ว33291 การเขียนโปรแกรม บทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน (CAI) ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ เ ท ค โ น โ ล ยี ( ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ) ม. 6/4(7) BY: UBONRAT BOONPRASERT
วชิ า ว33191 เ ก ณ ฑ์ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร เ รี ย น ภาคเรยี นที 1/2563 1. การเขา้ เรยี นไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 80 (10 คะแนน) 2. ศึกษาการใชโ้ ปรแกรมเบอื งต้น และขนั ตอนการ ดาวน์โหลดโปรแกรมเพอื ใชง้ าน (10 คะแนน) 3. สามารถติดตังและใชง้ านโปรแกรมอรรถประโยชน์ และโปรแกรมประยุกต์ได้ (10 คะแนน) 4. สามารถใชค้ ําสงั และเครอื งมอื ต่างๆ เพอื สรา้ งสรรค์ ชนิ งานได้ (10 คะแนน) 5. สามารถประยุกต์ใชง้ านรว่ มกับโปรแกรมต่าง ๆ ได้ และสรา้ งสรรค์ ผลงานหนังสอื อิเล็กทรอนิกสไ์ ด้ (15 คะแนน) 6. มที ักษะในการปฏิบตั ิงานการใชง้ านโปรแกรม อรรถประโยชน์เผยแพรผ่ ลงานผ่านระบบเครอื ขา่ ย ภายในโรงเรยี นได้ Google Meet (15 คะแนน) 7. มคี ณุ ลักษณะนิสยั ทีพงึ ประสงค์ และเจตคติทีดีในวชิ าชพี คอมพวิ เตอร์ (10 คะแนน) 8. สอบปลายภาค 1/2563 (20 คะแนน) - สอบปรนยั ผา่ น Onilne - สอบอัตนยั ผา่ น Onilne รวมคะแนนเต็ม (100 คะแนน)
การติดตังโปรแกรม Desktop Author มี ขั้ น ต อ น ดั ง ต่ อ ไ ป นี้ 1. ไปยังตาํ แหนงท่ีเก็บไฟลติดต้ัง โปรแกรม Desktop Author จะปรากฏ ไฟลท่ีใชในการติดตั้ง ดังภาพ 2. ติดตั้งโปรแกรมโดยการดับเบ้ิลคลิกท่ี ไฟล จากนั้นจะปรากฏหนาตางตอนรับการ ติดต้ังโปรแกรม ใหคลิกปุม Next
3. จากน้ันจะปรากฏหนาตางลิขสิทธิ์ โปรแกรม ใหคลิกเลือก I accept the license agreement เพ่ือยอมรับลิขสิทธ์ิ จากนั้นกดปุม Next > 4. เม่ือปรากฏหนาตางชื่อผูใชงานใหกดปุม Next > ผานไปเลย 5. จากน้ันจะปรากฏหนาตางตําแหนงการติด ตั้งของโปรแกรม โดยโปรแกรมจะถูกติดตั้ง ไวท่ี C:\\Progarm Files\\DesktopAuthor\\ ใหคลิกปุม Next> ผานไปอีกครั้ง 6. จากนั้นจะปรากฏหนาตางเกี่ยวกับ การ Update โปรแกรม ใหคลิกปุม Next>
7. โปรแกรมจะเริ่มติดตั้งโดยการคดลอกไฟล ตาง ๆ ลงในเคร่ือง ใหรอจนกวาการติดต้ัง จ ะ แ ล ว เ ส ร็ จ 8. จากน้ันจะปรากฏหนาจอเสร็จส้ินการติด ตั้งโปรแกรม แสดงวาการติดต้ังโปรแกรม เรียบรอยแลว ใหคลิกปุม Finish เพื่อเสร็จ สิ้ น ก า ร ติ ด ต้ั ง โ ป ร แ ก ร ม
ความหมายของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์e-Book คืออะไร e-Book (electronic + Book = e-Book) ได้กลายมาเปน ส่วนหนึงของการปฏิวัตินวัตกรรมทีเรว็ มาก (Hottest) บน ระบบเครอื ข่ายอินเทอรเ์ น็ตทุกวันนี ผู้บรหิ ารการศึกษาใน รฐั เท็กซลั ได้เหน็ ความจาํ เปนทีต้องใช้ e-Book ทีไรก้ ระดาษ ทีปรากฏขึนใน Cyberspace จะมีผลกระทบต่อการผลิต หนังสือการดาษทีมีมาก่อนมากน้อยเพียงใด ย่อมขึนอยู่ กัลปเทคโนโลยีทีนาํ มาใช้ทําใหเ้ กิดความสะดวกสบาย และ ความคุ้มค่าในระยะสัน ระยะยาว และวัฒนธรรมการอ่าน จากจอคอมพิวเตอรส์ ามารถทําใหเ้ ปลียนไปด้วย e-Book หมายถึง หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ทีอยู่ในรูปแบบดิ จิตัล ผู้อ่านสามารถอ่านโดยใช้เครอื งคอมพิวเตอรห์ รอื เครอื งอ่าน e-Book (Rocket e-Book Softbook,Microsoft Reader) e-Book มี คุณลักษณะพิเศษกว่าหนังสือกระดาษหลายประการ อาทิ แสดงผลด้วย ภาพ ข้อความ เสียงภาพเคลือนไหว เปนต้น ซงึ สามารถเปดอ่านเหมือนหนังสือทัวไป และพกพา หนังสาํ จาํ นวนมากติดตัวไปได้ทุกที ทุกเวลา สามารถ Download มาไว้ใน Palm Pilot เปดออกมาอ่านตาม ต้องการและยังสามารถเชือมโยงกับข้อความต่างๆ ภายใน ตัวหนังสือหรอื ภายนอกเว็บไซต์อืนๆ จากอินเทอรเ์ น็ต ยิง กว่านันผู้อ่านสามารถอ่านพรอ้ มๆ กันได้โดยไม่ต้องรอการ ยืมหรอื คืนเหมือนหนังสือกระดาษในหอ้ งสมุด
e-Book ทํางานเหมือน Web-brower สามารถ ดาวน์โหลดมายังคอมพิวเตอรไ์ ด้ สามารถอ่านในรูปแบบ Offline ได้ หรอื พิมพ์ก็ได้ e-Book กําลังปฏิวัติรูปแบบการ จัดการและการนําเสนอสารสนเทศ ทีเปลียนไปจากการนาํ เสนอเนือหาแบบเดิมและพรอ้ มๆ กับการปฏิวัติ e- Learning รวมทังการพัฒนาศักยภาพของคอมพิวเตอร์ e-Book จะมุ่งการเรยี นรูด้ ้วยการเหน็ และการปฏิสัมพันธ์ มีการสะท้อนโลกกว้างใหเ้ หน็ และทําใหเ้ กิดการปฏิสัมพันธ์ แม้อยู่ไกลกันคนละซกี โลก โดยทีการสรา้ ง e-Book ทีใช้ ซอฟต์แวรจ์ ัดระบบเปนพิเศษในแฟม EXE หรอื PDF ขอบเขตของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ไม่จาํ กัดแต่เพียงการ แปลงหนังสือรูปแบบกระดาษมาเปนหนังสือรูปแบบ อิเล็กทรอนิกส์ แต่จะหมายรวมถึง ข้อมูล สารสนเทศ บทความต่างๆ ในลักษณะข่าวสาร หนังสือ วารสาร อิเล็กทรอนิกส์ รวมทังคู่มือการใช้งานช่วยเหลือใน โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เว็บเพ็จแฟมข้อมูลใน CD ROM และ World Wind Web จากความหมายทีกล่าวมา สามารถสรุปได้ว่า หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง การนาํ หนังสือหนึงเล่ม หรอื หลายๆ เล่ม มาออกแบบใหม่ใหอ้ ยู่ในรูปของ อิเล็กทรอนิกส์ โดยปรบั ปรุงหรอื เปลียนแปลงข้อมูลเหล่า นันใหอ้ ยู่รูปของตัวอักษร, ภาพนิง , ภาพเคลือนไหว , เสียง , ลักษณะทีตอบโต้กันได้ (interactive) HTTPS://DOCS.GOOGLE.COM/DOCUMENT/D/1ULF1KITBTCBPW9P 2BMDECDCMQ4ELXKMYK3OTHY6KFBA/EDIT
และการเชือมโยงแบบไฮเปอรเ์ ท็กซ์ สามารถทําบุ๊คมารก์ และหมายเหตุประกอบตามทีผู้ใช้ต้องการได้ โดยอาศัยพืน ฐานของเล่มหนังสือเปนหลัก ลักษณะของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์มีโครงสรา้ งเหมือน ๆ กับ หนังสือเล่มทัวๆ ไปโดยจะประกอบด้วยหน้าปกหน้า-หลัง, สารบัญ, เนือหาภายในเล่ม และดัชนี เนือหาภายในเล่มอาจ จะแบ่งออกเปนบทแต่ละบทมีจาํ นวนหน้ามากน้อยแตกต่าง กันไป ในแต่ละหน้าจะประกอบด้วย ตัวอักษร, ภาพนิง, ภาพเคลือนไหว, เสียง (อาจจะแสดงทันทีหรอื ปรากฏเปน ปุมไว้ใหก้ ดเรยี กก็ได้) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์จะแตกต่าง จากหนังสือเล่มในการพลิกหน้า โดยทีไม่ได้มีการพลิกหน้า จรงิ หากแต่เปนไปในลักษณะของการซอ้ นทับกัน สิงทีแตก ต่างกันระหว่างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์กับหนังสือเล่มอย่าง เด่นชัดคือ การปฏิสัมพันธ์และความเปนพลวัต ซงึ อาจจะ แตกต่างกันล่างในหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แต่ละเล่ม ทังนีขึน อยู่กับจุดประสงค์การใช้งาน และการปฏิสัมพันธ์จากผู้อ่าน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์มีลักษณะเหมือนกับหนังสือเล่มดัง ภาพประกอบ 2 คือ มีหน้าปกเพือบอกข้อมูลต่าง ๆ เกียว กับหนังสือ หากใน 1 หน้า มีข้อมูลเปนหน้าคู่ ด้านซา้ ยมือ เปนหน้าซา้ ยด้านขวามือจะเปนหน้าขวา กดปุม HTTPS://DOCS.GOOGLE.COM/DOCUMENT/D/1ULF1KITBTCBPW9P 2BMDECDCMQ4ELXKMYK3OTHY6KFBA/EDIT
ไปหน้าก็จะไปยังหน้าต่อไป กดปุมถอยหลังจะกลับไปหน้า ก่อน นอกจากนียังสามารถกระโดดข้ามไปยังหน้าทีผู้อ่าน ต้องการได้อีกด้วย หน้าสุดท้ายจะเปนหน้าก่อนออกจาก โปรแกรม ถึงแม้ว่าหนังสืออิเล็กทรอนิกส์จะคล้ายกับ หนังสือเล่มมากแต่ข้อจาํ กัดทีมีอยู่มากมายในหนังสือเล่ม ไม่สามารถส่งอิทธิพลมายังหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แต่อย่าง ใด การเปรยี บเทียบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 3 รูปแบบ การทียกหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ทัง 3 ประเภทคือ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ภาพนิง หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ภาพเคลือนไหว และ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดีย มาเปรยี บเทียบนันเพราะว่าหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ทัง 3 ประเภทนีจัดเปนพืนฐานของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ทังหมดทีมีอยู่ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 2 ชนิดแรก สนับสนุนคอมพิวเตอรช์ ่วยการเรยี นรู้ (Computer – Assisted Learning) ส่วนชนิดสุดท้ายเปนหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ทีสนับสนุนสิงแวดล้อมการเรยี นรูแ้ บบ ปฏิสัมพันธ์ เพือสนับสนุนการเรยี นแบบค้นพบของ คอมพิวเตอรช์ ่วยการเรยี นรู้
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ภาพนิง 1. หนังสืออิเล็กทรอนิกสภาพน่ิง (Static Picture Books)หนังสืออิเล็กทรอนิกสภาพน่ิงเปนการรวบรวมภาพที่ เก่ียวของกันเอาไวดวยกันตามแตจุดประสงคใดๆ ก็ตามท่ีผู ผลิตตองการ ยกตัวอยางเชน ใชประกอบการสอน เปนตน โมเดลคํานิยามของหนังสืออิเล็กทรอนิกสภาพนิ่งมีดังภาพ ประกอบ 3 อันประกอบดวย ปกหนา ,กลุมภาพน่ิง , และปก หลัง ภาพน่ิงน้ีอาจเปนภาพจากวิดีโอ, ซีดีรอม หรือจากท่ีอ่ืนๆ ก็ได ขอจํากัดอยางหนึ่งของหนังสืออิเล็กทรอนิกสภาพน่ิงคือ ขาดโครงสรางของบท แตหากจะใหมีก็สามารถทําไดไมยากโดย เก็บรวบรวมภาพที่มีลักษณะแนวเดียวกัน เชน หัวขอเกี่ยวกับ สัตว ซึ่งเปนบทท่ีอยูตามลาํ พังไมข้ึนกับบทอ่ืน ใชรวบรวมสัตว พวกแมว, หมา, นก และสัตวอื่นๆ ส่ิงสาํ คัญสาํ หรับหนังสือ อิเล็กทรอนิกสภาพน่ิง คือ ตองมีการควบคุททรงเลือกท่ีหลาก หลายแทนลูกศรในโมเดลของมันซึ่งอาจควบคุมหนังสือ อิเล็กทรอนิกสทั้งเลมหรือเปนบางตอนก็ได
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ภาพเคลือนไหว 2. หนังสืออิเล็กทรอนิกสภาพเคลื่อนไหว (Moving Picture Book)หนังสืออิเล็กทรอนิกสภาพเคลื่อนไหวเปนหนังสือ อิเล็กทรอนิกสแบบหนึ่งซ่ึงบรรจุภาพเคล่ือนไหวไวมากวา หนังสืออิเล็กทรอนิกสภาพน่ิง ภาพเคลื่อนไหวเหลาน้ีอาจมา จากคอมพิวเตอรหรือสื่อจากส่ืออ่ืน เชน วิดีโอหรือซีดีรอม ภาพ จะมีการนําเสนออยางไรข้ึนอยูกับอัตราที่ตั้งไว อาจนาํ เสนอ อยางรวดเร็ว, ชาหรือปกติก็ได โมเดลคาํ นิยามของหนังสือ อิเล็กทรอนิกสภาพเคลื่อนไหวมีดังภาพประกอบ 4 ภาพ เคลื่อนไหวเปนการแสดงชุดของภาพที่มีลักษณะคลายกันตอ เน่ืองกันอยางรวดเร็ว โมเดลของหนังสืออิเล็กทรอนิกสชนิดน้ี เหมือนกับโมเดลของหนังสืออิเล็กทรอนิกสภาพนิ่ง โดยจะมีปก หนาและปกหลัง ตรงกลางจะประกอบดวยโครงสรางของบทที่ มีลักษณะเหมือนกันดังภาพประกอบ 1 แตละบทจะประกอบ ดวย ภาพจาํ นวนมากซึ่งเรียงลาํ ดับตามหัวขอหรือเน้ือเร่ือง ถา ตองการแบงเปนหมวดหมูหรือยอยไปกวานั้นก็สามารถกาํ หนด ใหเพ่ิมขึ้นไดอีกในโครงสราง ความมีการควบคุมทางเลือกที่ หลากหลายของหนังสืออิเล็กทรอนิกสภาพเคลื่อนไหว
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ภาพเคลือนไหว โดยสามารถเลน, หยุดดู, ถอยหลัง, ไปหนาได ตามท่ีผูอาน ตองการดวย 3. หนังสืออิเล็กทรอนิกสมัลติมีเดีย (Multi – Media Books)หนังสืออิเล็กทรอนิกสมัลติมีเดียประกอบดวยตัวอักษร เสียงและภาพรวมกันโครงสรางหนาของหนังสืออิเล็กทรอนิกส มัลติมีเดียมีดังภาพประกอบ 1 ในสวนที่แรเงาในภาพนาํ เสนอ ตัวอักษร เสียง และภาพตามที่ผูใชเลือก ภาพของหนังสือ อิเล็กทรอนิกสมัลติมีเดียอาจเปนภาพธรรมดาที่มีเอฟเฟค หรือ ภาพเคลื่อนไหวก็ได ในหน่ึงหนาจอ จะประกอบไปดวยหลายๆ สวนดังภาพประกอบ 5 ไดแก ตัวอักษร ภาพน่ิง ภาพวิดีโอ กรอบโตตอบระหวางผูอานกับคอมพิวเตอรในหนาน่ีอาจใสเสียง ดวย
โดยอาจใสไวในรูปของปุมเพ่ือใหผูเรียนเลือกใช หนังสือ อิเล็กทรอนิกสหลายๆ ประเภท รวมท้ังหนังสืออิเล็กทรอนิกส มัลติมีเดียจะไดรับความสะดวกสลายจากตัวจัดการซอนทับ (Overlay Manager) ดังภาพประกอบ 6 หนาจอท้ังหมดท่ีผูใช มองเห็นเกิดจากการรวมตัวของแตละหนาจอทางตรรกะวิทยา (Logical Screen) ท่ีมีอยูโดยแตละหนาจอจะมีภาพพ้ืนฐานเปน ภาพหลัก ตัวซอนทับ 1,2,3 และ 4 จะปรากฏขึ้นเอง หรือตอง อาศัยการกดปุมชวยข้ึนอยูกับผูออกแบบโปรแกรมวาจะ ออกแบบไวอยางไร ตัวจัดการการซอนทับมีประโยชนตอการ รวบรวม การควบคุมโครงสราง และการที่จะเปนหนังสือ อิเล็กทรอนิกสมัลติมีเดีย จะตองอาศัยพื้นฐานโมเดลตัวจัดการ ซอนทับ (Overlay Model) ดวย ขอดีและขอจาํ กัดของหนังสืออิเล็กทรอนิกส 1. ขอดีของหนังสืออิเล็กทรอนิกส มีขอดีดังตอไปนี้ 1.1 เปนสื่อท่ีรวมเอาจุดเดนของส่ือแบบตางๆ มารวมอยูในสื่อตัว เดียว คือ สามารถแสดงภาพ แสง เสียง ภาพเคลื่อนไหว และ การมีปฏิสัมพันธกับผูใช 1.2 ชวยใหผูเรียนเกิดพัฒนาการเรียนรูและเขาใจเนื้อหาวิชาได เร็วข้ึน 1.3 ครูสามารถใชหนังสืออิเล็กทรอนิกสในการชักจูงผูเรียนใน การอาน, การเขียน, การฟงและการพูดได
1.4 มีความสามารถในการออนไลนผานเครือขายและเช่ือมโยงไปสูโฮมเพจ และเว็บไซตตางๆอีกท้ังยังสามารถอางอิงในเชิงวิชาการได 1.5 หากหนังสืออิเล็กทรอนิกสออนไลนผานเครือขายอินเตอรเน็ตหรือ อินทราเน็ตจะทาํ ใหการกระจายสื่อทาํ ไดอยางรวดเร็ว และกวางขวางกวา ส่ือที่อยูในรูปส่ิงพิมพ 1.6 สนับสนุนการเรียนการสอนแบบหองเรียนเสมือน หองสมุดเสมือน และหองสมุดอิเล็กทรอนิกส 1.7 มีลักษณะไมตายตัว สามารถแกไขปรับปรุงเปล่ียนแปลงไดตลอด เวลา อักท้ังยังสามารถเชื่อมโยงไปสูขอมูลท่ีเก่ียวของไดโดยใชความสามา รถของไฮเปอรเท็กซ 1.8 ในการสอนหรืออบรมนอกสถานท่ี การใชหนังสืออิเล็กทรอนิกสจะ ชวยใหเกิดความคลองตัวยิ่งขึ้น เน่ืองจากสื่อสามารถสรางเก็บไวในแผนซีดี ได ไมตองหอบห้ิวสื่อซ่ึงมีจํานวนมาก 1.9 การพิมพทาํ ไดรวดเร็วกวาแบบใชกระดาษ สามารถทาํ สําเนาไดเทา ท่ีตองการประหยัดวัสดุในการสรางสื่อ อีกทั้งยังชวยอนุรักษสิ่งแวดลอมอีก ดวย 1.10 มีความทนทาน และสะดวกตอการเก็บบํารุงรักษา ลดปญหาการ จัดเก็บเอกสารยอนหลังซ่ึงตองใชเนื้อท่ีหรือบริเวณกวางกวาในการจัดเก็บ สามารถรักษาหนังสือหายากและตนฉบับเขียนไมใหเส่ือมคุณภาพ 1.11 ชวยใหนักวิชาการและนักเขียนสามารถเผยแพรผลงานเขียนได อยางรวดเร็ว
2. ขอจํากัดของหนังสืออิเล็กทรอนิกส ถึงแมวาหนังสืออิเล็กทรอนิกสจะมี ขอดีที่สนับสนุนดานการเรียนการสอนมากมายแตก็ยังมีขอจาํ กัดดวยดังตอ ไปนี้ 2.1 คนไทยสวนใหญยังคงชินอยูกับส่ือที่อยูในรูปกระดาษมากกวา อีกท้ังหนังสืออิเล็กทรอนิกสยังไมสมารถใชงานไดงายเมื่อเทียบกับส่ือส่ิง พิมพ และความสะดวกในการอานก็ยังนอยกวามาก 2.2 หากโปรแกรมส่ือ มีขนาดไฟลใหญมากๆ จะทําใหการเปลี่ยนหนาจอมีความลาชา 2.3 การ สรางหนังสืออิเล็กทรอนิกสเพ่ือใหไดประสิทธิภาพท่ีดี ผูสรางตองมีความรู และความชาํ นาญในการใชโปรแกรมคอมพิวเตอรและการสรางส่ือดีพอ สมควร 2.4 ผูใชสื่ออาจจะไมใชผูสรางส่ือฉะนั้นการปรับปรุงสื่อจึงทําได ยากหากผูสอนไมมีความรูดานโปรแกรมคอมพิวเตอร 2.5 ใชเวลาในการ ออกแบบมากเพราะตองใชทักษะในการออกแบบเปนอยางดีเพื่อใหไดส่ือท่ี มีคุณภาพ โครงสรางหนังสืออิเล็กทรอนิกส (e-Book Construction) ลักษณะโครงสรางของหนังสืออิเล็กทรอนิกสจะมีความคลายคลึงกับหนังสือ ท่ัวไปที่พิมพดวยกระดาษ หากจะมีความแตกตางที่เห็นไดชัดเจนก็คือ กระบวนการผลิต รูปแบบ และวิธีการอานหนังสือสรุปโครงสรางท่ัวไปของ หนังสืออิเล็กทรอนิกส ประกอบดวย1. หนาปก (Front Cover)2. คํานาํ (Introduction)3. สารบัญ (Contents)4. สาระของหนังสือแตละหนา (Pages Contents)5. อางอิง (Reference)6. ดัชนี (Index)7. ปกหลัง (Back Cover)หนาปก หมายถึง ปกดานหนาของหนังสือซึ่งจะอยูสวนแรก เปนตัวบงบอกวาหนังสือเลมน้ีช่ืออะไร ใครเปนผูแตง
คํานํา หมายถึง คาํ บอกกลาวของผูเขียนเพื่อสรางความรู ความเขาใจเกี่ยว กับขอมูลและเรื่องราวตางๆ ของหนังสือเลมน้ันสารบัญ หมายถึง ตัวบง บอกหัวเร่ืองสาํ คัญที่อยูภายในเลมวาประกอบดวยอะไรบางอยูท่ีหนาใดของ หนังสือ สามารถเช่ือมโยงไปสูหนาตางๆ ภายในเลมไดสาระของหนังสือ แตละหนา หมายถึง สวนประกอบสําคัญในแตละหนา ที่ปรากฏภายในเลม ประกอบดวย- หนาหนังสือ (Page Number)- ขอความ (Texts)- ภาพ ประกอบ (Graphics) .jpg, .gif, .bmp, .png, .tiff- เสียง (Sounds) .mp3, .wav, .midi- ภาพเคลื่อนไหว (Video Clips, flash) .mpeg, .wav, .avi- จุดเชื่อมโยง (Links) อางอิง หมายถึง แหลงขอมูลท่ีใชนํามาอางอิง อาจ เปน เอกสาร ตํารา หรือ เว็บไซตก็ไดดัชนี หมายถึง การระบุคาํ สาํ คัญหรือ คําหลักตางๆ ที่อยูภายในเลม โดยเรียงลําดับตัวอักษรใหสะดวกตอการ คนหา พรอมระบุเลขหนาและจุดเชื่อมโยงปกหลัง หมายถึง ปกดานหลัง ของหนังสือซ่ึงจะอยูสวนทายเลม
โปรแกรม Desktop Author ในปจจุบันการเรียนการสอนสามารถท่ีจะเรียนรูไดดวยตนเองโดยผาน ทางส่ือตาง ๆโดยเปลี่ยนจากหนังสือหรือเอกสารท่ัว ๆ ไปมาเปนการเรียน การสอนแบบ E-learning, e-bookหรือใชสื่ออื่น ๆ ท่ีเก่ียวของเขามาชวย ทาํ ใหมีการพัฒนากระบวนการเรียนการสอนใหนาสนใจมากยิ่งข้ึน
ว33291 BY: UBONRAT BOONPRASERT
Search
Read the Text Version
- 1 - 18
Pages: