงั กรมพระคลัง และกรมนา สว่ นการบรหิ ารราชการแผ่นดนิ ยงั คงจดั แบง่ ออกเป็นหวั เมอื งช้นั นอก หัวเมืองชัน้ ใน และหวั เมอื งประเทศราช ดังที่เคยปกครองกันมาตงั้ แต่ในสมัยกรงุ ศรี อยุธยา ซึ่งการแบ่งการปกครองในลักษณะน้ีกอ่ ใหเ้ กดิ ปัญหาในการปกครองหัวเมอื งประเทศราช เช่น ลาว เขมร และมลายู เพราะหัวเมืองเหล่าน้พี ยายาม หาทางเปน็ เอกราช หลุดจากอานาจของอาณาจกั รไทย ด้านการทานบุ ารงุ ประเทศ ในสมยั รตั นโกสินทร์ เนน้ หลักไปในดา้ นการก่อสร้างบา้ นเมือง ตลอดจนการขดุ ลอกคคู ลอง สร้างปอู ม สรา้ งเมือง ฯลฯ เพราะอย่ใู นระยะการสร้างราชธานี ใหม่ และพระมหากษัตรยิ ์ในสามรชั กาลแรกทรงยึดถอื นโยบายรว่ มกนั ในอันท่ีจะสรา้ งบ้านเมืองใหใ้ หญโ่ ตสง่างามเทียบเทา่ กบั กรุงศรีอยธุ ยา นับต้ังแตก่ าร สรา้ งพระบรมมหาราชวงั วดั วาอารามต่าง ๆ เป็นตน้ ตอ่ มาในรชั สมยั พระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจา้ อยู่หวั วตั ถสุ ถานต่าง ๆ ท่สี รา้ งมาต้ังแต่รัชกาลที่ 1 ทรดุ โทรมลงเปน็ อนั มาก พระนง่ั เกลา้ เจา้ อยู่หัวทรงสร้าง และบรู ณะปฏสิ งั ขรณข์ ึ้นใหม่ อาทิ พระบรม มหาราชวงั และวัดวาอารามตา่ ง ๆ และยังทรงเป็นพระธรุ ะในการขดุ แต่งคลองเพมิ่ เตมิ คอื คลองสุนัขหอน คลองบางขุนเทยี น คลองพระโขนง และคลองแสนแสบ (คลองบางขนาก) พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจ้าอยหู่ ัว(รชั กาลที่๔)

37พระชนมายุได้ พรรษา 4พระราชประวตั ริ ชั กาลท่ี แห่งราชวงศจ์ กั รี พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจา้ อยหู่ วั (ประสตู ิ พ.ศ. 2347 ขึน้ ครองราชย์ พ.ศ. 2393 - พ.ศ. 2411) มีพระนามเดมิ วา่ เจา้ ฟาู มหามาลา พระราชประวัติ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เป็นพระราชโอรส ในพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหล้านภาลยั กบั 18 2347สมเด็จพระศรสี ุรเิ ยนทรา บรมราชินี ประสตู ิเมอ่ื วันพฤหัสบดที ่ี ตลุ าคม พ.ศ. ตรงกบั ปีชวด มีพระนามเดมิ วา่ เจ้าฟาู มหามาลา ขณะนั้นพระราชบิดายังดาั รงพระยศเปน็ เจ้าฟูากรมหลวงอศิ รสนุ ทร เมอ่ื ทรงพระเยาวไ์ ดท้ รงศึกษาอกั ขะสมัยกับ 9สมเดจ็ พระพุทธโฆษาจารย์ เมือ่ พระชนมายุได้ พรรษา ไดร้ บั สถาปนาเป็นเจ้าฟาู มงกฎุ มพี ระราชอนุชารว่ มพระราชมารดา คือ เจ้าฟูาจุธามณี ซ่งึ ต่อมาไดร้ ับสถาปนาเปน็ พระบาทสมเดจ็ พระป่นิ เกล้าเจ้าอยหู่ ัว 9 2355เมือ่ พระชนมายุได้ พรรษา สมเด็จพระบรมชนกนาถก็โปรดให้มีการพระราชพิธลี งสรง ( พ.ศ. ) เป็นครัง้ แรกที่กระทาขน้ึ ในกรุงรตั นโกสินทร์ ไดร้ ับพระราชทานนามจารึกในพระสุพรรณปัฎว่า \" สมเด็จพระเจ้าลกู ยาเธอเจา้ ฟาู 4มงกุฎสมมุติเทววงศพ์ งศอ์ สิ รค์กษัตริย์ ขตั ตยิ ราชกุมาร \" สมเด็จเจา้ ฟูามงกุฎฯ ได้เสด็จขึ้นครองราชยเ์ มอื่ วนั ที่ เมษายน 2394พทุ ธศกั ราช ทรงพระนามวา่ \"พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัว\" เรียกขานในหม่ชู าวต่างชาตวิ า่ \"คิงส์มงกฎุ \" 37ขณะที่พระองคข์ ึน้ เสวย สริ ิราชยส์ มบตั นิ ัน้ พระชนมายุ พรรษา เม่ือไดเ้ สด็จข้นึ ครองราชยแ์ ล้วทรงโปรดเกลา้ ฯ สถาปนาสมเดจ็ พระเจา้ นอ้ งยาเธอเจา้ ฟูากรมขนุ อิศเรศรงั สรรค์ ( 50พระนามเดิมเจา้ ฟูาจธุ ามณีโอรสองค์ที่ ของรชั กาลสมเดจ็ พระพุทธเลศิ หล้านภาลยั ) ข้ึนเป็นสมเด็จพระปิน่ เกล้าเจ้าอยู่หวั ทรงมีฐานะเสมอื นพระเจ้าแผ่นดนิ อกี พระองคห์ น่ึง

พระราชกรณยี กจิ ที่สาคญั ของรัชกาลท่ี ๔ ภาพจาก http://www.igetweb.com/www/freedomcrossbreed/webboard/N220551.jpg หลังจากทพ่ี ระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจ้าอยหู่ วั เสดจ็ ข้ึนครองราชย์แล้ว กท็ รงทานบุ ารุงบา้ นเมอื งให้เจรญิ รุ งุ่ เร่อื งในทุก ๆ ดา้ น ทรงเป็นพระมหากษัตริยผ์ ้เู รมิ่ ศกั ราชการตดิ ตอ่ กบั นานาอารยประเทศอย่างจริงจงั ดงั จะเห็นได้จากการทปี่ ระเทศต่าง ๆ สง่ คณะทตู เขา้ มาเจริญสัมพนั ธไมตรี และตดิ ตอ่ ค้าขาย และพระองคไ์ ดท้ รงแต่งคณะทูต ออกไปเจรญิ สมั พันธไมตรีตอบแทนหลายคร้ัง เช่น อังกฤษ ฝรั่งเศส สหรัฐอเมริกา โปรตเุ กส เดนมาร์ค ฯลฯ ทรงสนบั สนนุ ให้มกี ารศกึ ษาศิลปะวทิ ยาการใหม่ ๆ เชน่ วชิ าการตอ่ เรือใบ เรือกลไฟ เรือรบ การฝึกทหารอยา่ งยโุ รป การยกเลิกธรรมเนยี มที่ล้าสมัยบางประการ เช่น ประเพณีการเขา้ เฝาู ให้ใส่เสื้อเข้าเฝาู การใหป้ ระชาชนเฝูาแหนรับเสด็จตลอดระยะรายทางเสด็จได้ และหากประชาชนมีเร่อื งเดอื นเน้อื ร้อนใจกส็ ามารถถวายฏีกาเพ่อื ขอความเป็นธรรมไดโ้ ดยตรงไม่ตอ้ งผา่ นข้าราชการชน้ั ผูใ้ หญ่ก่อน ฯลฯ พระปรชี าสามารถสว่ นพระองค์ทีส่ าคัญประการหน่งึ คือ วชิ าการด้านโหราศาสตร์ และดาราศาสตร์ ทรงสามารถคานวณระยะเวลา การเกดิ สุริยุปราคาได้อยา่ งแมน่ ยา ดังไดเ้ สด็จพระราชดาเนนิ พร้อมพระราชอาคันตุกะทั้งปวง ไปชมสรุ ิยุปราคาทห่ี ว้ากอ ประจวบคีรีขันธ์ เม่อื พ.ศ.2411 พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยู่หัว เสด็จสวรรคต ณ พระทน่ี ่งั ภาณุมาศจารูญ เมอ่ื วนั ท่ี1 ตุลาคม พทุ ธศักราช 2411 สิรพิ ระชนมายไุ ด้ 64 พรรษา รวมเวลาท่ีปกครองประเทศนาน 17 ปีเศษ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัวทรงมพี ระราชโอรสและพระราชธดิ ารวมทงั้ สิน้ 82 พระองค์

พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั (รชั กาลที่๕) พระราชประวตั ิรชั กาลที่ 5 แห่งราชวงศจ์ กั รี พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยู่หัว (ประสูติ พ.ศ. 2396 ขน้ึ ครองราชย์ พ.ศ. 2411 - พ.ศ. 2453) มพี ระนามเดิมว่า เจ้าฟาู จุฬาลงกรณ์ พระราชประวตั ิ พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจา้ อย่หู ัว มีพระนามเดมิ ว่า \" เจ้าฟูาจุฬาลงกรณ์ \" เปน็ พระราชโอรสในพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว รชั กาลที่ 4 กบั สมเดจ็ พระเทพศิรนิ ทราบรม ราชินี ( สมเดจ็ พระนางราเพยภมรภิรมย์ ) พระองค์ประสูติเม่อื วันที่ 20 กนั ยายน พ.ศ. 2396 ตรงกบั วนั องั คาร แรม 3 ค่า เดอื น 10 ไดท้ รงรับสถาปนาเป็นกรมหมนื่ พิฆเนศวรสรุ สังกาศ และกรมขนุ พอ นิจประชานาถ ด้านการศึกษา พระองค์ทรงได้รบั การศกึ ษาเปน็ มาอยา่ งดี คือ ทรงศึกษาอกั ษรศาสตร์ โบราณราชประเพณี ภาษาบาลี ภาษาองั กฤษ ภาษาไทยรัฐประศาสนศาสตร์ วชิ ากระบ่ี กระบอง วิชา อัศวกรรม วชิ ามวยปล้า การยงิ ปนื ไฟ เม่อื พระชนมายไุ ด้ 16 พรรษา ได้ขนึ้ เถลงิ ถวลั ยราชสมบตั โิ ดยมี สมเดจ็ เจ้าพระยาบรมมหาศรสี รุ ยิ วงศ์เปน็ ผ้สู าเร็จราชการ พ.ศ. 2410 พระเจา้ นโปเลยี นท่ี 3 แหง่

ฝรัง่ เศส ได้สง่ พระแสงกระบ่ีมาถวาย คร้นั พระชนมายคุ รบที่จะวา่ ราชการได้ พระองคจ์ งึ ไดท้ รงทาพธิ ี ราชาภิเษกใหม่อีกครง้ั หนึง่ เมอื่ พ.ศ. 2416 ทาใหเ้ กิดผลใหญ่ 2 ขอ้ 1. ทาใหพ้ วกพ่อคา้ ชาวต่างประเทศหนั มาทาการตดิ ต่อกับพระองค์โดยตรง เป็นการปลูกความนิยม นบั ถอื กบั ชาวต่างประเทศได้เปน็ อย่างดเี ย่ยี ม 2. ทาใหพ้ ระองค์ มีพระราชอานาจท่จี ะควบคมุ กาลังทหารการเงนิ ได้โดยตรงเป็นไดท้ รงอานาจใน บ้านเมอื งโดยสมบรู ณ์ พระราชกรณียกจิ ท่สี าคญั ของรชั กาลท่ี 5 ไดแ้ ก่ ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ให้มีเลกิ ทาส การปูองกนั การเปน็ อาณานิคมของฝร่ังเศส และจักรวรรดอิ ังกฤษ ไดม้ ีการประกาศออกมาใหม้ กี ารนบั ถอื ศาสนาโดยอสิ ระในประเทศ โดยบุคคลศาสนาคริสตแ์ ละศาสนาอสิ ลาม สามารถปฏิบัติการในศาสนาไดอ้ ยา่ งอสิ ระ นอกจากนไี้ ด้มีมีการนาระบบจากทางยโุ รปมาใชใ้ นประเทศไทย ไดแ้ ก่ ระบบการใชธ้ นบัตรและเหรยี ญบาท ใช้ระบบเขตการปกครองใหม่ เชน่ มณฑลเทศาภิบาล จังหวัดและอาเภอ และได้มกี ารสร้างรถไฟ สายแรก คือ กรุงเทพฯ ถึง เมอื งนครราชสมี า ลงวันที่ 1 มีนาคม ร.ศ.109 ซง่ึ ตรงกบั พุทธศักราช 2433 นอกจากน้ีได้มีงานพระราชนิพนธ์ ที่สาคญั การเสยี ดนิ แดน ภาพการรบระหวา่ งไทย-ฝรง่ั เศส ในวิกฤตการณ์ ร.ศ. 112 ที่ปากน้าเมืองสมุทรปราการ ซง่ึ นาไปสู่ การเสยี ดินแดนของไทยให้แกฝ่ ร่งั เศสเป็นจานวนมาก พระบรมราชนุสาวรยี ์พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยหู่ วั ทีป่ อู มพระจุลจอมเกล้า ปากนา้ เมอื งสมุทรปราการ[แก]้ การเสยี ดนิ แดนให้ฝรั่งเศส ครั้งที่ 1 เสยี แคว้นเขมร (เขมรส่วนนอก) เน้อื ท่ปี ระมาณ 123,050 ตารางกโิ ลเมตร และเกาะ อีก 6 เกาะ วันท่ี 15 กรกฎาคม 2410 คร้งั ท่ี 2 เสยี แคว้นสิบสองจไุ ท หัวพันห้าทั้งหก เมืองพวน แคว้นหลวงพระบาง แควน้ เวยี งจันทน์ คา มว่ น และแคว้นจาปาศกั ดิฝ์ ัง่ ตะวนั ออก (หัวเมืองลาวท้งั หมด) โดยยดึ เอาดินแดนสิบสองจุไทย และได้อ้างวา่ ดินแดนหลวงพระบาง เวียงจนั ทน์ และนครจาปาศักดิ์ เคยเปน็ ประเทศราชของญวนและเขมรมาก่อน จงึ บีบบังคบั เอาดนิ แดนเพม่ิ อกี เนอื้ ทป่ี ระมาณ 321,000 ตารางกิโลเมตร วันที่ 27 มนี าคม พ.ศ. 2431 ฝรง่ั เศสขม่ เหงไทย อย่างรนุ แรงโดยสง่ เรอื รบลว่ งเข้ามาในแม่นา้ เจ้าพระยา เมอ่ื ถึงปูอมพระจุลจอมเกล้า ฝุายไทยยงิ ปนื ไมบ่ รรจุ กระสุน 3 นดั เพ่ือเตอื นให้ออกไป แต่ทางฝรงั่ เศสกลบั ระดมยิงปนื ใหญเ่ ขา้ มาเปน็ อนั มาก เกดิ การรบกนั พักหนง่ึ ใน

วันท่ี 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2436 ฝรั่งเศสนาเรอื รบมาทอดสมอ หน้าสถานทตู ของตนในกรงุ เทพฯ ไดส้ าเรจ็ (ท้ังน้ี ประเทศองั กฤษ ไดส้ ่งเรอื รบเข้ามาลอยลาอยู่ 2 ลา ทีอ่ า่ วไทยเชน่ กัน แตม่ ไิ ดช้ ่วยปกปอู งไทยแตอ่ ย่างใด) ฝรั่งเศส ยน่ื คาขาดให้ไทย 3 ข้อ ใหต้ อบใน 48 ชวั่ โมง เน้ือหา คอื ให้ไทยใช้คา่ เสยี หายสามลา้ นแฟรงค์ โดยจา่ ยเปน็ เหรยี ญนกจากเงนิ ถุงแดง พรอ้ มส่งเชค็ ให้สถานทูต ฝรงั่ เศสแถวบางรกั ให้ยกดินแดนบนฝ่ังซ้ายแม่น้าโขงและเกาะต่างๆ ในแม่นา้ ด้วย ให้ถอนทพั ไทยจากฝงั่ แมน่ ้าโขงออกให้หมดและไมส่ ร้างสถานทสี่ าหรบั การทหาร ใน ระยะ 25 กโิ ลเมตร ทางฝาุ ยไทยไม่ยอมรับในขอ้ 2 ฝร่งั เศสจึงสง่ กองทัพมาปิดอา่ วไทย เมอื่ วันท่ี 26 กรกฎาคม - 3 สิงหาคม พ.ศ. 2436 และยึดเอาจังหวัดจันทบุรกี ับจังหวัดตราดไว้ เพอ่ื บังคบั ใหไ้ ทยทาตาม พระราชประวัติรชั กาลที่ 6 แหง่ ราชวงศจ์ ักรี พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยู่หวั (ประสูติ พ.ศ. 2423 ขึ้นครองราชย์ พ.ศ. 2453 - พ.ศ. 2468) มีพระนามเดมิ ว่า สมเด็จเจ้าฟาู มหาวชริ าวธุ พระราชประวัติ

พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยูห่ ัว ทรงพระราชสมภพเม่ือ วนั เสารท์ ่ี 1 มกราคม พ.ศ. 2421 พระองค์ทรงเป็นพระราชโอรสของพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเดจ็ พระนางเจ้าเสาวภาผอ่ งศรี ( สมเดจ็ พระศรีพชั รนิ ทราบรมราชเทวี ) เม่ือยงั ทรงพระเยาว์ทรงพระนาม วา่ \"สมเด็จเจ้าฟูามหาวชริ าวุธ\" ได้รับสถาปนาเป็นสมเด็จเจ้าฟูากรมขุนเทพทวาราวดี ในปี พ.ศ. 2431 และตอ่ มาในปี พ.ศ. 2437 สมเดจ็ พระบรมเชษฐาธริ าชเจ้าฟาู ชายมหาวชิราวุธ ได้รบั สถาปนาเป็นสมเดจ็ พระบรมโอรสาธิราชสยามมงกฎุ ราชกมุ ารดารงตาแหน่งรชั ทายาท พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ ฯ จึงได้รับสถาปนาเป็นสมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าชสยามมงกฎุ ราช กุมาร ดารงตาแหน่งรัชทายาทแทน พระราชกรณียกิจทีส่ าคัญของรชั กาลท่ี 6 ด้านการศึกษา ในด้านการศึกษา ทรงรเิ ร่ิมสร้างโรงเรียนขน้ึ แทนวดั ประจารชั กาล ไดแ้ ก่ โรงเรยี นมหาดเลก็ หลวง ซึง่ ในปจั จุบนั คือโรงเรยี นวชริ าวุธ วิทยาลยั ท้ังยงั ทรงสนบั สนนุ กิจการของโรงเรยี นราชวิทยาลัยซึ่งพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาขนึ้ ในปี พ.ศ. 2440 (ปัจจบุ นั คือโรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์) และในปี พ.ศ. 2459 ไดท้ รงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ให้ประดิษฐาน “โรงเรียนขา้ ราชการพลเรือนของพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจา้ อย่หู วั ” ขน้ึ เปน็ “จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ” ซง่ึ เป็นมหาวิทยาลยั แห่งแรกของประเทศไทย การเปิดโรงเรียนในเมอื งเหนือ พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจ้าอยู่หวั เม่อื คร้ังยังทรงดารงพระอิสรยิ ยศสยามมกุฎราชกมุ ารไดเ้ สดจ็ พระราชทานนามโรงเรยี นปรินส์ รอยแยลส์วิทยาลยั เมื่อวนั ที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2449 ซง่ึ ไม่เป็นเพยี งแต่การนารูปแบบการศึกษาตะวนั ตกมายงั หวั เมืองเหนือเทา่ นนั้ แต่ ยงั แฝงนยั การเมืองระหวา่ งประเทศเอาไวด้ ว้ ย[16] เห็นได้จากการเสด็จประพาสมณฑลพายัพทง้ั สองครัง้ ระหว่าง พ.ศ. 2448-2450 พระองคไ์ ดท้ รงสนพระทัยในกิจการโรงเรียนทจ่ี ัดต้งั ขน้ึ มาใหม่ทั้งสิน้ โดยพระองคท์ รงบนั ทึกไวใ้ นพระราชนิพนธ์ \"เทยี่ วเมอื งพระร่วง\" และ \"ลลิ ติ พายัพ\"[16] ท้ังน้ี เปาู หมายของการจัดการศกึ ษายงั แฝงประโยชน์ทางการเมืองท่จี ะใหช้ าวท้องถิ่นกลมเกลียวกบั ไทยอกี ด้วย [16] ด้านการเศรษฐกิจ ไดท้ รงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ให้ตราพระราชบญั ญัตคิ ลงั ออมสนิ พ.ศ. 2456 ขึ้น เพื่อให้ประชาชนรูจ้ ักออมทรัพยแ์ ละเพ่อื ความมั่นคง ในดา้ นเศรษฐกิจของประเทศ อีกทงั้ ยงั ทรงรเิ รม่ิ กอ่ ต้งั บริษทั ปนู ซิเมนตไ์ ทยขนึ้ ดา้ นการคมนาคม ในปี พ.ศ. 2460 ทรงตงั้ กรมรถไฟหลวง และเริ่มเปดิ การเดนิ รถไฟสายกรุงเทพฯ ถงึ เชียงใหม่ สายใต้จากธนบรุ เี ชอ่ื มกบั ปนี งั และสงิ คโปร์ อกี ทั้งยงั ทรงโปรดเกลา้ ฯ ใหส้ ร้างสะพานพระราม 6 เพอี่ เชอ่ื มทางรถไฟไปยงั ภมู ิภาคอนื่ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจา้ อยหู่ วั (รัชกาลที่ ๗)

7พระราชประวัติรชั กาลท่ี แหง่ ราชวงศจ์ ักรี พระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจ้าอยูห่ ัว (ประสตู ิ พ.ศ. 2436 ขึน้ ครองราชย์ พ.ศ. 2468 - พ.ศ. 2477) มีพระนามเดิมวา่ เจา้ ฟูาชายประชาธิปกศกั ดเิ ดช กรมหลวงสุโขทยั ธรรมราชา พระราชประวตั ิ 76พระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจา้ อยหู่ วั เป็นโอรสองค์ที่ ทรงเป็นพระโอรสองค์เล็กของพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจา้ อยหู่ ัว ซึง่ ทรงประสตู ิแดส่ มเด็จพระศรีพัชรนิ ทราบรมราชินนี ารถ นับวา่ เปน็ พระราชโอรสองค์เล็กสดุ ประสตู ิ 8 2436 14 11เมื่อวนั ที่ พฤศจิการยน พ.ศ. ตรงกบั วันพุธ แรม ค่า เดือน ปีมะเสง็ ทรงพระนามเดมิ ว่า \" เจา้ ฟูาชาย ประชาธิปกศักดเิ ดช กรมหลวงสโุ ขทยั ธรรมราชา 12เมื่อทรงมีพระชนมายไุ ด้ พรรษา พระองค์ได้เขา้ ศกึ ษา ในวทิ ยาลยั ทหารบก ณ ประเทศองั กฤษจนจบ 6และได้เสด็จกลบั มารับราชการในรชั กาลท่ี ซงึ่ เปน็ พระเชษฐาธิราชของพระองค์ โดยได้รบั ยศเปน็ นายพันโททหารบกมตี าแหนง่ เป็นราชองครกั ษ์ และผูบ้ ังคับการโรงเรยี นนายรอ้ ยชน้ั ประถม ต่อมาภายหลงั ไดเ้ ล่อื นตาแหนง่ เป็นลาดับจนเป็นนายพนั เอก มี 2ตาแหนง่ เปน็ ปลัดกรมเสนาธกิ ารทหารบก ก่อนขึ้นครองราชสมบตั ิมตี าแหน่งเปน็ ผู้บัญชาการกองพลทหารราบที่

พระราชกรณียกจิ ทสี่ าคญั ของรัชกาลที่ 7 ดา้ นการทานบุ ารงุ บ้านเมอื ง เศรษฐกจิ สบื เนือ่ งจากผลของสงครามโลกครั้งท่ี 1 ประเทศทัว่ โลกประสบปัญหาภาวะเศรษฐกจิ ตกต่า ซง่ึ มีผลกระทบกระเทอื นมาสู่ ประเทศไทย พระองคไ์ ด้ทรงพยายามแกไ้ ขการงบประมาณของประเทศใหง้ บดลุ อย่างดที ี่สดุ โดยทรงเสียสละตัดทอนรายจ่ายสว่ น พระองค์ โดยมไิ ดข้ ึ้นภาษีใหร้ าษฎร เดือดร้อน การสขุ าภบิ าลและสาธารณปู โภค โปรดใหป้ รบั ปรุงงานสขุ าภิบาลท่ัวราชอาณาจกั รใหท้ ัดเทียมอารยประเทศ ขยายการสื่อสารและการ คมนาคม โปรดใหส้ ร้างสถานวี ทิ ยกุ ระจายเสียงแห่งแรกใน ประเทศไทย ในสว่ นกจิ การรถไฟ ขยายเสน้ ทางรถทางทศิ ตะวนั ออกจากทาง จังหวดั ปราจีนบุรี จน กระทง่ั ถงึ ตอ่ เขตแดนเขมร การสง่ เสรมิ กิจการสหกรณใ์ ห้ประชาชนได้มีโอกาสรว่ มกนั ประกอบกจิ การทางเศรษฐกจิ โดยทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหต้ รา พระราชบัญญัตสิ หกรณ์ พ.ศ. 2471 ขน้ึ ทรงสละพระราชทรพั ย์สว่ นพระองค์สร้างโรงภาพยนตรศ์ าลาเฉลมิ กรงุ ซ่งึ นับเปน็ โรงภาพยนตรท์ นั สมยั ในสมยั นน้ั ตดิ เครื่องปรบั อากาศ เพอื่ เป็นสถานบนั เทิงใหแ้ ก่ผคู้ นในกรงุ เทพมหานคร สาหรบั ในเขตหัวเมอื ง ทรงไดจ้ ัดต้ัง สภาจดั บารงุ สถานท่ีชายทะเลทิศตะวนั ตกขน้ึ เพื่อทานุบารงุ หวั หนิ และใกลเ้ คยี งให้เปน็ สถานทตี่ ากอากาศชายทะเลแก่ประชาชนท่ีมาพกั ผ่อน ในปี พ.ศ. 2475 เป็นระยะเวลาที่กรงุ เทพฯ มอี ายคุ รบ 150 ปี ทรงจดั งานเฉลมิ ฉลองโดยทานบุ ารงุ บรู ณปฏิสังขรณส์ ิ่งสาคญั อนั เปน็ หลักของกรงุ เทพฯ หลายประการ คือ บรู ณะวัดพระศรรี ตั นศาสดาราม พระบรมมหาราชวัง สร้างสะพานปฐมบรมราชานุสรณ์ เพ่ือ เชอ่ื มกรงุ เทพฯและธนบรุ ี เปน็ การขยายเขต เมืองใหก้ วา้ งขวาง และสร้างพระบรมราชานุสาวรียพ์ ระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟูาจุฬา โลก

8พระราชประวตั ริ ัชกาลที่ แหง่ ราชวงศ์จกั รี พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานนั ทมหดิ ล (ประสตู ิ พ.ศ. 2468 ขนึ้ ครองราชย์ พ.ศ. 2472 - พ.ศ. 2489) มพี ระนามเดิมว่า พระวรวงศเ์ ธอ พระองค์เจา้ อานนั ทมหิดล พระราชประวตั ิ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล มีพระนามเดิมว่า พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล 20 2468 3 11ทรงพระราชสมภพ เม่ือวันอาทติ ยท์ ่ี กันยายน พ.ศ. ตรงกับวนั ขึ้น คา่ เดือน ปฉี ลู ณ เมอื งไฮเดล 2แบรก์ ประเทศเยอรมันนี ทรงเป็นพระราชโอรสองคท์ ี่ ของสมเดจ็ พระราชบดิ าเจ้าฟูามหดิ ลอดุลยเดช กรมหลวงสงขลา นครนิ ทร์ และสมเดจ็ พระราชชนนีศรสี งั วาลย์ ทรงมพี ระพี่นางและพระอนุชารว่ มสมเด็จพระราชบดิ าและสมเด็จพระราชชนนี เดยี วกันคอื 1. สมเด็จพระเจา้ พี่นางเธอ เจ้าฟูากัลยาณิวัฒนา 2. สมเดจ็ พระเจ้านอ้ งยาเธอ เจ้าฟูาภมู พิ ลอดลุ ยเดช 2472พ.ศ. สมเด็จพระราชบิดา เจา้ ฟาู มหิดลอดลุ ยเดชกรมหลวงสงขลานครนิ ทร์เสดจ็ ทวิ งคต 2474พ.ศ. พระองคไ์ ดเ้ สด็จไปทรงศกึ ษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอี ถนนเพลนิ จติ 2476พ.ศ. เสดจ็ พระราชดาเนนิ ไปทวปี ยโุ รป ประทับ ณ เมืองโลซานน์ประเทศสวสิ เซอร์แลนด์ 2477 2 2477พ.ศ. ทรงเสด็จขนึ้ ครองราชย์ เม่อื วนั ท่ี มีนาคม พ.ศ. เนอื่ งจากพระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจ้าอยู่หวั ไม่มพี ระราชโอรสและพระราชธิดาที่จะสบื ราชสนั ตติวงศ์ และด้วยความเห็นชอบของผู้สาเรจ็ ราชการแผ่นดนิ ที่ได้ดาเนนิ การไปตาม กฎมณเฑยี รบาล 2481พ.ศ. พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั อานันทมหดิ ล ได้เสด็จพระราชดาเนินกลับเย่ยี มประเทศไทยพรอ้ มด้วยสมเด็จ 2พระชนนี สมเดจ็ พระพ่ีนางเธอและสมเด็จพระเจ้าน้องเธอ ไดท้ รงประประทับอยทู่ พ่ี ระตาหนักจติ รลดารโหฐานประมาณ เดอื น จงึ เสดจ็ ไปประเทศสวสิ เซอรแ์ ลนด์ เพ่ือเข้าศึกษาวิชานิติศาสตร์ และการปกครองในมหาวทิ ยาลยั ประเทศน้ัน

2488 20 2488พ.ศ. วนั ที่ กนั ยายน พ.ศ. พระองค์ทรงบรรลนุ ติ ิภาวะ จึงเสด็จกลบั มาถงึ ประเทศไทยอกี ครั้งหนงึ่ 5 2488และในวนั ท่ี ธนั วาคม พ.ศ. ไดท้ รงประทบั อยู่ ณ พระที่นงั่ บรมพิมานในพระบรมมหาราชวงั ผู้สาเรจ็ ราชการแทนคน ลา่ สุดคอื นายปรีดี พนมยงค์ ไดถ้ วายพระราชภารกจิ แดพ่ ระองคเ์ พอ่ื ไดท้ รงบริหารเตม็ ที่ตามพระราชอานาจ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ภูมิพลอดุลยเดช(รชั กาลท่ี๙) 9พระราชประวัตริ ัชกาลท่ี แหง่ ราชวงศ์จักรี พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดลุ ยเดช (ประสูติ พ.ศ. 2470 ขน้ึ ครองราชย์ พ.ศ. 2489 - ปัจจุบัน) พระราชประวัติ 5 2470พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั ภูมพิ ลอดลุ ยเดชทรงสมภพเม่อื วันท่ี ธันวาคม พ.ศ. ณ เมอื ง 3เคมบรจิ ดจ์มลรฐั เมสสาชเู สท ประเทศสหรฐั อเมริกา ทรงเป็นพระราชโอรสาธริ าช องคท์ ่ี ในสมเดจ็ พระราชชนนศี รสี ังวาลย์ ( สมเดจ็ พระศรนี ครินทรทรา บรมราชชนนี ) พระองค์เป็นพระราชโอรสองคเ์ ล็ก ทรงมพี ระเชษฐาธริ าชว่า \" พระบาทสมเดจ็ พระ 8เจา้ อยหู่ ัวอานันทมหดิ ล \" พระเจ้าอย่หู ัวบรมโกศ รัชกาลที่ และมพี ระพีน่ าง พระนามวา่ \" สมเดจ็ พระพน่ี างเธอเจ้าฟาู กัลยาณิ วฒั นา \"

9 2489พระองคไ์ ดเ้ สดจ็ กลับเถลงิ ถวัลยราชสมบัติต่อจากพระบรมเชษฐาเมื่อวันที่ มิถนุ ายน พ.ศ. ขณะ 19มพี ระชนั ษา ปี ก่อนครองราชยไ์ ด้ทรงศึกษาวิชาวิศวกรรมศาสตรแ์ ละไดเ้ สดจ็ กลบั ไปศึกษาวิชานิตศิ าสตร์และรฐั ประศาสน ศาสตร์ตอ่ อีกภายหลังที่ไดค้ รองราชย์แล้ว ทรงสนพระทัยในอกั ษรศาสตร์ และการดนตรที รงรอบรภู้ าษาตา่ งประเทศหลายภาษาและตรัสไดอ้ ยา่ ง คล่องแคลว่ จนเป็นท่ปี ระจกั ษ์แกค่ ณะทูตานทุ ูตและประชาชนชาวเมืองนั้นๆ เป็นอยา่ งดี ตา่ งพากันชมว่า พระองคท์ รงมคี วามรู้ ทันสมัยที่สุดพระองค์หนงึ่ สาหรบั ดนตรีนัน้ ทรงประพันธเ์ นือ้ ร้องและทานองเพลงแด่คณะวงดนตรีต่างๆ มีเพลงพระราชนพิ นธ์ทีค่ น ไทยรจู้ กั เชน่ เพลงสายฝน เพลงประจามหาวิทยาลัยจฬุ าลงกรณ์ เพลงประจามหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ พระองค์เคยเขา้ ร่วมวง ดนตรกี บั ชาวต่างประเทศมาแล้ว โดยไม่ถอื พระองค์ รัชกาลที่ 10 สมเด็จพระเจา้ อย่หู ัวมหาวชิราลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกูร

พระนามเต็ม รัชกาลที่ 10 สมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัวมหาวชิราลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกูร พระนามเดมิ ของพระองค์ เดิมวา่ สมเดจ็ พระเจา้ ลกู ยาเธอ เจ้าฟูาวชิราลงกรณ บรมจกั รยาดิศรสนั ตติวงศ เทเวศรธารง สบุ รบิ าล อภิคุณปู ระการมหติ ลา ดลุ เดช ภูมิพลนเรศวรางกูร กติ ติสริ ิสมบรู ณส์ วางควฒั น์ บรมขัตติยราชกุมาร ซึ่งเป็นพระราชโอรสเพียงพระองค์เดียว ในพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทร มหาภมู ิพลอดุลยเดช และสมเดจ็ พระนางเจ้าสริ กิ ิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระองคท์ รงพระราชสมภพ เมอื่ วนั จนั ทร์ท่ี ๒๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๙๕ เม่ือ เวลา ๑๗ นาฬกิ า ๔๕ นาที ณ พระที่น่ังอัมพรสถาน พระราชวังดสุ ิต

ใบงานที่ 3 วิชา สค33104 วิชาประวตั ิศาสตรช์ าตไิ ทย ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย คาชแี้ จง : จงตอบคาถามต่อไปนใี้ ห้ถกู ตอ้ ง 1.พระมหากษตั ริยไ์ ทยพระองคใ์ ด ทรงมีพระปรีชาสามารถและความกล้าหาญทาใหข้ ้าศกึ ยกทพั เขา้ มาโจมตี ไทยอกี เปน็ เวลาหลายร้อยปี .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................ ................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................ ................................................. .............................................................................................................................................................................. 2.ในรชั สมยั พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอย่หู ัวทรงตั้งสภาท่ีปรึกษาราชการแผ่นดินขน้ึ 2 สภา คือ ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ................................................................................................................... ........... .............................................................................................................................................................................. ....................................................................... ................................................. ........................................................................................................................................................ ...................... 3.จงบอกสาเหตุทีน่ าไปสู่การเปลีย่ นแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 มาอยา่ งนอ้ ย 3 ขอ้ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .................................................... ................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................... ....................................

บันทึกหลงั การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ คร้งั ที่ ……… วนั ท่ี …………. เดอื น …………………………………..……….. พ.ศ. …………….. ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ จานวนนักศึกษา ทง้ั หมด....................คน ชาย................คน หญงิ ..................คน จานวนนกั ศึกษาทีเ่ ขา้ เรยี น ทง้ั หมด....................คน ชาย................คน หญิง..................คน จานวนนักศึกษาท่ขี าดเรยี น ทั้งหมด....................คน ชาย................คน หญิง..................คน ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................... สภาพการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ปญั หาทีพ่ บและการแก้ไขปัญหา ........................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ การดาเนินการแก้ไข/พฒั นา ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ข้อเสนอแนะ/ความคิดเหน็ ผนู้ ิเทศ ……………………………………………………………………………………………………………………………….……….………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… (ลงชอ่ื ) ................................................... (ลงชื่อ) ................................................... ผู้นิเทศ (........................................) (........................................) ………….. /….……… /…….…… ………….. /….……… /…….…… (ลงชอ่ื ) ………………………………..…………............. ผอ.กศน.อาเภอเมืองกาญจนบุรี (นายศกั ด์ชิ ัย นาคเอ่ยี ม) ………….. /….……… /…….……

บรรณานุกรม ท่มี า : https:// th.wikibooks.org/wiki/ภาวะผนู้ า ทีม่ า : https:// www.google.com/search?q=ผู้ตามทด่ี +ี หมายถึง&oq=ผู้ตามทีด่ ี ทม่ี า : https:// www.google.com/search?q=ความหมายของการเมืองการปกครอง&oq=ความหมายของ การเมอื ง&aqs=chrome.1.69i57j0l5.10108j1j8&sourceid=chrome&ie=UTF-8 ท่มี า : https:// th.wikipedia.org/wiki/วัฒนธรรมไทย ที่มา : https:// th.wikipedia.org/wiki/ประเพณี

คณะผู้จดั ทา แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กศน. แบบบูรณาการ ตามรูปแบบ ONIE MODEL หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น ภาคเรียนท่ี .......... ปกี ารศึกษา ................... ที่ปรึกษา ผูอ้ านวยการ กศน.อาเภอเมอื งกาญจนบรุ ี นายศักด์ชิ ัย นาคเอย่ี ม ครพู เ่ี ลีย้ ง จนั ทนะ ครชู านาญการ นางสาวชมพู คณะผจู้ ัดทา 1. ครูอาสาสมัครการศกึ ษานอกโรงเรียน กศน.อาเภอเมืองกาญจนบุรี 2. ครู กศน.ตาบล กศน.อาเภอเมอื งกาญจนบรุ ี 3. ครู ศรช. กศน.อาเภอเมอื งกาญจนบรุ ี



แผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ กศน. แบบบรู ณาการ ตามรปู แบบ ONIE Model หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 5 หวั เร่ือง พลังงานจะมคี ่า เริ่มต้นดว้ ยทเี่ รา หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรยี นที่ ……….. ปีการศกึ ษา ……………. สานักงานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจงั หวัดกาญจนบรุ ี สานักงานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั สานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศึกษาธกิ าร

คานา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองกาญจนบุรีได้ดาเนินการ จดั ทาแผนกิจกรรมการเรยี นรู้ กศน.แบบบรู ณาการ หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 5 หัวเร่ือง พลังงานจะมีค่า เร่ิมต้นด้วย ทเี่ รา เพ่ือให้ครูผ้สู อนใชเ้ ป็นคมู่ ือในการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ใหก้ บั ผเู้ รยี นไดเ้ กดิ การเรยี นรู้อย่างมีคุณภาพตาม หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาค เรยี นที่ ......... ปีการศึกษา .................... เอกสารประกอบการจัดทาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กศน.แบบบูรณาการ หน่วยการ เรียนรู้ที่ 5 หัวเร่ือง พลังงานจะมีค่า เร่ิมต้นด้วยท่ีเรา ประกอบด้วยแผนผังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กศน. แบบ ONIE Mode แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กศน.แบบบูรณาการ ใบความรู้ แบบประเมินการจัด กจิ กรรมการเรยี นรู้ แนวตอบ และแบบบันทกึ หลงั การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การดาเนินการจัดทาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กศน.แบบบูรณาการ หลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียน ท่ี .......... ปีการศึกษา ............. ในครั้งน้ี ประสบความสาเร็จได้ด้วยดี ต้องขอขอบพระคุณ นายศักด์ิชัย นาคเอี่ยม ผ้อู านวยการ กศน.อาเภอเมืองกาญจนบุรี นางสาวชมพู จันทนะ ครูชานาญการเป็นอย่างสูงที่เป็น ผ้ใู หค้ าปรึกษา ในการดาเนนิ การจัดทาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กศน.แบบบูรณาการหน่วยการเรียนรู้ท่ี 5 หวั เรอื่ ง พลังงานจะมคี า่ เรมิ่ ตน้ ด้วยท่ีเรา หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียน ที่ ………… ปีการศึกษา ………………… มาโดยตลอดทาให้การ ดาเนนิ การจดั ทาแผนการเรยี นรู้แบบบรู ณาการบรรลุตามวตั ถปุ ระสงค์ จดั ทาโดย กศน.อาเภอเมอื งกาญจนบรุ ี

สารบญั หน้า เรอื่ ง คานา สารบญั แผนผังการจัดหน่วยการเรยี นรู้ กศน.แบบบูรณาการ แผนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ กศน.แบบบูรณาการตามรูปแบบ ONIE MODEL ใบความรทู้ ี่ 1 เร่อื งพลงั งานไฟฟ้า ใบความรู้ท่ี 2 เรื่องการผลติ ไฟฟา้ ใบความรู้ที่ 3 เรอ่ื งอุปกรณไ์ ฟฟ้าและวงจรไฟฟ้า แบบประเมินการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ แนวตอบแบบประเมนิ การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ บนั ทกึ หลงั การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ บรรณานุกรม คณะทางาน

แผนผังหนว่ ยการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ กศน. แบบบรู ณาการ หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับกา ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย ภาคเร รายวิชา การใชพ้ ลงั งานไฟฟา้ ในชีวิตประจาวนั 3 รายวิชา การใชพ้ ลงั งาน ( พว32023) หวั เรือ่ ง การใชแ้ ละการป หัวเรือ่ ง พลงั งานไฟฟ้า เนอื้ หา เนอ้ื หา - กลยทุ ธ์การประหยดั พล - การเลือกซื้อ การใช้ แล - การกาเนดิ ของไฟฟา้ บา้ น - สถานการณพ์ ลงั งานไฟฟ้าของประเทศไทย - การวางแผนและการคา ประเทศในอาเซียน และโลก - หนว่ ยงานทีเ่ กยี่ วขอ้ งดา้ นพลังงานไฟฟา้ ใน ประเทศไทย รายวชิ า การใชพ้ ลงั งานไฟฟ้าใน หวั เรือ่ ง พลังงานจะมีคา่ ชีวิตประจาวัน 3( พว32023) สภาพปญั หา หวั เรอ่ื ง การผลิตไฟฟา้ 1. สิง่ แวดลอ้ มเป็นพิษ 2. การทาลายทรัพยากรธ เนือ้ หา 3. การนาวสั ดทุ ใี่ ช้แลว้ นา 4. การนาความร้ทู างเทค - เช้ือเพลิงและพลงั งานท่ใี ชใ้ นการผลิต กาจัดวัสดุ ไฟฟ้า 5. ความรเู้ รือ่ งวสั ดุอนั ตร - โรงไฟฟา้ กบั การจดั การดา้ นสง่ิ แวดล้อม 6. การสง่ เสรมิ การประดษิ

หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 5 หัวเรือ่ ง พลังงานจะมคี า่ เร่ิมตน้ ดว้ ยที่เรา ารศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 รยี นท่ี .......... ปีการศกึ ษา ............ นไฟฟา้ ในชวี ิตประจาวัน 3( พว32023) กรต. ศาสนาและหนา้ ท่ีพลเมอื ง ประหยดั พลังงานไฟฟ้า (สค31002) ลงั งานไฟฟ้า 3 อ. ละการดแู ลรกั ษาเคร่ืองใช้ไฟฟ้าภายใน หวั เรอ่ื ง 1 ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี านวณคา่ ไฟฟ้าในครวั เรือน เน้ือหา 1. คา่ นิยมท่พี ึงประสงคข์ องประเทศต่าง ๆ ในโลก - การตรงต่อเวลา - ความมีระเบยี บ ฯลฯ หน่วยท่ี 5 รายวชิ า ภาษาองั กฤษ (พต31001) า เร่ิมตน้ ดว้ ยที่เรา หัวเร่อื ง สนุกกบั ศพั ท์ภาษาอังกฤษ ธรรมชาติ ากลับมาใช้ใหม่ เน้ือหา คโนโลยมี าใช้ในการ คาศพั ท์ ราย - Recycle = แปรรปู แล้วนากลับมา ษฐ์วัสดุ ใช้ใหม่ - Material = วัสดุ - Economy = เศรษฐกิจ - World scout =ลูกเสือโลก - Religion = ศาสนา

ประเดน็ /ปัญหา/สิ่งจาเป็นทตี่ อ้ งเรยี นรู้ ก 1. ผเู้ รยี นขาดความรู้เร่อื งสง่ิ แวดล้อมเปน็ พษิ 1 2. ผู้เรยี นขาดความรกู้ ารใช้และอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ เ 3. ผูเ้ รียนขาดความร้เู กีย่ วการนาวัสดุทใ่ี ชแ้ ลว้ นากลับมาใชใ้ หม่ เ 4. ผเู้ รียนขาดความรเู้ ก่ียวการนาความรู้ทางเทคโนโลยมี าใชใ้ นการกาจัด 2 วัสดุ แ 5. ผู้เรียนขาดความรู้เรอื่ งวสั ดุอันตราย แ 6. ผเู้ รียนขาดความรูใ้ นการประดิษฐว์ ัสดุ ก 3 ห แ 4 ส ร 5 ท ร 6 อ ร

การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ 1. ใหผ้ เู้ รียนศึกษาค้นควา้ การคัดแยกวสั ดุท่เี ป็นพิษต่อสิง่ แวดล้อม จากแหลง่ เรียนรใู้ นชุมชน เชน่ หอ้ งสมดุ สื่อออนไลน์ และสรุปเป็นรายงานแล้วนามาอภิปรายรว่ มกับครผู ู้สอนและ เพ่ือนในวนั พบกล่มุ ท่ี กศน.ตาบล 2. ใหผ้ ูเ้ รยี นศึกษาค้นคว้าวสั ดุอันตราย จากแหล่งเรียนรู้ในชุมชน เช่น ห้องสมุด ส่อื ออนไลน์ และผูร้ ู้ แลว้ นามาทาเป็นบัตรคาศพั ทภ์ าษาองั กฤษ เกี่ยวกับวสั ดอุ ันตราย อยา่ งนอ้ ย 5 คา แล้วนามาแสดงใหเ้ พ่อื นดู แลว้ นามาอภิปรายรว่ มกบั ครูผู้สอนและเพอ่ื นในวนั พบกลุ่มที่ กศน.ตาบล 3. ใหผ้ เู้ รยี นศึกษาค้นคว้าวสั ดุท่ีสามารถนากลับมาใชไ้ ดจ้ ากแหล่งเรยี นรู้ในชุมชน เช่น ห้องสมดุ สื่อออนไลน์ และสรปุ เปน็ แผนผงั ความคิด อภิปรายแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ ให้เพ่อื นฟงั แลว้ นามาอภปิ รายรว่ มกบั ครูผู้สอนและเพือ่ นในวันพบกลมุ่ ที่ กศน.ตาบล 4. ให้ผูเ้ รียนศกึ ษาคน้ คว้าเร่อื งการใชเ้ ทคโนโลยีในการเผาวัสดุ ท่ีช่วยแกป้ ัญหาการทาลาย ส่งิ แวดลอ้ ม แลว้ นามาจดั นิทรรศการ และอธิบายเพมิ่ เติมให้เพอ่ื นฟงั แลว้ นามาอภิปราย รว่ มกับครูผสู้ อนและเพอ่ื นในวนั พบกลุ่มท่ี กศน.ตาบล 5. ให้ผ้เู รียนเดินรณรงค์ประชาสัมพันธก์ ารแยกขยะรไี ซเคิลและการลดขยะในชมุ ชนพร้อมท้ัง ทาแผ่นพับจากโปรแกรม Microsoft แลว้ เดนิ แจกประชาชนในชมุ ชน แลว้ นามาอภิปราย รว่ มกับครผู ้สู อนและเพ่อื นในวันพบกลุ่มท่ี กศน.ตาบล 6. ใหผ้ เู้ รียนศึกษาคน้ ควา้ การทาโครงงาน จากแหลง่ เรียนร้ใู นชมุ ชน เชน่ ห้องสมุด สือ่ ออนไลน์ แล้วนามาทาโครงงานประดิษฐว์ ัสดุ พรอ้ มทัง้ รูปเล่มโครงงาน แล้วนามาอภิปราย ร่วมกับครูผสู้ อนและเพือ่ นในวนั พบกลมุ่ ท่ี กศน.ตาบล

แผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ก หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 5 หวั เร่อื ง พ หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั กา ระดับมธั ยมศกึ ภาคเรยี นที่ .......... ปีกา ครั้งท่ี วัน /เดอื น/ ปี ตวั ชี้วัด เน้ือหาสาระการ หัวเรื่อ 4. มีทกั ษะในการ เรียนรู้ หนว่ ยท่ี 5 ปฏบิ ตั ิตน รายวชิ า การใช้ พลงั งานจะมคี า่ ด้วยทเี่ รา พลังงานไฟฟา้ ใน สภาพปัญหา ชีวติ ประจาวนั 3 1. ส่ิงแวดลอ้ มเ 2. การทาลาย พว32023 ทรพั ยากรธรรม 3. การนาวัสดุท หวั เรอื่ ง นากลับมาใชใ้ ห 4. การนาความ การทางานของ เทคโนโลยมี าใช ระบบในร่างกาย กาจดั วสั ดุ - การทางานของ 5. ความรู้เร่อื งว ระบบย่อยอาหาร อนั ตราย - การทางานของ 6. การสง่ เสริมก ระบบขับถา่ ย - การทางานของ ระบบประสาท - การทางานของ ระบบสืบพันธุ์

กศน. ตามรปู แบบ ONIE Model พลังงานจะมีคา่ เริ่มตน้ ด้วยทเี่ รา ารศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 กษาตอนปลาย ารศึกษา ..................... อง ประเดน็ /ปัญหา/ การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ หมายเหตุ า เรมิ่ ตน้ สิ่งจาเป็นทตี่ อ้ งเรยี นรู้ การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ เปน็ พิษ 1. ผู้เรียนขาดความรู้ 1. ให้ผ้เู รยี นศกึ ษาคน้ ควา้ การ มชาติ เรื่องส่ิงแวดลอ้ มเปน็ คัดแยกวัสดุท่เี ป็นพษิ ต่อ ทใ่ี ชแ้ ล้ว พษิ สิ่งแวดล้อม จากแหล่งเรียนรู้ หม่ 2. ผเู้ รียนขาดความรู้ ในชมุ ชน เชน่ ห้องสมุด ส่ือ มรูท้ าง การใชแ้ ละอนรุ ักษ์ ออนไลน์ และสรปุ เป็น ชใ้ นการ ทรพั ยากรธรรมชาติ รายงานแล้วนามาอภปิ ราย วสั ดุ 3. ผู้เรียนขาดความรู้ ร่วมกับครผู ู้สอนและเพื่อนใน การ เกี่ยวการนาวสั ดุทใี่ ช้ วนั พบกลุ่มที่ กศน.ตาบล แลว้ นากลับมาใชใ้ หม่ 2. ใหผ้ เู้ รียนศึกษาค้นควา้ 4. ผเู้ รยี นขาดความรู้ วสั ดุอนั ตราย จากแหลง่ เกี่ยวการนาความรู้ทาง เรียนรู้ในชุมชน เช่น เทคโนโลยีมาใชใ้ นการ หอ้ งสมดุ สื่อออนไลน์ และผู้รู้ กาจัดวสั ดุ แลว้ นามาทาเป็นบตั รคาศพั ท์ 5. ผ้เู รยี นขาดความรู้ ภาษาองั กฤษ เกย่ี วกับวัสดุ เรอ่ื งวัสดอุ นั ตราย 6. ผเู้ รียนขาดความรู้ใน

คร้งั ที่ วนั /เดือน/ ปี ตัวช้วี ัด เน้ือหาสาระการ หัวเรื่อ ประดษิ ฐว์ สั ดุ เรียนรู้ - การทางานของ ระบบตอ่ มไรท้ อ่ - การดูแลรักษา ระบบของรา่ งกาย ทส่ี าคญั ปัญหาเพศศกึ ษา - ทักษะการจัดการ ปัญหาทางเพศ - ปัญหาทางเพศใน เดก็ และวยั รุ่น - การจดั การกบั อารมณ์ และความ ตอ้ งการทางเพศ - ความเช่ือที่ผิดๆ ทางเพศ - กฎหมายท่ี เกย่ี วขอ้ งกับการ ละเมดิ ทางเพศ อาหารและ โภชนาการ - โรคขาด สารอาหาร

อง ประเด็น/ปัญหา/ การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ หมายเหตุ สิง่ จาเป็นทีต่ ้องเรียนรู้ การประดษิ ฐ์วสั ดุ อนั ตราย อยา่ งน้อย 5 คา แล้วนามาแสดงใหเ้ พ่อื นดู แลว้ นามาอภปิ รายรว่ มกับ ครูผ้สู อนและเพือ่ นในวนั พบ กล่มุ ที่ กศน.ตาบล 3. ให้ผเู้ รยี นศึกษาค้นควา้ วัสดุทส่ี ามารถนากลบั มา ใชไ้ ด้จากแหล่งเรยี นรูใ้ น ชุมชน เช่น ห้องสมุด ส่อื ออนไลน์ และสรุปเป็น แผนผงั ความคิด อภปิ ราย แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ ให้เพือ่ น ฟังแลว้ นามาอภปิ รายรว่ มกบั ครผู ู้สอนและเพื่อนในวันพบ กลุ่มท่ี กศน.ตาบล 4. ใหผ้ ู้เรียนศึกษาคน้ ควา้ เรื่องการใชเ้ ทคโนโลยีในการ เผาวสั ดุ ที่ช่วยแก้ปญั หาการ ทาลายสง่ิ แวดลอ้ ม แล้วนามา จัดนิทรรศการ และอธบิ าย เพ่มิ เติมใหเ้ พื่อนฟัง แลว้ นามาอภปิ รายร่วมกับ

คร้งั ที่ วนั /เดือน/ ปี ตัวช้วี ัด เน้ือหาสาระการ หวั เร่ือ เรียนรู้ - การสุขาภิบาล อาหาร - การจดั โปรแกรม อาหารใหเ้ หมาะสม กับบุคคลใน ครอบครัว การเสรมิ สร้าง สขุ ภาพ - การรวมกลุ่มเพ่อื เสริมสร้างสขุ ภาพ ในชมุ ชน - การออกกาลงั กายเพ่ือสุขภาพ

อง ประเด็น/ปญั หา/ การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ หมายเหตุ สง่ิ จาเปน็ ทตี่ ้องเรียนรู้ ครูผ้สู อนและเพือ่ นในวนั พบ กลุ่มที่ กศน.ตาบล 5. ให้ผู้เรียนเดินรณรงค์ ประชาสัมพันธก์ ารแยกขยะรี ไซเคลิ และการลดขยะใน ชมุ ชนพร้อมทง้ั ทาแผ่นพับ จากโปรแกรม Microsoft แล้วเดินแจกประชาชนใน ชมุ ชน แลว้ นามาอภิปราย รว่ มกบั ครผู สู้ อนและเพื่อนใน วันพบกลุ่มที่ กศน.ตาบล 6. ให้ผู้เรยี นศึกษาค้นควา้ การ ทาโครงงาน จากแหล่งเรยี นรู้ ในชุมชน เช่น หอ้ งสมุด สอ่ื ออนไลน์ แล้วนามาทา โครงงานประดิษฐว์ สั ดุ พร้อม ท้ังรูปเลม่ โครงงาน แลว้ นามา อภปิ รายรว่ มกับครผู สู้ อนและ เพื่อนในวนั พบกล่มุ ท่ี กศน. ตาบล

ความสาคญั และประโยชน์ของพลงั งาน สมยั อดีตมนุษยใ์ ชพ้ ลงั งานที่หาไดง้ ่ายๆ ตามธรรมชาติ เช่น แสงแดด ลม น้า พลงั งานจาก สัตว์ เล้ียง เป็ นส่วนใหญ่ จะเห็นวา่ พลงั งานที่นามาใชน้ ้ีจะเป็นพวกที่ไมม่ ีวนั หมดส้ินไปจากโลก มีการทดแทนอยตู่ ลอดเวลา ต่อมา เม่ือมนษุ ยเ์ ริ่มใชพ้ ลงั งานประเภทอื่น เช่น น้ามนั ถ่านหิน มนุษยก์ ม็ ีเวลาวา่ งมากข้ึนเพราะไม่ตอ้ งใชแ้ รงงานของตนมาก นกั ทาใหม้ ีเวลาในการพฒั นาเรื่องตา่ งๆ มีการคิดคน้ ทางวทิ ยาศาสตร์ ศิลปกรรม และเร่ืองอื่นๆ ทมี่ ีประโยชนม์ ากข้นึ ทาให้ มนุษยม์ ีอารยธรรมความเจริญรุ่งเรือง สะดวกสบายมากข้นึ โดยใชพ้ ลงั งานเป็ นหลกั สาคญั ในการดาเนินกิจกรรมตา่ งๆ ดงั น้นั อาจสรุปไดว้ ่า พลงั งานเป็ นปัจจยั สาคญั ในการสร้างเสริมความสุขสวสั ดิภาพแก่ประชาชน บางประเทศ พลงั งานมีส่วนเกี่ยวขอ้ งกบั ความมน่ั คงทางเศรษฐกิจ การเมือง วฒั นธรรมของชาติ ประเทศไทยกม็ ีพลงั งานที่มีคุณคา่ ทางเศรษฐกิจ หลายแหล่ง เช่น แหล่งกา๊ ซธรรมชาติ ถ่านหิน พลงั น้า พลงั งาน แสงอาทิตย์ พลงั งานลม พลงั งานชีวมวล กา๊ ซชีวภาพ ซ่ึง พลงั งานเหล่าน้ีจะนาไปสู่การยกระดบั ความเป็ นอยขู่ องประชาชนในประเทศไดอ้ ีกดว้ ย แหล่งพลงั งานทส่ี าคญั แหล่งพลงั งานทสี่ าคญั ทใ่ี ช้ในปจั จุบนั แบ่งเป็ น 3 แหล่งใหญ่ๆ ได้แก่ 1. พลงั งานจากแร่เชื้อเพลงิ ธรรมชาติ ได้แก่ 1.1 นา้ มันปิ โตรเลยี ม (petroleum) มีกาเนิดจากซากส่ิงมีชีวิต (organic matter) ซ่ึงสะสมอยู่ ร่วมกบั ตะกอนของดินและเศษหิน และถกู ทบั ถมอยใู่ ตผ้ วิ โลก เป็ นเวลานานหลายลา้ นปี ดว้ ยความร้อน ความกดดนั และการ กระทาของแบคทีเรีย ทาใหซ้ ากสิ่งมชี ีวิตเกิดการสลายตวั และใหป้ ิ โตรเลียม 1.2 ถ่านหนิ (coal) คอื แร่เช้ือเพลิงธรรมชาติชนิดหน่ึง มีสีน้าตาลอ่อน จนถึงสีดา เกิดข้นึ จากการท่ี พืชถกู ทบั ถมในหนองน้าใตด้ ิน และโคลนในสภาพท่ีไม่เน่าเป่ื อย แต่เกิดการเปล่ียนแปลงแบบไม่ใชอ้ อกซิเจนอยา่ งชา้ ๆ คุณภาพของถ่านหินข้นึ อยกู่ บั อตั ราการเปลี่ยนแปลงของถ่านหิน ถ่านหินสามารถแบ่งชนิดตามคุณภาพ ได้ 4 ชนิด คอื ลิกไนต์ ซบั บิทมู ินสั บิทมู ินสั และแอนทราไซต์ ถ่านหินพบทว่ั ไปในประเทศไทย แตแ่ หล่งที่พบส่วนใหญ่อยทู่ างตอนเหนือของประเทศไทย โดยบริเวณท่มี กั พบถ่านหิน คอื ลาปาง เชียงใหม่ พะเยา ตาก กระบ่ี เพชรบุรี และเลย ถ่านหินที่พบในประเทศไทยมีทุกชนิด แต่ ส่วนใหญ่คือ ลิกไนต์ ซ่ึงแหล่งผลิตลกิ ไนตท์ ี่ขดุ มาใชแ้ ลว้ มี 3 แหล่ง คือ จงั หวดั ลาปาง ลาพนู และกระบี่ ส่วนแหล่ง

ถ่านหินในต่างประเทศมมี ากท่ีสุดในทวปี เอเชีย รองลงมาคอื อเมริกาเหนือ ยโุ รปตะวนั ตก แอฟริกา ออสเตรเลีย และ ในอเมริกากลางและใต้ 1.3 ก๊าซธรรมชาติ (natural gas) เป็ นทรัพยากรประเภทหน่ึงเกิดจากซากพชื และซากสัตวท์ ่ีทบั ถมกนั มานาน หลายลา้ นปี แลว้ เกิดการยอ่ ยสลายกลายเป็ นสารประกอบที่อุดมดว้ ยไฮโดรเจนและคาร์บอน นานวนั ตะกอนที่ทบั ถมกนั จะคอ่ ยๆ จมลึกลงไปในช้นั ดิน แรงกดดนั จากการทบั ถมและคาร์บอนจากใตด้ ิน ทาใหส้ ารไฮโดรคาร์บอนท่ีเกิดจากการยอ่ ยสลายของ ซากพชื ซากสัตวด์ งั กล่าว กลายเป็ นน้ามนั และกา๊ ซธรรมชาติ สามารถนามาใชป้ ระโยชนไ์ ด้ 2. พลงั งานจากแหล่งธรรมชาติ หรืออาจเรียกว่าเป็ นพลงั งานหมุนเวียน เนื่องจากเป็ นแหล่งพลงั งานที่สามารถผลิตข้ึน ทดแทนไดแ้ ละระยะเวลาในการผลิตไม่นานนกั หรือเป็ นแหล่งท่ีมีปริมาณมากจนอาจกล่าวไดว้ า่ ใชแ้ ลว้ ไม่หมดไป ง่ายๆ แหล่งพลงั งานน้ี ไดแ้ ก่ น้า ดวงอาทิตย์ ลม ความรอ้ นใตพ้ ภิ พ ชีวมวล 2.1 พลงั งานนา้ (water energy) เกิดจากพลงั งานแสงอาทิตยแ์ ละพลงั งานศกั ย์ เน่ืองจากแรงดึงดูดของโลก เป็ นพลงั งานที่สะอาด ไม่มีผลเสีย ต่อสิ่งแวดลอ้ มมากนกั มีการทดแทนตอ่ เนื่องตลอดเวลา ทาใหใ้ ชป้ ระโยชนไ์ ดไ้ มม่ ที ่ีสิ้นสุด แตเ่ ป็ นพลงั งานท่ีตอ้ งลงทุน สูง ค่าใชจ้ ่ายในการบารุงรักษาสูง การจะนามาใช้ ตอ้ งพจิ ารณาใหร้ อบคอบ เพ่อื สามารถใชไ้ ดผ้ ลอยา่ งคมุ้ ค่าจริงๆ ในปัจจุบนั ประเทศไทยมีการนาพลงั งานน้ามาใชเ้ พื่อ การผลิตกระแสไฟฟ้ ามากข้ึน การผลิตไฟฟ้ าขนาดใหญด่ ว้ ยพลงั น้าจะตอ้ งมีบริเวณ กกั เก็บน้าขนาดใหญ่ ซ่ึงโดย ทว่ั ไปจะตอ้ งสร้างเขื่อนควบคกู่ นั ไปเพ่ือใหม้ ีระดบั น้าสูง เมื่อปล่อยใหน้ ้าจากระดบั สูง ไปขบั กงั หนั น้าหมุนเคร่ืองกาเนิดไฟฟ้ าจะทาใหเ้ กิดพลงั งานไฟฟ้ าข้ึน นอกจากพลงั น้านาไปใชป้ ระโยชนใ์ นการผลิตไฟฟ้ าแลว้ ยงั ใช้ ประโยชนด์ า้ นอื่นๆ อกี เช่น การเกษตร การประมงในอ่างเก็บน้า เป็ นตน้ 2.2 พลงั งานแสงอาทติ ย์ (solar energy)

ประกอบดว้ ยรังสีทุกรูปแบบ เช่น รังสีอุลตราไวโอเลต รงั สีอินฟาเรต รังสีแกมมา รงั สีเอกซ์ คล่ืนวิทยุ ความร้อน แสงสว่าง การนาพลงั งานแสงอาทิตยม์ าใชป้ ระโยชนใ์ นการผลติ กระแสไฟฟ้ า การเปลี่ยนรูปพลงั งานแสงอาทิตยเ์ ป็ นพลงั งานไฟฟ้ าทาได้ 2 วิธี คอื 1. การเปล่ียนโดยตรงโดยใชเ้ ซลลแ์ สงอาทิตย์ 2. การเปล่ียนโดยกระบวนการความร้อน โดยนาพลงั งานแสงอาทิตย์ มาเปลี่ยนรูปเป็ น พลงั งานความร้อน เพอื่ ตม้ น้ากลายเป็ นไอไปหมุนกงั หนั ไอน้า และกงั หนั ไอน้าผลิตพลงั งานกลหมุนเคร่ืองกาเนิดไฟฟ้ าตอ่ ไป 2.3 พลงั งานลม (wind energy) เป็ นพลงั งานธรรมชาติท่ีมีความสะอาดบริสุทธ์ิ และสะสมอยใู่ นแหล่งตา่ งๆ ของโลก สามารถพฒั นา นามาใชเ้ ป็ นประโยชน์ โดยอาศยั เครื่องมอื ท่ีเรียกว่า กงั หนั ลม เป็ นตวั สกดั ก้นั พลงั งานจลนข์ องกระแสลมแลว้ เปลี่ยนเป็ นพลงั งาน กล ผ่านเขา้ เครื่องกาเนิดไฟฟ้ า (generator) แปรสภาพเป็ นพลงั งานไฟฟ้ านามาใชป้ ระโยชนไ์ ดต้ ่อไป การพฒั นาการใชพ้ ลงั งานลมในประเทศไทย ยงั มีอยนู่ อ้ ย เนื่องจากพ้ืนที่ส่วนใหญ่ในประเทศ ไทย ขอ้ มูลลมไม่เหมาะสมที่จะสามารถผลิตพลงั งานขนาดใหญไ่ ด้ คือมีอตั ราเร็วลมเฉล่ียต่า อีกท้งั อาจมีพายแุ รง ซ่ึงอาจทา ใหก้ งั หนั ลมเสียหายได้ แตก่ ม็ ีผพู้ ยายามออกแบบและศึกษากงั หนั เพอ่ื ใหส้ ามารถใชง้ านไดห้ ลายแบบ 2.4 พลงั งานความร้อนใต้พภิ พ (geothermal energy)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook