๔๒การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ั4.2 ปัจจัยภายในที่เป็นจุดอ่อน ต่อการบริหารจัดการและพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้บรรลุวัตถุประสงค์ โรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ส านักงานเขตพนที่การศึกษามัธยมศึกษาอบลราชธานี อานาจเจริญ ืุ้มีปัจจัยสภาพแวดล้อมภายในที่เป็นจุดออน คือ 1)ภาระงานของโรงเรียนมีมากกว่าจ านวนบุคลากรมีจ านวนจ ากัด ่ปฏิบัติงานซับซ้อน ๒)การด าเนินงานตามนโยบายที่มีมากมาย ท าให้เกิดผลเสียต่อการเรียนการสอน ๓)การขับเคลื่อนระบบการบริหารไม่มีประสิทธิภาพ ๔)ขาดการนิเทศติดตาม 5)นักเรียนบางส่วนมีปัญหาทางด้านครอบครัว มีผลกระทบต่อนักเรียนในด้านสุขภาพและการเรียน 6)นักเรียนไม่กล้าแสดงออก 7)นักเรียนขาดความกระตือรือร้นในการมาโรงเรียน ใฝ่เรียนรู้ 8)ครูบางคนขาดทักษะการใช้เทคโนโลยี ที่ทันสมัย ใช้สื่อไม่เต็มประสิทธิภาพ ส่งผลให้นักเรียนเรียนรู้ได้ไม่เต็มตามศกยภาพ 9)ครูขาดความรู้เฉพาะด้านัส่งผลต่อการเรียนรู้ของนักเรียน 10)จ านวนครูไม่เพยงพอท าให้การมอบหมายงานบางอย่างไม่ตรง ีกับความถนัด และมีภาระงานเพมมากขึ้น 11)การจัดสอนแทน ท าให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ไม่เต็มตามิ่ศักยภาพ 12)ครูขาดการประชาสัมพนธ์ตนเอง และการประสานงานกับหน่วยงานอน ๑3)ขาดความคล่องตัวัื่ในการเบิกจ่ายจากต้นสังกัดส่งผลให้เกิดปัญหาต่อระบบการวางแผน พฒนาของโรงเรียน 14)ครูที่เป็นัเจ้าหน้าที่มีภาระงานมาก จึงท าให้การจัดท าเอกสารหลักฐานไม่ค่อยเป็นปัจจุบัน ๑5)วัสดุครุภัณฑ์ไม่เพยงพอีกับความต้องการใช้และบางส่วนช ารุดเสื่อมสภาพไม่สามารถน ามาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดได้ 16)สื่อเทคโนโลยีไม่เพยงพอต่อการให้บริการ ๑7)การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศไม่เป็นระบบปัจจุบันท าให้ ีขาดความคล่องตัวในการปฏิบัติงาน 18)โรงเรียนขาดการประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง 4.3 ปัจจัยภายนอกที่เป็นโอกาส ต่อการบริหารจัดการและพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้บรรลุวัตถุประสงค์ โรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ส านักงานเขตพนที่การศึกษามัธยมศึกษาอบลราชธานี อานาจเจริญ ืุ้มีปัจจัยสภาพแวดล้อมภายในที่เป็นโอกาส คือ 1)การศึกษาของประซากรในชุมชนจบการศึกษาภาคบังคับ มีความรู้อานออกเขียนได้ ๒)ชุมชนความส าคัญในการอนุรักษ์ประเพณี วัฒนธรรมท้องถิ่น และความร่วมมืออย่างดี ่๓)ชุมชนมีความสัมพนธ์อนดีต่อกันและให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ๔)เป็นชุมชนที่มีความพร้อม ััด้านสาธารณูปโภค ๕)ชุมชนมีความพร้อมในด้านบุคลากรสนับสนุนการศึกษา ๖)ชุมชนให้ความไว้วางใจ ในสุขภาพด้านการจัดการศึกษาของโรงเรียน 7)ชุมชนมีภูมิปัญญาท้องถิ่นและแหล่งเรียนรู้ตามศักยภาพ 8)มีลักษณะการด าเนินชีวิตแบบสังคมเมือง 9)ครอบครัวในชุมชนให้ความส าคัญต่อการศึกษา 10)ชุมชน มีเทคโนโลยีที่หันสมัย เป็นผลดีต่อการ ศึกษาของบุตรหลาน 11)มีโอกาสในการรับข้อมูลข่าวสารมากขึ้น 12)มีการติดต่อสื่อสารได้รวดเร็วทันเหตุการณ์ 13)ผู้ปกครองส่วนใหม่ มีอาชีพมั่นคง และมีรายได้ค่อนข้างดี พร้อมที่จะให้การสนับสนุนการศึกษา 14)มีท าเลที่เหมาะสมกับการท าธุรกิจ 15)ชุมชนมีอาชีพเสริมนอกเหนือจากการท านา เช่น การปลูกถั่วลิสง การปลูกยางพารา ร้านอาหาร ฯลฯ 16)ชุมชนมีผู้ประกอบอาชีพราชการ หรืออาชีพที่มั่นคง 17)ชุมชนให้ความร่วมมือในการระดมทรัพยากรเพอการศึกษา 18)องค์การื่ปกครองส่วนท้องถิ่น มีส่วนร่วมและสนับสนุนการจัดการศึกษา 19)นโยบายการเมืองให้ความเสมอภาค ทางการศึกษา 4.4 ปัจจัยภายนอกที่เป็นอุปสรรค ต่อการบริหารจัดการและพฒนาคุณภาพการศึกษาให้บรรลุัวัตถุประสงค์ โรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ส านักงานเขตพนที่การศึกษามัธยมศึกษาอบลราชธานี อานาจเจริญ ืุ้มีปัจจัยสภาพแวดล้อมภายในที่เป็นอปสรรค คือ 1)ชุมชนบางส่วนยังมีการมั่วสุมเล่นการพนัน และสิ่งเสพติด ุท าให้นักเรียนเกิดพฤติกรรมเลียนแบบ ๒)การย้ายถิ่นของผู้ปกครอง ท าให้นักเรียนเรียนไม่ต่อเนื่องส่งผล ให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ า
๔๓การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ั3)ผู้ปกครองไม่ได้เป็นแบบอย่างในด้านระเบียบวินัย ส่งให้นักเรียนน าพฤติกรรมจากที่บ้านมาที่โรงเรียน 4)ผู้ปกครองมีรายได้สูง นิยมน าบุตรหลานไปเรียนนอกเขตพนที่ ๕)นักเรียนส่วนใหญ่ไม่ได้อยู่กับพอแม่ ื้่๖)ครอบครัวแตกแยกเพิ่มมากขึ้น ๗)สังคมมีสิ่งเสพติดหรืออบายมุขเพมมากขึ้น 8)สภาพสังคมมีความเหลื่อมล้ าิ่กันค่อนข้างสูง 9)สถานการณ์ การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ๑0)เยาวชนบางส่วนไม่รู้จัก ใช้เทคโนโลยีให้เหมาะสม และเกิดประโยชน์ 11)ผู้ปกครองบางคนใช้เทคโนโลยีด้านบันเทิง จนท าให้เกิดปัญหาครอบครัวและปัญหาสังคมมีสื่อลามก อนาจารมากขึ้น 12)ไม่มีหน่วยงานที่ดูแล และควบคุมการใช้บริการสื่อ และเทคโนโลยีอย่างจริงจัง 13)ผู้ปกครองบางส่วนมีอาชีพไม่มั่นคง รายได้ไม่แน่นอน ส่งผลต่อการเรียนของเด็ก 14)ภัยธรรมชาติ น้ าท่วม ภัยแล้ง ในบางพนที่ที่มีการเกษตร 15)สภาพสังคมที่เป็นกึ่งสังคมเมือง ท าให้ ื้มีรายจ่ายมากกว่ารายรับ 16)ขาดการออม 17)สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ส่งผลให้ผู้ปกครองนักเรียนขาดรายได้ ประสบปัญหาค่าใช้จ่ายในครอบครัว ๑8)การปรับเปลี่ยนคณะรัฐมนตรีบ่อยๆ ท าให้การท างานไม่ต่อเนื่อง และเกิดความซ้ าซ้อน 19)นโยบายขององค์กรส่วนท้องถิ่นไม่สอดคล้องกับนโยบายการศึกษา ท าให้เกิดปัญหาต่อระบบการท างาน 20)สถานการณ์ การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ส่งผลให้มีการออกกฎ ระเบียบ มาตรการการป้องกันบ่อยครั้ง แผนภูมิที่ 12 กราฟรูปภาพแสดงสถานภาพโรงเรียนน้ าปลีกศึกษาส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธานี อ านาจเจริญSTARS เอื้อและแข็งQuestion Marks เอื้อแต่อ่อนCash ไม่เอื้อแต่แข็งDogs ไม่เอื้อและอ่อนโอกาสOpportunities O จุดอ่อนWeaknesses W จุดแข็งStrengths S T อุปสรรคThreats 5 4 3 2 1 -1 -2 -3 -4 -5 -1 -2 -3 -4 -5 5 4 3 2 1 4.124.14-3.22-3.63
๔๔การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ัจากรูปกราฟ จะเห็นว่าปัจจัยภายใน จุดแข็งอยู่ที่ 4.14 จุดอ่อนอยู่ท -3.22 ี่และปัจจัยภายนอก โอกาสอยู่ที่ 4.12 อุปสรรคอยู่ที่ -3.63 แสดงให้เห็นว่า จุดแรเงาอยู่ทางด้านจุดแข็งและโอกาส จึงถือว่าเป็น STARS แสดงให้เห็นว่าโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ส านักงานเขตพนที่การศึกษามัธยมศึกษาอบลราชธานี ืุ้อานาจเจริญ มีสภาพแวดล้อมภายนอกเออ คือภายนอกให้การสนับสนุน ส่วนปัจจัยภายในดี ื้คือ ให้ความร่วมมือร่วมใจในการท างานส่งผลให้งานประสบผลส าเร็จ มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับของคนทั่วไป อย่างไรก็ตาม มีข้อสังเกตว่า โรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ส านักงานเขตพนที่การศึกษามัธยมศึกษาื้อบลราชธานี อ านาจเจริญ ยังไม่มีความสมบูรณ์ โดยสังเกตจากปัจจัยที่เป็นอปสรรค แสดงให้เห็นว่ามีปัจจัยุุภายนอกที่ยังเป็นอุปสรรคในการท างาน ซึ่งโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา จะต้องให้ความสนใจเป็นพเศษ โดยจะพยามิก าจัดจุดออนที่มีอยู่และอปสรรคบางอย่างที่อาจเกิดขึ้น เพอให้การท างานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ประสบุ่ื่ผลส าเร็จมากยิ่งขึ้นต่อไป ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาวิสัยทัศน์ (Vision) พฒนาผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ ผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET) สูงกว่าระดับประเทศ ผู้เรียนัเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ เป็นโรงเรียนต้นแบบการจัดการเรียนการสอนภาษาองกฤษ และต้นแบบการใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอน ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีความัสนใจใฝ่รู้ในการพัฒนาการเรียนการสอน ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทั้งระดับชาติ ระดับอาเซียน และระดับสากลพันธกิจ (Mission) ๑. พัฒนานักเรียนทั้งด้านวิชาการควบคู่ไปกับการพัฒนาคุณธรรม ๒. พัฒนาการจัดการศึกษาของโรงเรียนให้บรรลุตามมาตรฐานการศึกษาชาติ ๓. เพิ่มผลการสอบ O NET ให้สูงขึ้นอย่างน้อยร้อยละ ๓ ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ –๔. จัดการเรียนการสอนภาษาองกฤษให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะอย่างหลากหลายและสามารถน าไปใช้ ัในการติดต่อสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๕. พฒนาการเรียนการสอนคอมพวเตอร์ให้มีประสิทธิภาพ และนักเรียนสามารถใช้คอมพวเตอร์ ัิิในการท างานอย่างมีประสิทธิภาพ ๖. ส่งเสริมให้ผู้เรียนใช้อินเตอร์เน็ตในการสืบค้นหาความรู้ และใช้งานได้ ๗. น าเทคโนโลยี และนวัตกรรมทางการศึกษามาใช้ในการเรียนการสอนให้เกิดประโยชน์สูงสุด ๘. พฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ความสามารถในการพฒนาวิชาชีพ และรู้เท่าทันััการเปลี่ยนแปลง ๙. พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงทั้งระดับชาติ ระดับอาเซียน และระดับสากล เป้าประสงค์ (Goal) 1. ผู้เรียนมีคุณธรรมน าความรู้ อย่างน้อยร้อยละ 97 2. ผู้เรียนเป็นผู้น าทางวิซาการมีความใฝ่รู้ใฝ่เรียน อย่างน้อยร้อยละ ๙๕
๔๕การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ั3. ผู้เรียนมีความรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ อย่างน้อยร้อยละ ๙๕ 4. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ อย่างน้อยร้อยละ ๓ 5. ผู้เรียนมีความสามารถใช้ภาษาองกฤษเพอการติดต่อสื่อสารได้จริงเท่าเทียมระดับนานาชาติ ัื่อย่างน้อยร้อยละ ๙๐ 6. ครูน าเทคโนโลยี และนวัตกรรมทางการศึกษามาใช้ในการเรียนการสอน อย่างน้อยร้อยละ 95 กลยุทธ์ (Strategy )กลยุทธ์ที่ ๑ ส่งเสริม พัฒนาคุณภาพผู้เรียน กลยุทธ์ที่ 2 ส่งเสริม พัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ กลยุทธ์ที่ 3 ส่งเสริม พัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษา กลยุทธ์ที่ 4 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม สร้างเครือข่ายในการพฒนาคุณภาพ ัโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ใช้หลักธรรมาภิบาล (Good Governance) ในการบริหารแผนพฒนาัคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียน ซึ่งมีองค์ประกอบที่ที่ส าคัญ ๖ ประการดังนี้ ๑. หลักนิติธรรม คือการด าเนินการ จะต้องถูกต้องตาม กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ค าสั่งต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเป็นหลักในการด าเนินการในทุกขั้นตอน ๒. หลักคุณธรรม คือการด าเนินการ จะต้องค านึงถึงความถกต้องไม่ผิดศีลธรรมอันดี ไม่ท าใหู้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องและมีส่วนได้ส่วนเสียเดือดร้อน ๓. หลักความโปร่งใส คือการด าเนินการจะต้องสามารถตรวจสอบได้ทุกขั้นตอน ๔. หลักความมีส่วนร่วม คือการด าเนินการจะต้องเปิดโอกาสให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวึข้องและมีส่วนได้ส่วนเสีย เข้ามามีส่วนร่วมในการด าเนินการ ๕. หลักความรับผิดชอบ คือ การด าเนินการจะมีผู้ได้รับมอบหมายและต้องมีความรับผิดชอบ พร้อมที่จะปรับปรุงและแก้ไขได้ต่อไป 6. หลักความคุ้มค่า คือการด าเนินการต้องตระหนักว่ามีทรัพยากรค่อนข้างจ ากัด ดังนั้นในการบริหารจัดการจ าเป็นจะต้องยืดหลักความประหยัด ความคุ้มค่า และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในการก ากับติดตามประเมินผลและรายงานผลการด าเนินงานนั้น โรงเรียนน้ าปลีกศึกษาปฏิบัติงานแบบมีส่วนร่วมระหว่างผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพนฐาน โดยใช้ื้กระบวนการ/วงจรคุณภาพ (PDCA) ในการปฏิบัติงาน ๑) P : PLAN การวางแผนจัดท าโครงการ - วัตถุประสงค์เหมาะสม สอดคล้องกับมาตรฐานและกลยุทธ์ - มีการก าหนดผู้รับผิดชอบ - ระยะเวลาด าเนินการที่ก าหนด - ความเหมาะสมของงบประมาณที่ก าหนด - มีการเสนอเพื่อขออนุมัติก่อนด าเนินการหรือไม่ ๒) D : DO การก ากับติดตามการปฏิบัติงานตามโครงการ - มีการก าหนดขั้นตอนหรือวิธีการด าเนินการ - มีผู้รับผิดชอบด าเนินการได้ตามที่ก าหนดไว้
๔๖การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ั- มีการประสานงานกับผู้ที่เกี่ยวข้องมากน้อยเพียงไร - สามารถด าเนินการตามระยะเวลาที่ก าหนด - สามารถด าเนินการได้ตามงบประมาณที่ก าหนดไว้ ๓) C : CHECK ตรวจสอบและติดตามผลการด าเนินงาน - มีการก าหนดวิธี/รูปแบบการประเมิน - มีรูปแบบของการประเมินเหมาะสม - ผลของการประเมินตรงกับวัตถุประสงค์ที่วางไว้ - ปัญหา/จุดอ่อน ที่พบในการด าเนินการ - ข้อดี/จุดแข็ง ของการด าเนินการ 4) A : ACTION น าข้อมูลที่ได้จากการก ากับติดตามการด าเนินงานไปปรับปรุงต่อไป - มีการระดมสมองเพื่อหาทางแก้ปัญหา/จุดออนที่คันพบ ่- มีการระดมสมองเพื่อหาทางส่งเสริมข้อดี/จุดแข็งเพมขึ้น ิ่- มีการน าผลที่ได้จากการระดมสมองเสนอผู้บริหารเพื่อพิจารณาส าหรับใช้วางแผนจัดท าโครงการ ในครั้งต่อไป - ก าหนดกลยุทธ์ในการจัดท าแผนครั้งต่อไป การก ากับ/ติดตาม ก ากับดูการปฏิบัติงานตามโครงการต่างๆ ในรูปคณะกรรมการนิเทศติดตามผล โดยคณะกรรมการด าเนินการดังนี้ ๑. ศึกษารายละเอียดแผนงานโครงการ 2. สร้างเครื่องมือนิเทศติดตาม หรือจัดท าแบบประเมินผลการปฏิบัติงานเพอก ากับขั้นตอน วิธีการื่เวลา ผลการด าเนินงานตามเป้าหมาย และจุดเน้นกลยุทธ์ของโรงเรียน 3. ก ากับดูแล นิเทศติดตามเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง ๔. สรุป รายงานผลการก ากับดูแลและนิเทศ ๕. ก าหนดให้ผู้รับผิดชอบงาน/โครงการ รายงานผลการปฏิบัติงานเป็นระยะเพอทราบความก้าวหน้า ื่ปัญหา อุปสรรค และความส าเร็จของงาน การตรวจสอบ ๑. การตรวจสอบคุณภาพภายใน โรงเรียนจะประเมินตนเองเป็นการภายใน โดยใช้แบบประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร เพื่อตรวจสอบการปฏิบัติงานทุกขั้นตอน และน าข้อมูลที่ได้ไปปรับปรุงพัฒนางาน ๒. การตรวจสอบคุณภาพจากภายนอก โรงเรียนจะรับการตรวจสอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครองและชุมชน คณะกรรมการศูนย์อ านวยการเครือข่าย หน่วยงานต้นสังกัด และองค์กรอสระิเพื่อเป็นการประเมินมาตรฐานการจัดการศึกษาของโรงเรียนตามมาตรฐานที่ก าหนดไว้ การรายงาน ๑. ผู้รับผิดชอบรายงานผลการปฏิบัติงานตามงาน/โครงการที่ก าหนดไว้ในแผนกลยุทธ์ของโรงเรียน เมื่อสิ้นสุดระยะเวลาการด าเนินงาน ๒. โรงเรียนจัดท ารายงานประจ าปีของสถานศึกษา ในทุกๆ สิ้นปีการศึกษา เพอรายงานในภาพรวมื่ของผลการด าเนินงานแต่ละปี เชื่อมโยงกับการรายงานผลการประเมินตนเอง (SAR) ของโรงเรียน
๔๗การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ั3. โรงเรียนรายงานผลการด าเนินงานในภาพรวม 3 ปีการศึกษาตามกลยุทธ์ของโรงเรียน ทั้งผลส าเร็จ อุปสรรค ปัญหา และแนวทางการด าเนินการในระยะต่อไป ๔. เผยแพร่ผลการด าเนินงานให้ผู้เกี่ยวข้องและผู้มีส่วนได้เสียในการจัดการศึกษาทราบ๒. นักเรียนโรงเรียนน้ าปลีกศึกษามผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในระดับีมัธยมศึกษาปีที่ ๓ และมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ในปีการศึกษา ๒๕๖๓ สูงขึ้นกว่าปีการศึกษา ๒๕๖2 5.ข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับสถานศึกษา เอกสารอ้างอิง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนปีการศึกษา 2563 Link : https://online.pubhtml5.com/ylqa/qppz/ ม.1ม.2ม.3ม.4ม.5ม.6ผลการเรียนเฉลี่ย2.682.832.922.862.683.32.682.832.922.862.683.3แผนภูมิที่ 1 3 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชั้น ปีการศึกษา2 5 6 3
๔๘การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ัผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) 1) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ประจ าปีการศึกษา 2563 URL https://wow.in.th/fPOVV : ระดับ/รายวิชา ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ คะแนนเฉลี่ย ของโรงเรียน 51.72 20.92 28.49 29.96 คะแนนเฉลี่ย ระดับเขตพื้นที่ฯ 55.92 26.58 30.15 34.54 คะแนนเฉลี่ย ระดับ สพฐ. 54.81 25.82 30.17 34.14 คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ 54.29 25.46 29.89 34.38 51.7220.9228.4929.9655.9226.5830.1534.5454.8125.82 25.4630.1734.1454.2929.8934.380102030405060ภาษาไทยคณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์ภาษาอังกฤษแผนภูมิที่ 14 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3คะแนนเฉลี่ยของโรงเรียนคะแนนเฉลี่ยระดับเขตพื้นที่ฯคะแนนเฉลี่ยระดับ สพฐ.คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ
๔๙การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ั2) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563 ระดับ/รายวิชา ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ภาษาอังกฤษ คะแนนเฉลี่ย ของโรงเรียน 42.76 21.32 32.87 36.67 24.06 คะแนนเฉลี่ย ระดับเขตพื้นที่ฯ 42.14 23.82 31.23 35.21 26.56 คะแนนเฉลี่ย ระดับ สพฐ. 45.22 26.33 33.04 36.32 29.73 คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ 44.36 26.04 32.68 35.93 29.94 42.7621.3232.8736.6724.0642.1423.8231.2335.2126.5645.2226.3333.0436.3229.73 29.9444.3626.0432.6835.9305101520253035404550ภาษาไทยคณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์สังคมศึกษาภาษาอังกฤษแผนภูมิที่ 15 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6คะแนนเฉลี่ยของโรงเรียนคะแนนเฉลี่ยระดับเขตพื้นที่ฯคะแนนเฉลี่ยระดับ สพฐ.คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ
๕๐การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ั3) เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ประจ าปีการศึกษา 2561-2563 ภาษาไทยคณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์ภาษาอังกฤษปี256150.5926.0234.1427.60ปี256251.8922.5329.2727.14ปี256351.7220.9228.4929.9650.5926.0234.1427.60 27.1451.89 51.7222.5329.27 28.4920.9229.960 102030405060แผนภูมิที่ 16 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2561- 2563 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3ปี2561ปี2562ปี2563ภาษาไทยคณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์สังคมศึกษาภาษาอังกฤษปี256143.4021.1028.3833.6324.18ปี256236.7018.3226.2832.6523.30ปี256342.7621.3232.8736.6724.0643.4021.1028.3833.6324.1836.7018.3226.2832.6523.3042.7621.3232.8736.6724.060 5 10 15 20 25 30 35 40 45 50แผนภูมิที่ 17 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2561- 2563ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6ปี2561ปี2562ปี2563
๕๑การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ัตารางที่ 13 เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขั้นพื้นฐาน ิ(O-NET) ประจ าปการศึกษา 2561-2563ีระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 สูงขึ้นเป็นอันดับ 1 ของโรงเรียนขนาดเล็ก ในสังกัดส านักงานเขตพนที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธานี อ านาจเจริญื้เอกสารอ้างอิง วิเคราะห์ผลการทดสอบโอเน็ต ม.3 Link….>>>https://online.pubhtml5.com/ylqa/omzy/ <<<…Link เอกสารอ้างอิง วิเคราะห์ผลการทดสอบโอเน็ต ม.6 https://online.pubhtml5.com/ylqa/zveo/
๕๒การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ันักเรียนโรงเรียนน้ าปลีกศกษามีผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในระดับมธยมศึกษาปีที่ ๓ และึัมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ในปีการศึกษา ๒๕๖3 สูงขึ้นกว่าปีการศึกษา ๒๕๖2ตารางที่ 14 เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 ึประจ าปีการศึกษา 2562-2563 กลุ่มสาระ โรงเรียนปี ประเทศปี วิชา กศ.62 มัธยมศึกษาปีที่ 3 ค่าเฉลี่ยค่าเฉลียกศ.62 ค่าเฉลี่ยโรงเรียนปี กศ.63 ค่าเฉลียประเทศ ปี กศ.63 ผลต่างค่าเฉลี่ยระหว่างปี กศ.63กับ62 ผลต่างค่าเฉลี่ยร.ร.กับประเทศ ภาษาไทย 51.89 55.14 51.72 54.29 -0.17 -2.57 ภาษาอังกฤษ 27.14 33.25 29.96 34.38 2.82 -4.42 คณิตศาสตร์ 22.52 26.73 20.92 25.46 -1.60 -4.54 วิทยาศาสตร์ 29.27 30.07 28.49 29.89 -0.78 -1.40 ค่าเฉลี่ยรวม 32.71 36.30 32.77 36.01 0.07 -3.23 ผลคะแนนO-Net ในปีการศึกษา 2563 เมื่อเทียบในปีการศึกษา2562 ลดลง 3 รายวิชา และขึ้น 1 รายวิชา สอดคล้องกับคะแนนเฉลี่ยระดับชาติในการผลการทดสอบระดับชาติขั้นพนฐาน โดยวิชาื้คณิตศาสตร์ลดลงมากที่สุดคือ ลดลง 1.60 รองลงมาคือวิชาวิทยาศาสตร์ ลดลง 0.78 และวิชาภาษาไทยลดลง 0.17 ส่วนวิชาที่มีผลการทดสอบสูงขึ้นคือ วิชาภาษาอังกฤษโดยสูงขึ้น 2.82 เมื่อมองภาพคะแนนเฉลี่ยโรงเรียนเทียบกับระดับประเทศ โรงเรียนมีผลการทดสอบต่ ากว่าระดับประเทศในทุกรายวิชาโดยวิชาที่มีความห่างจากระดับประเทศมากที่สุดคือ วิชาคณิตศาสตร์ มีความห่าง 4.54 รองลงมาคือวิชาภาษาอังกฤษมีความห่าง 4.42 วิชาภาษาไทย 2.57 และวิชาที่มีความห่างน้อยที่สุดคือวิชาวิทยาศาสตร์มีความห่าง 1.40 แผนภูมิที่ 18 ผลคะแนนO-Net ในปีการศึกษา 2563 เมื่อเทียบในปีการศกษา2562 ึ
๕๓การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ัตารางที่ 15 เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 ึประจ าปีการศึกษา 2562-2563 กลุ่มสาระ โรงเรียนปี วิชา มัธยมศึกษาปีที่ 6 ค่าเฉลี่ยกศ.62 ค่าเฉลียประเทศ ปี โรงเรียน ปี ระดับประเทศ กศ.62 ค่าเฉลี่ยกศ.63 ค่าเฉลียปี กศ.63 ผลต่างค่าเฉลี่ยระหว่างปี กศ.63กับ62 ผลต่างค่าเฉลี่ยร.ร.กับประเทศ ภาษาไทย 36.70 42.21 42.76 44.36 6.06 -1.60 สังคมศกษา ึ32.65 35.70 36.67 35.93 4.02 0.74 ภาษาอังกฤษ 23.30 29.20 24.06 29.94 0.76 -5.88 คณิตศาสตร์ 18.32 25.41 21.32 26.04 3.00 -4.72 วิทยาศาสตร์ 26.81 29.20 32.87 32.67 6.06 0.20 ค่าเฉลี่ยรวม 27.56 32.34 31.54 33.79 3.98 -2.25 ผลคะแนนO-Net ในปีการศึกษา 2563 เมื่อเทียบในปีการศึกษา2562 เพมขึ้นทุกรายวิชา ิ่สอดคล้องกับคะแนนเฉลี่ยระดับชาติในการผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน โดยวิชาวิทยาศาสตร์ศาสตร์ และภาษาไทยเพิ่มขึ้นมากที่สุดคือ 6.06 เท่ากันทั้งสองรายวิชา รองลงมาคือวิชาสังคมศกษา เพิ่มขึ้น 4.02 ึรองลงมาคือวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มขึ้น 3.00 และวิชาที่มีทดสอบสูงขึ้นเป็นอันดับสุดท้ายคือวิชาภาษาอังกฤษโดยสูงขึ้น 0.76 นับเป็นการพัฒนาขึ้นในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ เมื่อมองภาพคะแนนเฉลี่ยโรงเรียนเทียบกับระดับประเทศ โรงเรียนมีผลการทดสอบสูงกว่าระดับประเทศ2 รายวิชาโดยวิชาที่มีค่าสูงกว่าระดับประเทศมากที่สุดคือ วิชาสังคมศึกษา สูงกว่าระดับประเทศ 0.74 รองลงมาคือวิชาวิทยาศาสตร์สูงกว่าระดับประเทศ 0.20 และผลการทดสอบต่ ากว่าระดับประเทศ 3 รายวิชาคือภาษาอังกฤษมีค่าต่ ากว่าระดับประเทศ 5.88 วิชาคณิตศาสตร์ต่ ากว่าระดับประเทศ 4.72 และวิชาภาษาไทยต่ ากว่าระดับประเทศ 1.60 แผนภูมิที่ 19 ผลคะแนนO-Net ระดับมัธยมศึกษาปีที่6 ในปีการศึกษา 2563 เมื่อเทียบในปีการศกษา2562 ึ
๕๔การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ัตารางที่ 16 เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 ึประจ าปีการศึกษา 2562-2563 ด้วยค่าคะแนนมาตรฐาน T (T-Score) ผลการทดสอบ O-Net ปีการศึกษา S T (T-Score)2562 2563 95 71 103.83 131.91 24.44 31.06 0.93 การทดสอบทางการศกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในปีการศึกษา ึ2562 มีผู้เข้าสอบ 95 คน มีคะแนนเฉลี่ย 103.83 คะแนน และมีส่วนเบี่ยงแบนมาตรฐาน 22.44 คะแนน ในปีการศกษา 2563 มีผู้เข้าสอบ 71 คน มีคะแนนเฉลี่ย 131.91 คะแนน และมีส่วนเบี่ยงแบนมาตรฐาน ึ31.06 คะแนน และเมอเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับื่มัธยมศึกษาปีที่ 3 ประจ าปีการศึกษา 2562-2563 ด้วยค่าคะแนนมาตรฐาน T (T-Score) อยู่ที่ระดับ 0.93 คือ มีผลการการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) สูงขึ้นตารางที่ 17 เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 ึประจ าปีการศึกษา 2562-2563 ด้วยค่าคะแนนมาตรฐาน T (T-Score) ผลการทดสอบ O-Net ปีการศึกษา S T (T-Score)2562 2563 60 45 133.96 157.63 14.46 35.75 32.41 การทดสอบทางการศกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในปีการศึกษา ึ2562 มีผู้เข้าสอบ 60 คน มีคะแนนเฉลี่ย 133.69 คะแนน และมีส่วนเบี่ยงแบนมาตรฐาน 14.46 คะแนน ในปีการศกษา 2563 มีผู้เข้าสอบ 45 คน มีคะแนนเฉลี่ย 157.63 คะแนน และมีส่วนเบี่ยงแบนมาตรฐาน ึ35.75 คะแนน และเมอเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับื่มัธยมศึกษาปีที่ 3 ประจ าปีการศึกษา 2562-2563 ด้วยค่าคะแนนมาตรฐาน T (T-Score) อยู่ที่ระดับ 32.41 คือ มีผลการการทดสอบทางการศกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) สูงขึ้นึ๓. ครูโรงเรียนน้ าปลีกศึกษาสามารถสร้างนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป เพื่อใช้จัดการเรียนรู้ได้ถูกต้องตามหลักวชาการร้อยละร้อยในการพัฒนาผู้เรียนผ่านกระบวนการการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้ิข้อสอบองมาตรฐานกระตุ้นการเรียนรู้ของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา NamPleeksuksa Education Active ิTechnique (NP-EAT)จากการนิเทศติดตามพบว่า ครูโรงเรียนน้ าปลีกส่งนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป ในภาคเรียนที่ 1 ครบทุกท่าน และในภาคเรียนที่ 2 ครบทุกทาน คิดเป็น ร้อยละร้อย ่NXNX
๕๕การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ัครูโรงเรียนน้ าปลีกศึกษาสามารถสร้างนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป เพื่อใช้จัดการเรียนรู้ได้ถูกต้องตามหลักวิชาการร้อยละร้อยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป เพื่อใช้จัดการเรียนรู้ของครูโรงเรียนน้ าปลีกศึกษาLink : https://wow.in.th/puErBตัวอย่าง บทเรียนส าเร็จรูปออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง คลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม รหัสวิชา ว 32201 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5URL:https://wow.in.th/H4Gdtตารางที่ 18 รายชื่อนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับทุนการศึกษาในการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-Net ปีการศึกษา 2563เลขที่ ชื่อ-สกุล ภาษาไทย คณิต วิทย ์ภาษาอังกฤษ รับทุน 1 อันดา ถีระพันธ์ 31.25 28 23.2 17.5 0 2 กนกพร รูปใส 67.5 8 20.6 42.5 200 3 ณภัทรพงค์ วิเศษแก้ว 28.75 24 27.2 27.5 0 4 อัญดารัตน์ ทองโท 53.75 20 11.8 22.5 200 5 นิภาพร ปัญญานันท์ 51.25 28 20.6 27.5 200 6 อนันต์ ปัดส าราญ 36.25 16 20.6 30 0 7 อติคุณ บุญพุท 81.25 28 55.8 77.5 600 8 วริศรา ไหรณพันธ์ 61.25 16 22.4 17.5 200 9 ฤทัยรัตน์ หงษา 71.25 16 34.2 40 200 10 สิราพร ก าจร 41.25 16 - - 0 11 รุ่งทิวา ทวีบุญ 62.5 36 49.6 27.5 200
๕๖การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ัเลขที่ ชื่อ-สกุลภาษาไทยคณิตวิทย์ภาษาอังกฤษรับทุน12 ศิริญญา คูณภาค 53.75 36 20.6 20 200 13 เอกภพ ท าชอบ 45 16 25 30 0 14 ภาณุพงษ์ ก้อนผา 56.25 12 32 32.5 200 15 วรดิษฐ์ บุญจันทร์ - - - - 0 16 คุณาวุธ ทานะสิทธิ์ 51.25 16 36 30 200 17 เกรียงไกร วิชัยโย 55 20 34.6 22.5 200 18 อชิรวัฒน์ ธรรมลี 70 32 26.8 27.5 200 19 อภิวัฒน์ สว่างอรุณพร 46.25 16 - - 0 20 ชิโนรส โสมาบุตร 37.5 20 26.4 35 0 21 ธนวัฒน์ สุภาจันทร์ 26.25 20 32.4 30 0 22 ณัฐวุฒิ โคตุเคน 43.75 8 37.6 22.5 0 23 อัญชลี สุวะไกร 46.25 20 26.8 35 0 24 ปิยะพัชร์ ปัณณวัฒนานนท์ 76.25 36 31.6 45 200 25 วุฒิชัย ค าสาร - - - - 0 26 นันทพงศ์ บัวพันธ์ - - - - 0 27 ธนัชชา เรืองบุตร 65 28 36.8 32.5 200 28 วรนุช สุดวิเศษ 38.75 4 27.6 20 0 29 สุชาดา บรรลุ 42.5 32 29 27.5 0 30 ไกรวิชญ์ โสภาลุน 26.25 28 18.4 27.5 0 31 เบญจรัฐ ทรัพย์ชิต 78.75 32 28.6 40 200 32 ศิริประภาภรณ์ ศิริบุญ 63.75 28 22.8 17.5 200 33 สุนิติ บุญทรัพย์ 53.75 16 23.2 35 200 34 พงศ์พันธุ์ พิลาชัย 51.25 8 18.4 22.5 200 35 สุภาพร สุวะไกร 66.25 20 33.4 10 200 36 ศุภกิจ สว่างวงค์ 32.5 8 27.6 30 0 37 เพชรรุ่ง นักธรรม 62.5 16 30.6 35 200 38 วรรณกร แสงกล้า 80 40 46 37.5 200 39 พุฒิพงษ์ สมบูรณ์ 37.5 12 36.4 12.5 0 40 ชยานนท์ นรศรี 52.5 4 32 27.5 200 41 ศิรินทรา ทวีชัย 52.5 16 21 30 200 42 บัญญพนต์ อยู่คง 67.5 24 27.2 30 200 43 ชุติพงษ์ เจือหนองแวง 53.75 12 39.4 25 200 44 วนันดา ประกอบศรี 41.25 36 30.2 22.5 0 45 รัดดาพร หิตะรัตน์ 61.25 28 25.4 27.5 200 46 ชนานันท์ กาละกูล 35 24 25 35 0 47 สุพราวดี ค ามี 66.25 32 29.4 30 200 48 แพรวา มีดี 33.75 12 24.6 27.5 0 49 กัมปนาท สุยะดา 40 16 11 32.5 0 50 กมลทิพย์ จันทมุลตรี 42.5 16 25.8 20 0 51 ภัทริดา เหล่าเกษกรรม 47.5 4 17.6 30 0
๕๗การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ัเลขที่ ชื่อ-สกุล ภาษาไทย คณิต วิทย ์ภาษาอังกฤษ รับทุน 52 วัชรพล วงศ์จันทา 46.25 24 26.8 27.5 0 53 สุพรรษา พันธ์เจริญ 73.75 28 18.4 25 200 54 นัทธพงศ์ เถาว์โท 37.5 20 27.6 27.5 0 55 ปิยพร เถาว์สอน 27.5 16 18.4 22.5 0 56 กล้าณรงค์ ไตยสุทธิ์ 27.5 20 27.2 27.5 0 57 ทิพย์สุดา นาถาบุตร 61.25 16 23.2 27.5 200 58 พิรุณรัตน์ เที่ยงธรรม 56.25 20 34.6 35 200 59 คุณากร สุบิน 40 40 36 20 0 60 นันทพงค์ โฉมเฉลา 61.25 16 26.8 35 200 61 ดนยา นามปี 36.25 24 15.4 22.5 0 62 อนิดชญา จันทง 63.75 20 18 30 200 63 พิยดา สุลักษณ์ 52.5 12 36.4 22.5 200 64 ปพิชญา ทองยศ 70 32 31.6 22.5 200 65 ธนวัฒน์ คืนดี 60 36 34.2 60 400 66 จิดาภา ทองหิน 46.25 28 22.4 20 0 67 ศศิวิมล หัดที 77.5 24 41.2 52.5 400 68 สุชานันท์ แสนสุข 47.5 12 27.6 30 0 69 ณัชพล พละศูนย์ - - - - 0 70 มนปริยา สรรพทรัพย์ 18.75 20 - - 0 71 นุสบา เสนาดี 41.25 20 43.4 30 0 72 ธนากร บุรีรัมย์ 63.75 24 32 27.5 200 73 ภาริณี บุญเหลี่ยม 61.25 16 24.6 25 200 74 จิลัดดา ตั้งจิตร 56.25 24 22.4 27.5 200 75 ภาณุภาพ วริวงษ์ 23.75 4 40.8 22.5 0 76 ปาฎิหาริย์ ไชยมงคล 67.5 48 31.6 52.5 400 77 ดรัณภพ จันทร์สูงเนิน 47.5 16 22 22.5 0 78 บุษกร เตียวสกุล 80 20 32 55 400 79 สุกัญญา มูลค า - - - - 0 80 มงคล ภูษา - - - - 0 81 รุ่งทิพย์ ทองเนตร์ 27.5 12 - - 0 นักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3 รับทุน 9,400 โรงเรียนน้ าปลีกศึกษา มีความประสงค์จะมอบทุนการศกษาให้กับนักเรียนที่ท าคะแนนผ่าน50% ของึคะแนนทุกรายวิชาโดยในปีการศึกษา 2563 ก าหนดทุนไว้ที่วิชาละ 200 บาท ทั้งนี้มีนักเรียนได้ทาคะแนนผลการทดสอบผ่านร้อยละ 50 ในรายวิชาภาษาไทยจ านวน 41 คน ในรายวิชาภาษาอังกฤษจ านวน 5 คน วิชาวิทยาศาสตร์จ านวน 1 คน คิดเป็น 47 รายการเป็นเงินทั้งสิ้น 9,400 บาท (เก้าพันสี่ร้อยบาทถ้วน)
๕๘การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ัตารางที่ 19 รายชื่อนักเรียนที่ได้รับทุนการศึกษาในการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-Net ปีการศึกษา 2563 ชั้นมัธยมศึกษาปีท 6 ี่ล าดับ ชื่อ - สกุลไทยคณิตวิทย์สังคมEngเฉลี่ย รับทุน 1 นิธิดา อินลุเพท 51.00 21.88 41.50 41.00 15.00 34.08 300 2 ขจรเกียรติ บุญลิลา 24.50 12.50 17.60 23.00 23.75 20.27 0 3 ศตนันท์ ธุมาลา 17.00 18.75 21.85 17.00 22.50 19.42 0 4 ชานนท์ โรจนอ าพร 22.50 25.00 26.10 26.00 23.75 24.67 0 5 พนมกร ม่วยหนู - - - - - 0 6 จรินทร ภักดี 61.50 18.75 45.75 40.00 27.50 38.70 300 7 กนกรัตน์ สังข์ประเสริฐ 55.50 18.75 30.80 39.00 26.25 34.06 300 8 วิลาสินี นรศรี 25.00 9.38 23.90 36.00 22.50 23.36 0 9 ขนิษฐา พระสุพรรณ์ 59.00 15.63 45.45 43.00 38.75 40.37 300 10 เบญญทิพย์ ทองชุม 41.50 28.13 28.15 32.00 21.25 30.21 0 11 ศุภาทิพย์ เจริญบุญ 61.00 28.13 50.15 39.00 31.25 41.91 600 12 ธรรมนูญ ค าพลแสง 20.50 12.50 39.15 46.00 30.00 29.63 0 13 ภูมรินทร์ ศรีค า 18.50 25.00 26.10 30.00 26.25 25.17 0 14 นริศ สุขุมพรรณ - - - - - 0 15 อรัญญา เสนาดี 46.50 28.13 30.35 44.00 28.75 35.55 0 16 ณัฏฐนิชา สุขทองหลาง 50.50 12.50 33.00 34.00 23.75 30.75 300 17 สรศักดิ์ สุยะดา 22.50 12.50 21.55 31.00 33.75 24.26 0 18 ปิยะดา เจริญสุข 41.50 28.13 26.10 42.00 16.25 30.80 0 19 จุฑามาศ แสวงศรี 52.00 21.88 28.00 29.00 16.25 29.43 300 20 เฉลิมชัย ภูษา 58.00 25.00 47.95 43.00 20.00 38.79 300 21 ขจรเกียรติ ตั้งจิตร 45.00 37.50 34.75 44.00 31.25 38.50 0 22 ดลฤดี ทวีชัย 34.50 25.00 32.85 37.00 18.75 29.62 0 23 จุฑารัตน์ เข็มพันธ์ 47.00 12.50 24.05 29.00 18.75 26.26 0 24 วิจิตรา ไชยครุฑ 45.00 25.00 32.55 38.00 12.50 30.61 0 25 จิราภา พันโสรี 39.00 15.63 34.75 39.00 18.75 29.43 0 26 คณิศร ลาภาพันธ์ 54.50 37.50 37.25 42.00 12.50 36.75 300 27 ธวัชชัย แก่นจันทร์ 32.00 21.88 32.85 31.00 20.00 27.55 0 28 จิราวรรณ อยู่มั่น 41.50 25.00 38.85 38.00 32.50 35.17 0 29 กัญญาณัฐ ภูษา 50.00 25.00 46.05 44.00 22.50 37.51 300 30 เจนจิรา โพธิ์หล้า 64.00 25.00 43.70 50.00 31.25 42.79 600 31 พิชาภพ กาหาวงศ์ 24.50 21.88 21.40 32.00 15.00 22.96 0 32 พิณทิรา สมบูรณ์ 28.50 6.25 25.80 32.00 20.00 22.51 0 33 ศุภพล นนทะชัย 54.50 12.50 43.40 40.00 27.50 35.58 300 34 กานต์สินี สุทธิ์ฤทธิ์ 59.50 21.88 45.60 42.00 23.75 38.55 300
๕๙การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ัล าดับ ชื่อ - สกุลไทยคณิตวิทย์สังคมEngเฉลี่ย รับทุน 35 ละอองดาว วงศ์ละคร 42.50 18.75 15.40 35.00 20.00 26.33 0 36 นลินนิภา อุ่นอก 36.50 9.38 28.45 34.00 23.75 26.42 0 37 ปิยะราช บุพชาติ 48.00 18.75 19.80 36.00 22.50 29.01 0 38 ธนการ ศรีณะลา 68.00 25.00 46.05 52.00 35.00 45.21 600 39 ภานุวัฒน์ ยอดธรรม 28.50 21.88 21.55 30.00 30.00 26.39 0 40 อนุสรา สันตะวงค์ 64.00 37.50 50.45 43.00 27.50 44.49 600 41 จิฬาวรรณ ขุนอินทร์ 48.00 25.00 39.45 33.00 38.75 36.84 0 42 ยุวลักษณ์ ทานะลัย 24.00 9.38 17.30 26.00 17.50 18.84 0 43 อัจฉรา กันหาคุณ 49.50 50.00 41.35 39.00 31.25 42.22 300 44 ชัยยา ไชยพรม 47.00 15.63 23.75 38.00 18.75 28.63 0 45 ปราโมทย์ เถาว์สอน 18.50 9.38 32.70 29.00 13.75 20.67 0 46 คามิน บัวพันธ์ 60.50 28.13 37.25 43.00 21.25 38.03 300 47 นิภาวรรณ มะณีวรรณ์ 41.00 15.63 28.30 39.00 30.00 30.79 0 รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 6,300 โรงเรียนน้ าปลีกศึกษา มีความประสงค์จะมอบทุนการศึกษาให้กับนักเรียนที่ท าคะแนนผ่าน50% ของคะแนนทุกรายวิชาโดยในปีการศึกษา 2563 ก าหนดทุนไว้ที่วิชาละ 300 บาท ทั้งนี้มีนักเรียนได้ท าคะแนนผลการทดสอบผ่านร้อยละ 50 ในรายวิชาภาษาไทยจ านวน 16 คน ในรายวิชาคณิตศาสตร์จ านวน 1 คน ในรายวิชาวิทยาศาสตร์จ านวน 2 คน วิชาสังคมศึกษาจ านวน 2 คน คิดเป็น 21 รายการเป็นเงินทั้งสิ้น 6,300 บาท (หกพันสามร้อยบาทถ้วน)
๖๐การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ับทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ในการศึกษาเรื่องกระบวนการ การบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพอยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพนฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษามี วัตถุประสงค์เพอศึกษาื่ื้ื่กระบวนการบริหารงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ เพอศึกษาถึงผลที่เกิดจากการน ากระบวนการบริหารงานแบบมุ่งื่ผลสัมฤทธิ์มาใช้ในผลการทดสอบระดับชาติขั้นพนฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา โดยศึกษาจากเอกสารและื้การสัมภาษณ์ผู้บริหาร บุคลากรของโรงเรียน และ ผู้รับบริการเป็นการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ แล้วน าข้อมูลที่ได้ทั้งหมดมาวิเคราะห์ประกอบกันเป็น รายงานผลการศึกษา ซึ่งผลการศึกษาดังกล่าวสามารถสรุปผลได้ดังต่อไปนี้ 5.1 สรุป 5.1.1 กระบวนการการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษามีประกอบด้วย 1) การวางแผนกลยุทธ์ขององค์กร ในกระบวนการวางแผนกลยุทธ์ มีการวิเคราะห์ปัญหาและการส ารวจความต้องการและ ความคาดหวังด้านสุขภาพของผู้รับบริการ /ชุมชนที่รับผิดชอบ, วิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค สิ่งคุกคามขององค์กร รวมทั้งปัจจัยส าคัญอนๆ และความสามารถในการน าแผนกลยุทธ์ ไปปฏิบัติ ื่2) การถ่ายทอดเพื่อน าไปสู่การปฏิบัติ มีการจัดท าแผนปฏิบัติการและถ่ายทอดแผนไปสู่การปฏิบัติเพอบรรลุวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ที่ส าคัญ ื่สร้างความมั่นใจในความยั่งยืนของการเปลี่ยนแปลงส าคัญที่เป็นผลจากแผนปฏิบัติ การที่บุคลากรตระหนักในบทบาทและการมีส่วนต่อการบรรลุวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ 3) การก าหนดตัวชี้วัด การก าหนดตัวชี้วัด ประกอบด้วยตัวชี้วัดที่ถ่ายทอดจากกรอบการประเมินผลการปฏิบัติ ราชการตามค ารับรองการปฏิบัติราชการของหน่วยงานในสังกัด และตัวชี้วัดตาม แผนยุทธศาสตร์ของโรงเรียน แล้วถ่ายทอด ตัวชี้วัดลงสู่ระดับองค์กรและระดับหน่วยงาน โดยให้ตัวชี้วัดที่ส าคัญต่างๆ มีความเชื่อมโยง/ สอดคล้องไปในทิศทางเดียวกัน 4) การวัดผลการด าเนินงาน น าผลการด าเนินงานตามตัวชี้วัดมาประมวลผลหรือ วิเคราะห์ผลในภาพรวมเพอใช้ติดตาม ื่ความก้าวหน้าการปฏิบัติงานตามแผนงาน/การด าเนินงานตามวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์หรือ เป้าประสงค์ของ โดยน าผลลัพธ์จากการปฏิบัติงานตามตัวชี้วัดที่ส าคัญตามคารับรอง การปฏิบัติราชการและตามแผนปฏิบัติราชการของโรงเรียน น าเสนอต่อผู้บริหาร ระดับสูง เพื่อใช้สนับสนุนการตัดสินใจในการปรับปรุงพัฒนางานทั้งในระดับกล ยุทธ์ ระดับองค์กร และระดับหน่วยงานต่างๆ 5) การบริหารทรัพยากรบุคคล ด้านทรัพยากรบุคคล โรงเรียนมีแผนการบริหารอัตราก าลังเพื่อรองรับภาระงาน การ บริหารจัดการภายใต้ข้อจ ากัดด้านการจ้าง การจ่ายค่าตอบแทน และการเพิ่มอัตราก าลัง โดยมีแผน ด้านการอบรมพัฒนา การพัฒนาศักยภาพ การสร้างขวัญก าลังใจและการเพิ่มสวัสดิการที่จ าเป็น ส่วนทรัพยากรและเครื่องมือที่ใช้ในการด าเนินงาน ได้ท าแผนเตรียมการจัดหา การบ ารุงรักษา และการบริหารให้เกิดความคุ้มค่า
๖๑การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ั6) การพัฒนาบุคลากร การจัดท าแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล (IDP) โดยพิจารณาจากผลการประเมินสมรรถนะ เส้นทางความก้าวหน้าในอาชีพ (Career path) และแผนที่การฝึกอบรม (Training Road Map) จะรวบรวมข้อมูลในส่วนของการอบรม และหัวหน้างานก ากับดูแลการพัฒนาและเรียนรู้ของ บุคลากรผ่านช่องทางต่างๆ ซึ่งผลลัพธ์ที่ ชัดเจนประเมินจากผลการปฏิบัติงานตามตัวชี้วัด 7) การให้รางวัลผลตอบแทน โรงเรียนยึดหลักการให้ผลตอบแทนตามผลการปฏิบัติงานตามตัวชี้วัดรายบุคคล โดย แบ่งเป็นระดับ ของผลการด าเนินงาน ดีเด่น ดีมาก ดีพอใช้ ต้องปรับปรุง มีการมอบเกียรติบัตรให้กับคุณครูที่สามารถท างานได้บรรลุตัวชี้วัด ในส่วนของผู้เรียน จะได้รับทุนการศกษาเมื่อท าผลงานได้ตามข้อตกลง เช่น นักเรียนระดับึมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ท าคะแนนผ่าน50% ของคะแนนทุกรายวิชาโดยในปีการศึกษา 2563 ก าหนดทุนไว้ที่วิชาละ 200 บาท ทั้งนี้มีนักเรียนได้ท าคะแนนผลการทดสอบผ่านร้อยละ 50 ในรายวิชาภาษาไทยจ านวน 41 คน ในรายวิชาภาษาอังกฤษจ านวน 5 คน วิชาวิทยาศาสตร์จ านวน 1 คน คิดเป็น 47 รายการเป็นเงินทั้งสิ้น 9,400 บาท (เก้าพันสี่ร้อยบาทถ้วน) และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 นักเรียนที่ท าคะแนนผ่าน50% ของคะแนนทุกรายวิชาโดยในปีการศึกษา 2563 ก าหนดทุนไว้ที่วิชาละ 300 บาท ทั้งนี้มีนักเรียนได้ทาคะแนนผลการทดสอบผ่านร้อยละ 50 ในรายวิชาภาษาไทยจ านวน 16 คน ในรายวิชาคณิตศาสตร์จ านวน 1 คน ในรายวิชาวิทยาศาสตร์จ านวน 2 คน วิชาสังคมศึกษาจ านวน 2 คน คิดเป็น 21 รายการเป็นเงินทั้งสิ้น 6,300 บาท (หกพันสามร้อยบาทถ้วน) 8) การบริหารงบประมาณ มีระบบบริหารด้านการเงิน และพัสดุอย่างเป็นระบบ มีแผนการจัดหาและบ ารุงรักษา โดย มีตัวชี้วัดที่แสดงผลการด าเนินงาน มีระบบควบคุมภายในที่ด าเนินการตามระเบียบคณะกรรมการ ตรวจเงินแผ่นดิน มีการจัดระบบการจัดซื้อจัดจ้างให้โปร่งใส มีการบริหารระบบการเงินการคลัง มี ระบบการตรวจสอบภายในและจากหน่วยงานภายนอกเป็นประจ า 5.1.2 ผลที่เกิดจากการน าแนวคิดการบริหารงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์มาใช้ในโรงเรียน การประเมินผลงานผู้ใต้บังคับบัญชาเป็นไปด้วยความสะดวก ส่งผลดีต่อบุคลากรระดับผู้บริหาร ระดับสูงและระดับกลาง ส่วนบุคลากรระดับผู้ปฏิบัติงานได้รับผลกระทบในด้านบวกกคือการมี ตัวชี้วัดช่วยให้มี็ความชัดเจนในงานที่ต้องท าไม่ต้องรอค าสั่งจากผู้บังคับบัญชา รู้บทบาทหน้าที่ของ ตนเอง มีการบันทึกผลงานและมีโอกาสได้แสดงผลงาน ส่วนผลกระทบในด้านลบในแง่ของการ ท างานเอกสารที่ต้องท ามากกว่าระบบการบริหารแบบเดิมและผลจากการปรับเปลี่ยนระบบการ ท างานท าให้เกิดความรู้สึกว่าท างานหนักขึ้นกว่าเดิมแต่ได้รับผลตอบแทนเท่าเดิม อกทั้งบุคลากร ระดับผู้บริหารระดับล่างและระดับผู้ปฏิบัติยังมีความเห็นเกี่ยวกับการีประเมินผลการปฏิบัติงานว่า ไม่ได้รับความยุติธรรมหน่วยงานยังคงใช้ระบบอุปถัมภ์ในการประเมินผลและมีการลงโทษที่ไม่ เหมาะสมกอให้เกิดการท าลายขวัญและก าลังใจในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ่2) ผลต่อระบบการบริหารงานภายใน มีการปรับเปลี่ยนระบบการบริหารงานน าแนวคิด การบริหารงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์มาใช้ในโรงเรียน ดังนี้ 2.1) มีการปรับโครงสร้างทางการบริหาร ก าหนดบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบในแต่ ละหน่วยงานให้สอดคล้องกับระบบการบริหารงานแบบใหม่ 2.2) มีการก าหนดโครงสร้างการพัฒนาคุณภาพ มีการจัดตั้งคณะกรรมการทีม บริหารงานพัฒนาคุณภาพโรงเรียน
๖๒การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ั2.3) มีการวางแผนกลยุทธ์ โดยก าหนดพันธกิจให้สอดคล้องกับกฎกระทรวง ก าหนด วิสัยทัศน์ตามบริบทของต้นสังกัด ก าหนดค่านิยมให้ มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ ก าหนดยุทธศาสตร์ให้ครอบคลุมการประเมินผลสัมฤทธิ์ของส่วนราชการทั้ง 4 มิติ ก าหนดเป้าหมายโดยมุ่งเน้นประโยชน์ของผู้รับบริการเป็นหลัก ก าหนดตัวชี้วัดให้สอดคล้องกับ เป้าหมายขององค์กร 2.4) มีการจัดท าแผนปฏิบัติการ โดยก าหนดให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์และงบประมาณที่ ได้รับจัดสรร และถ่ายทอดแผนลงสู่การปฏิบัติ 2.5) มีการก าหนดตัวชี้วัดตามกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ 2.6) มีการวัดผลการด าเนินงานตามแผนปฏิบัติการ 2.7) มีการวางแผนอัตราก าลังเพื่อรองรับภาระงาน 2.8) มีแผนพัฒนาบุคลากร โดยดูจากผลการด าเนินงานตามตัวชี้วัดรายบุคคล 2.9) มีการประเมินผลตอบแทนตามตัวชี้วัดรายบุคคล 2.10) มีการน าข้อร้องเรียน ข้อเสนอแนะจากผู้รับบริการมาปรับปรุงระบบการท างาน 2.11) มีการบริหารงบประมาณให้สอดคล้องกับแผนการใช้จ่ายเงินงบประมาณและ แผนการใช้จ่ายเงินบ ารุงประจ าปี 5.2 อภิปรายผลการศึกษา การศึกษาเรื่อง การบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพอยกระดับผลื่การทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษามี ผู้วิจัยได้ อภิปรายผลการศกษา ไว้ดังต่อไปนี้ ึ5.2.1 กระบวนการ การบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษามี จากผลการศกษาสรุปได้ว่า การบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับึผลการทดสอบระดับชาติขั้นพนฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษามี อยู่ในระดับดีมาก ข้อสรุปที่เกิดจากการื้วิเคราะห์ความส าเร็จดังกล่าว มีความสอดคล้องกับวุฒิศักดิ์ เหล็กค า (2553) งานส ารวจของ วัฒนธรรมองค์กร กล่าวคือ นอกเหนือจากทโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ได้มีการสร้าง กระบวนการบริหารงานของตนเองขึ้นี่มาแล้ว ได้ถูกน ามาใช้ปฏิบัติจริง และถูกสอดแทรกเข้าไป กับงานประจ า บุคลากรทุกคนในโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา สามารถเขาถึง และเข้าใจแนวคิดการจัดการความรู้ที่ เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ให้การยอมรับ ยึดถือ้ปฏิบัติร่วมกันจนส่งผลดีต่อการพัฒนาองค์การ การวิเคราะห์ความส าเร็จของการบริหารงานแบบมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ ครั้งนี้ เป็นการวัดผล ในระดับของผลจากระบบ และกระบวนการ และการวัดปัจจัยส่งออก (Output) เท่านั้น ทั้งนี้ เนื่องจากระยะเวลาในการด าเนินกิจกรรมการจัดบริหารงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์เป็นช่วงระยะเวลาที่ ไม่มากนัก และยังไม่สามารถที่จะก าหนดได้อย่างชัดเจนว่าผลลัพธ์สุดท้ายที่เกิดขึ้นจากการ บริหารงานคืออะไรแนวทางการวิเคราะห์ความส าเร็จดังกล่าวนี้ มีความสอดคล้องกับแนวทางการ วัดความส าเร็จของการบริหารงานในงานของ ทิพาวดี เมฆสวรรค์ (2543 : 3) ที่ได้ก าหนดการ ประเมินความส าเร็จของการจัดการความรู้ในองค์การชั้นน า 4 แห่งที่ ได้มีการด าเนินกิจกรรมการ จัดการความรู้ โดยมีการประเมินความส าเร็จใน 2 ระดับด้วยกันคือ ระบบกระบวนการ และปัจจัย ส่งออก เช่นเดียวกันกับการศึกษาในครั้งนี้ ส าหรับการก าหนดตัวชี้วัดเพอประเมินความส าเร็จ ได้ใช้ตัวชี้วัดที่สอดคล้องกับแนวคิด ของ Canadian ื่International Development Agency : CIDA (1999) และจากการน าเสนอของ หลักการบริหารงานที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ ซึ่งตัวชี้วัดดังกล่าวภายหลังจากได้ด าเนินการเกบข้อมูลเพื่อ น ามาประกอบกับการวิเคราะห์ระดับ็ความส าเร็จตามเกณฑ์ที่ได้ก าหนดไว้ ผู้ศึกษาพบว่า สามารถที่ จะหาข้อมูลมาประกอบการวิเคราะห์ดังกล่าวได้
๖๓การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ัไม่ยากนัก ถ้าหากว่าองค์การมีการจัดระบบ ฐานข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการด าเนินงานที่ดี ดังนั้นการน าตัวชี้วัดดังกล่าวที่ได้ก าหนดไว้ในงานวิจัย ฉบับนี้ไปปรับใช้กับองค์การอื่นๆ ที่มีการด าเนินการจัดการการบริหารงานจะมี ความเป็นไปได้ 5.3 ข้อเสนอแนะงานวิจัย 5.3.1 ข้อเสนอแนะด้านบุคลากร จากผลของการบริหารงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ที่เกิดขึ้นกับบุคลากรพบว่าระบบการ ประเมินผลการปฏิบัติงานยังมีข้อบกพร่องในมุมมองของผู้ปฏิบัติงานที่มองว่าผู้บริหารไม่มีความ ยุติธรรมในการประเมินผลงาน ยังใช้ระบบอุปถัมภ์ เนื่องจากเป็นการประเมินจากด้านเดียวคือ ผู้บังคับบัญชาประเมินผู้ใต้บังคับบัญชา ผู้วิจัยมีความเห็นว่าการประเมินผลการปฏิบัติงานควรมีการ ประเมินจาก 3 ด้านด้วยกันคือ จากผู้บังคับบัญชา จากเพื่อนร่วมงาน จากผู้รับบริการ ซึ่งจะก่อให้เกิด การยอมรับผลการประเมินมากขึ้น 5.3.2 ข้อเสนอแนะด้านระบบการบริหารงานภายใน ข้อคิดเห็นจากผู้ปฏิบัติงานไปพิจารณาหรือปรับปรุงพัฒนาระบบการท างาน เนื่องจากผู้ปฏิบัติจริง เท่านั้นที่จะทราบข้อบกพร่องและวิธีการแกไขปัญหาอย่างแท้จริง การสื่อสารโดยตรงจากผู้บริหาร ระดับสูงถึง้ผู้ปฏิบัติงานระดับล่างโดยตรงโดยไม่ผ่านผู้บริหารระดับกลางและผู้บริหารระดับต้นจะ ช่วยแก้ปัญหาในเรื่องของการสื่อสารและเป็นการสร้างขวัญและก าลังใจแก่ผู้ปฏิบัติที่สามารถเสนอ ความคิดเห็นในงานที่ท าต่อผู้บริหารระดับสูงได้ 5.4 ข้อเสนอแนะส าหรับการศึกษาครั้งต่อไป ส าหรับการศึกษาครั้งต่อไปในประเด็นที่เกี่ยวกับการบริหารงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ เพอเป็นแนวทางส าหรับผู้ที่ื่สนใจไว้เป็น 3 แนวทาง ดังต่อไปนี้ 5.4.1 ความส าเร็จของการบริหารงาน 1) ด าเนินการศึกษาเพอสร้างตัวชี้วัดที่สามารถใช้เป็นเกณฑ์ในการวัดความส าเร็จของการ บริหารงานแบบมุ่งื่ผลสัมฤทธิ์ 2) ศึกษาเพอเชื่อมโยงผลที่ได้จากระบบ/กระบวนการจัดการความรู้ กับผลลัพธ์สุดท้ายที่จะ เกิดนักเรียน ื่ในกรณีนี้อาจใช้กรณีศึกษาทอนได้ด้วยเช่นกัน ี่ื่3) ด าเนินการศึกษาเพอค้นหาวิธีการวัดผลลัพธ์สุดท้ายที่สามารถใช้ได้เป็นการทั่วไป ื่4) ท าการศึกษาจัดการความรู้ให้ครบวงจรเซกิ เช่น เกิดวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ แล้วมีผลดี เกิดขึ้นหรือไม่ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กันใหม่หรือไม่ และมการพัฒนาไปสู่การหมุนวงจนเซกิ อย่างต่อเนื่องหรือไม่เป็นต้น โดยเน้นีจุดสนใจไปที่จุดปฏิบัติงานที่ใดที่หนึ่งก็ได้ 5.4.2 ศาสตร์การบริหารงาน 1) ศึกษาเปรียบเทียบศาสตร์ในการบริหารงานแบบมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ ระหว่างองค์การ ต่างๆ ทั้งนี้อาจเปรียบเทียบระหว่างองค์การภาครัฐ กับเอกชน หรือกับรัฐวิสาหกิจ เป็นต้นว่ามี ความเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร 2) ศึกษาเพอวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างระดับความส าเร็จของการบริหารงาน กับระดับ ผลสัมฤทธิ์ ื่5.4.3 ประเด็นอื่นๆ ทางด้านการบริหารงาน 1) ศึกษาปัจจัยด้านอื่นๆ กับผลกระทบต่อการบริหารงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ 2) ศึกษาการจัดความรู้ในรูปแบบการลงมือปฏิบัติควบคู่ไปกับการท าวิจัย เพื่อค้นหา รูปแบบ/ตัวแบบทางการจัดการความรู้ หรือเพอสร้างความรู้ใหม่ทางด้านการจัดการความรู้ในบริบท ของสังคมต่อไปื่
๖๔การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ับรรณานุกรม กรมวิชาการ. คู่มือการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2544. . หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. พิมพครั้งที่1. กรุงเทพฯ: ์ โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2545. .ตัวบ่งชี้การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง. กรุงเทพมหานคร : ศูนย์ พัฒนาการเรียนการสอนส านักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, 2541.(อัดส าเนา) กระทรวงศึกษาธิการ. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กรุงเทพฯ โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จ ากัด. 2551. กิดานันท์ มะลิทอง. เทคโนโลยีการศึกษาร่วมสมัย. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531. คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, ส านักงาน. การปฏิรูปการเรียนตามแนวคิด 5 ทฤษฎี. กรุงเทพ ฯ : ไอเดียสแควร์, 2542. คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ระยะที่ 8 (พ.ศ. 2540-2544). กรุงเทพฯ: ส านักงานพัฒนาหลักสูตร, 2539. ชม ภูมิภาค. เทคโนโลยีการสอนและการศึกษา. กรุงเทพฯ: ประสานมิตร, 2524. ทวีรัตน์ สุหลง (2550), ผลของการบริหารจัดการโดยใช้กระบวนการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์บ ารุง ใหญ่สูงเนิน. การพัฒนาชุดการเรียนรู้ด้วยตนเองเพื่อเสริมความรู้เกี่ยวกับการสอน ทักษะการคิดวิเคราะห์วิจารณ์ของประถมศึกษา. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหา บัณฑิต สาขาวิชาการประถมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2536. บุญชม ศรีสะอาด. การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาสน์, 2535. บุษยมาศ แสงเงิน. (2554).สภาพปัญหาของระบบราชการไทย. (ระบบออนไลน์) แหล่งที่มา :http://www.gotoknow.org/blogs/posts/427238 ลักขณา หมื่นจักษ์. การสร้างชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง. กรุงเทพฯ: สถาบันพัฒนาข้าราชการ พลเรือน, ม.ป.ป. ลัดดา ศุขปรีดี. เทคโนโลยีการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ: ศักดิ์โสภาการพมพ, 2524. ิ์วาสนา ชาวหา. เทคโนโลยีทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: อักษรสยามการพมพ, 2525. ิ์วิชัย วงศ์ใหญ่. วิธีการสร้างชุดการเรียนด้วยตนเอง. ในเอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง การสอนทางไกล. กรุงเทพฯ: สถาบันพัฒนาข้าราชการพลเรือน, 2530.
๖๕การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ับรรณานุกรม (ต่อ) วีรวิทย์ โปร่งจันทึก. (2552) การบริหารงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ในกองบงคับการต ารวจน้ า ั ส านักงานต ารวจแห่งชาติ วิทยานิพนธ์ รัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิตมหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช.นนทบุรี : ส านักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. Brawly, O.D. A study to evaluate the effects of using multimedia instructional modules to Teach time – telling to retarded learners. Dissertation Abstracts International , 1975. Flavell,J.H.,. Matacognition and Cognitive Monitoring Anew area of cognitive developmental inquiry. America Psychologist, 34,909-911.1979. Slavin, Robert E.,. Educational Psychology. (7 th ed.). John Hopkins University. 2003. Veenman, T., et al.,. Metacognitive mediation in learning with computer- based imulation. Computer in Human Behavior, 10,93-3206A. 1994. Wang, J.T.,. A Comperetive study of metacognitive behaviors in the mathematical problem solving between gifted and average sixth-grad student in the Taiwan the republic of chaina. Dissertation Abstrana nternationnal,50,3206A. 1990.
๖๖การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ัภาคผนวก
๖๗การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ัขั้นตอนการด าเนินงานพฒนาครูและบุคลากรั การสนับสนุนบุคลากรผู้เชี่ยวชาญ ให้แก่โรงเรียนโดยศึกษาธิการจังหวัดอ านาจเจริญ จัดการอบรมให้ความรู้โดยโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา น าโดยผู้อ านวยการโรงเรยน ดร.ีโชติชัย กิ่งแก้ว และนายเถลิงศักดิ์ เถาว์โท เข้ารบการอบรม และน ามาขยายผลในโรงเรียน ัการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรด้านนวัตกรรมการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ และการนิเทศ ติดตามประเมินผลตามโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) ผศ.ดร.ภูมิพงษ์ จอมหงส์พิพัฒน์ วิทยากร อาจารย์ มหาวทยาลัยราชภัฏอบลราชธานี ิุ ผู้อ านวยการโรงเรียน ดร.โชติชัย กิ่งแก้ว และนายเถลิงศักดิ์ เถาว์โท น ามาขยายผลในโรงเรียนโดยจัดอบรมโดยงบประมาณสนับสนุนโดยศึกษาธิการจังหวัดอ านาจเจริญจ านวน 1,800บาท จัดการอบรมขยายผลให้ความรู้แก่บุคลากรโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา รายงานการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรด้านนวัตกรรมการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ และการนิเทศ ติดตามและประเมินผลLink : https://online.pubhtml5.com/ylqa/dqyj/ ผู้อ านวยการโรงเรียน ดร.โชติชัย กิ่งแก้ว และนายเถลิงศักดิ์ เถาว์โท เข้ารับการอบรม และน ามาขยายผลในโรงเรียนโดยจัดอบรมโดยจบประมาณสนับสนุนโดยศึกษาธิการ ตัวอย่าง บทเรียนส าเร็จรูปออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง คลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม รหัสวิชา ว 32201 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5URL:https://wow.in.th/H4Gdt๓) ขั้นตอนการด าเนินงานพัฒนา เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการการสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ภายใต้รูปแบบ 1L3R ภายในโรงเรียนน้ าปลีกศึกษาLink : https://online.pubhtml5.com/ylqa/qcia/
๖๘การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ัล าดับขั้นตอนการด าเนินการพัฒนา และหาคุณภาพตั้งแต่เริ่มต้นจนจบกระบวนการพัฒนาน าสู่ผลส าเร็จตามเป้าหมาย โดยใช้บทเรียนส าเร็จรูปลงสู่กระบวนการจัดการเรียนรู้ปกติภายในห้องเรียน และการจัดกิจกรรมซ่อมเสริม และการสอนเสริมเติมเต็ม ก าหนดแนวการด าเนินงานเป็น 15 ขั้นตอน ดังนี้ 1. ปรับโครงการยกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้ครอบคลุมทุกกิจกรรมที่ก าหนด 2. เมื่อวางแผนการสอนตามมาตรฐานและตัวชี้วัดแล้ว ให้โรงเรียนตรวจสอบการวิเคราะห์หลักสูตร การก าหนดหน่วยการเรียนรู้ว่าครอบคลุมหรือไม่ หากไม่ครอบคลุมให้สอนเพิ่มในส่วนที่ตกหล่นไปโดยเฉพาะ ม.3 และ ม.6 3. วางแผนการสอนชั้น ม. 3 และ ม.6 ให้จบ และครบทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภายในวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 4. สืบคนสื่อ และแบบทดสอบ ้เพื่อจัดท าบัญชีรายชื่อคลังสื่อ และแบบทดสอบ O-Net จาก Google และYoutube 5. จัดกิจกรรม Tutor ตามแนวข้อสอบของ สทศ. ในชั้น หรือ ก าหนดกิจกรรม วันเวลาให้ชัดเจน 6. ครูผู้รับผิดชอบในโรงเรียนทุกคนร่วมกันสร้างข้อสอบตามแนวข้อสอบของ สทศ. แล้วแลกเปลี่ยนข้อสอบผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 7. น าแนวข้อสอบ O-NET ของ สพม. ไปใช้แทรกในการเรียนการสอนปกติ และในการ Tutor ในชั้นเรียนให้นักเรียนคนเคยและมีุ้ประสบการณ์การท าข้อสอบ (รูปแบบข้อสอบ/ก ร ะ ด า ษ ค า ต อ บ / ก า ร ร ะ บ า ย ค า ต อ บ ฯ ) 8. ผู้บริหารก าหนดปฏิทินการนิเทศภายในโรงเรียนเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้ชัดเจน (ก าหนดวันที่ กิจกรรมที่ต้องท า) 9. ผู้บริหารติดตามการน าข้อสอบ O-NET ไปใช้ในสถานศกษา การน าข้อสอบ O-NET ไปใช้ในึชั้นเรียน ติดตามผลการท างานของครูผู้รับผิดชอบทุกระยะอย่างใกล้ชิดเพื่อให้ด าเนินงานบรรลุตามแผนงาน หรือแก้ไขปัญหาต่างๆ ได้ทันเวลา 10. จัดกิจกรรม Tutor ให้ต่อเนื่องก่อนถึงวันสอบจริง (O-NET มัธยมศกษาปีที่ 3 ึสอบ…17 18…-เดือน มีนาคม พ.ศ.2564 ) (O-NETมัธยมศกษาปีที่ 6 สอบึ…27 29…-เดือน มีนาคม พ.ศ.2564 ) 11. จัดสอบเสมือนจริง โดยใช้ข้อสอบ กระดาษคาตอบ การคมสอบ เวลาสอบเสมือนจริงทุกุประการ โดยใช้ข้อสอบของ สพม.29 ซงจัดท าขึ้นตามึ่แนวข้อสอบของ สทศ. บันทึกผลการสอบ ตรวจคาตอบ และวิเคราะห์ผลการทดสอบเพื่อปรับปรุงแก้ไขนักเรียนก่อนวันสอบจริง 12. จัดกิจกรรมเสริมแรงทางบวก (จัดอาหารว่างน้ าหวาน ขนมช่วงพักสอบ) สร้างบรรยากาศผ่อนคลาย ท าสมาธิก่อนเวลาสอบ 13. ประชาสัมพันธ์ความส าคญของการสอบ O-NET ทุกสัปดาห์ 14. ัประกาศ/ป้าย นับเวลาถอยหลัง Count Down ทุกวัน 15. โรงเรียนให้รางวัลนักเรียนที่มีคะแนนสอบสูง/มีความก้าวหน้าสูง โดยก าหนดหนักเรียนที่มีผลการทดสอบสูงกว่า 50% จะได้ทุนการศกษาวิชาละ 300 บาท ในทุกึรายวิชา
๖๙การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ัตารางที่ 20 การค านวณหาค่ามาตรฐานซี ( Z - score) และ หาคะแนนที (T - score ) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 เทียบ ปีการศึกษา 2562 ล าดับที่ ชื่อ - สกุล(นร.ปี2562) ปีการศึกษาก่อน Z -Score Score T - ชื่อ - สกุล(นร.ปี2563) ปีการศึกษาปัจจุบัน Z -Score Score T - 2562 2563 1 ธัชพล มาลาพันธ์ 215.50 3.46 84.65 อติคุณ บุญพุท 242.55 4.57 95.72 2 แพรวา อินลุเพท 203.50 2.97 79.74 วรรณกร แสงกล้า 203.50 2.97 79.74 3 วิลาวรรณ สุวรรณวังกูร 189.00 2.38 73.80 บุษกร เตียวสกุล 187.00 2.30 72.99 4 ธัญญลักษณ์ มิ่งขวัญ 175.00 1.81 68.07 เบญจรัฐ ทรัพย์ชิต 179.35 1.99 69.86 5 ชรัญฎา ครองบุญ 169.00 1.56 65.62 ศศิวิมล หัดที 195.20 2.63 76.34 6 พัชราภา ยันทะแย้ม 167.00 1.48 64.80 ปิยะพัชร์ ปัณณวัฒนานนท์ 188.85 2.37 73.74 7 ภรณ์วิไลวรรณ์ เพ็งพาด 165.00 1.40 63.98 สุพรรษา พันธ์เจริญ 145.15 0.59 55.86 8 อรวรรณ ทิพย์รัตน ์164.50 1.38 63.78 ฤทัยรัตน หงษา ์161.45 1.25 62.53 9 ชาริสา ชุ่มมาก 161.50 1.26 62.55 อชิรวัฒน์ ธรรมลี 156.30 1.04 60.42 10 เอกรัตน พิลาไชย ์160.00 1.19 61.94 ปพิชญา ทองยศ 156.10 1.03 60.34 11 ประวีณา ทองยศ 157.50 1.09 60.91 กนกพร รูปใส 138.60 0.32 53.18 12 กมลวรรณ แสงอินตา 155.00 0.99 59.89 บัญญพนต์ อยู่คง 148.70 0.73 57.31 13 ลลิตา ผาลิวงค ์153.00 0.91 59.07 ปาฎิหาริย์ ไชยมงคล 199.60 2.81 78.14 14 นฤมล ซ้อมจันทา 152.00 0.87 58.66 สุภาพร สุวะไกร 129.65 -0.05 49.52 15 นวพล กัญญะมาสา 151.50 0.85 58.46 สุพราวดี ค ามี 157.65 1.10 60.97 16 กัลยกร มะลาศรี 150.00 0.78 57.84 ธนัชชา เรืองบุตร 162.30 1.29 62.88 17 สุรีย์ เอกกัญหา 149.50 0.76 57.64 ศิริประภาภรณ ศิริบุญ ์132.05 0.05 50.50 18 นิตินัย ขันโท 148.50 0.72 57.23 อนิดชญา จันทง 131.75 0.04 50.38 19 เพชรภูธร วงศ์เหลา 148.50 0.72 57.23 ธนากร บุรีรัมย์ 147.25 0.67 56.72 20 วรัทญา จูมทอง 147.00 0.66 56.62 รุ่งทิวา ทวีบุญ 175.60 1.83 68.32 21 อรปรียา ประนต 146.50 0.64 56.41 เพชรรุ่ง นักธรรม 144.10 0.54 55.43 22 ถิรพล วงศ์โสภา 146.50 0.64 56.41 วริศรา ไหรณพันธ์ 117.15 -0.56 44.40 23 ณัฐธนกร สุนทรวงศ ์145.00 0.58 55.80 รัดดาพร หิตะรัตน ์142.15 0.46 54.63 24 ตะวัน สุวะพันธ์ 145.00 0.58 55.80 ทิพย์สุดา นาถาบุตร 127.95 -0.12 48.82 25 กัญญารัตน คุ้มผล ์143.50 0.52 55.18 นันทพงค โฉมเฉลา ์139.05 0.34 53.36 26 อิทธิพัทธ์ ภูษา 143.00 0.50 54.98 ภาริณ บุญเหลี่ยม ี126.85 -0.16 48.37 27 ชัชฎาภรณ บุญพุฒ ์143.00 0.50 54.98 ธนวัฒน์ คืนดี 190.20 2.43 74.30 28 ทิชากร จิตรมาตย์ 142.50 0.48 54.78 ภาณุพงษ์ ก้อนผา 132.75 0.08 50.79 29 นราธิป สายเมฆ 142.50 0.48 54.78 พิรุณรัตน เที่ยงธรรม ์145.85 0.61 56.15 30 ทิพวรรณ์ สุริโย 142.00 0.46 54.57 จิลัดดา ตั้งจิตร 130.15 -0.03 49.72 ร้อยละของคะแนนที (T - score )ที่เพิ่มขึ้นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา คือ 0.93
๗๐การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ัตารางที่ 20 การค านวณหาค่ามาตรฐานซี ( Z - score) และ หาคะแนนที (T - score ) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 เทียบ ปีการศึกษา 2562 ล าดับที่ ชื่อ - สกุล(นร.ปี2552) ปีการศึกษาก่อน Z -Score Score T - ชื่อ - สกุล(นร.ปี2553) ปีการศึกษาปัจจุบัน Z -Score Score T - 2562 2563 31 ภิญญดา ภูษา 141.00 0.42 54.16 เกรียงไกร วิชัยโย 132.10 0.05 50.52 32 พิชญา บุญพุฒ 140.00 0.38 53.75 อัญดารัตน ทองโท ์108.05 -0.93 40.68 33 วงศธร จารุสิทธิ์ 140.00 0.38 53.75 ศิริญญา คูณภาค 130.35 -0.02 49.80 34 พงศภัค ไชยพันธ์ 139.50 0.35 53.55 สุนิติ บุญทรัพย์ 127.95 -0.12 48.82 35 ฐิติกร มงคล 139.00 0.33 53.34 ชุติพงษ์ เจือหนองแวง 130.15 -0.03 49.72 36 อนัญญา คมกล้า 138.50 0.31 53.14 ชยานนท์ นรศรี 116.00 -0.61 43.93 37 ณัฐพล เหมือนเหลา 138.50 0.31 53.14 ศิรินทรา ทวีชัย 119.50 -0.46 45.36 38 สัญญาพงศ งอกงาม ์137.00 0.25 52.52 พิยดา สุลักษณ์ 123.40 -0.30 46.96 39 แพรชมพู นรศรี 136.50 0.23 52.32 นิภาพร ปัญญานันท์ 127.35 -0.14 48.58 40 ศิรินภา กันยามาตย์ 136.50 0.23 52.32 คุณาวุธ ทานะสิทธิ์ 133.25 0.10 50.99 41 วิเชียร แก้วกล้า 136.00 0.21 52.12 พงศ์พันธุ์ พิลาชัย 100.15 -1.26 37.44 42 วีรวุฒิ ทองล้วน 135.00 0.17 51.71 ภัทริดา เหล่าเกษกรรม 99.10 -1.30 37.01 43 พงศธร จันทร์สวัสดิ์ 135.00 0.17 51.71 สุชานันท์ แสนสุข 117.10 -0.56 44.38 44 ชนิดา พิมพะเสน 134.00 0.13 51.30 ดรัณภพ จันทร์สูงเนิน 108.00 -0.93 40.66 45 พัชรีญา ชิณสิทธิ์ 134.00 0.13 51.30 อัญชลี สุวะไกร 128.05 -0.11 48.86 46 พชร สาระแสน 132.50 0.07 50.68 วัชรพล วงศ์จันทา 124.55 -0.26 47.43 47 นฤมล สุขส่ง 132.00 0.05 50.48 จิดาภา ทองหิน 116.65 -0.58 44.20 48 ชลดา สายเมฆ 129.00 -0.07 49.25 เอกภพ ท าชอบ 116.00 -0.61 43.93 49 ชนกชนม์ ดอกไม้ 129.00 -0.07 49.25 ณัฐวุฒิ โคตุเคน 111.85 -0.78 42.23 50 ศิรินาฎ หอมสิน 129.00 -0.07 49.25 สุชาดา บรรล ุ131.00 0.01 50.07 51 เอกชาติ สิงห์แก้ว 128.50 -0.10 49.05 กมลทิพย์ จันทมุลตรี 104.30 -1.09 39.14 52 เรวดี แสงเถื่อน 128.50 -0.10 49.05 วนันดา ประกอบศรี 129.95 -0.04 49.64 53 อนุธิดา ปิ่นอ าพล 128.00 -0.12 48.84 นุสบา เสนาดี 134.65 0.16 51.56 54 ไปรยา ธรรมวรีย์ 127.00 -0.16 48.43 กัมปนาท สุยะดา 99.50 -1.28 37.18 55 ธิติวุฒิ เติมสุข 126.50 -0.18 48.23 คุณากร สุบิน 136.00 0.21 52.12 56 มณฑิรา เสาเวียง 125.00 -0.24 47.61 วรนุช สุดวิเศษ 90.35 -1.66 33.43 57 พรชิตา นรศรี 124.00 -0.28 47.20 ชิโนรส โสมาบุตร 118.90 -0.49 45.12 58 ขนพพร บุตตรี 124.00 -0.28 47.20 พุฒิพงษ์ สมบูรณ ์98.40 -1.33 36.73 59 อิทธิกร บุญประสพ 121.50 -0.38 46.18 นัทธพงศ เถาว์โท ์112.60 -0.75 42.54 60 ธิดารัตน แก้วค าแสน ์120.50 -0.42 45.77 อนันต์ ปัดส าราญ 102.85 -1.15 38.55 ร้อยละของคะแนนที (T - score )ที่เพิ่มขึ้นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา คือ 0.93
๗๑การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ัตารางที่ 20 การค านวณหาค่ามาตรฐานซี ( Z - score) และ หาคะแนนที (T - score ) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 เทียบ ปีการศึกษา 2562 ล าดับที่ ชื่อ - สกุล(นร.ปี2552) ปีการศึกษาก่อน Z -Score Score T - ชื่อ - สกุล(นร.ปี2553) ปีการศึกษาปัจจุบัน Z -Score Score T - 2562 2563 61 วันดี โนนน้อย 120 -0.44 45.57 ดนยา นามปี 98.15 -1.34 36.63 62 กิตติมาภรณ เหมือน์เหลา 119.5 -0.46 45.36 ชนานันท์ กาละกูล 119.00 -0.48 45.16 63 ดวงขวัญ โชติเนตร 119.5 -0.46 45.36 แพรวา มีดี 97.85 -1.35 36.50 64 ทวีสุข สุขคุณ 119 -0.48 45.16 ศุภกิจ สว่างวงค ์98.10 -1.34 36.61 65 เสกสรรค โมระเดช ์118.5 -0.50 44.95 อันดา ถีระพันธ์ 99.95 -1.26 37.36 66 กัญญารัตน กอแก้ว ์118 -0.53 44.75 ณภัทรพงค วิเศษแก้ว ์107.45 -0.96 40.43 67 ปิยวรรณ จ าปาจูม 117.5 -0.55 44.54 ปิยพร เถาว์สอน 84.40 -1.90 31.00 68 นารีรัตน์ ชินลาภา 117.5 -0.55 44.54 กล้าณรงค ไตยสุทธิ์ ์102.20 -1.17 38.28 69 กัญญาภัค นามสุวรรณ์ 117 -0.57 44.34 ธนวัฒน์ สุภาจันทร์ 108.65 -0.91 40.92 70 นพรัตน พงศรี ์116.5 -0.59 44.14 ไกรวิชญ์ โสภาลุน 100.15 -1.26 37.44 71 ธนกร มาลาพันธ์ 115.5 -0.63 43.73 ภาณุภาพ วริวงษ์ 91.05 -1.63 33.72 72 คชาภรณ พรดอนก่อ ์114 -0.69 43.11 73 วิยดา เยาวะขันธุ์ 114.00 -0.69 43.11 74 นราวิชญ์ ซ้อนบุตร 113.50 -0.71 42.91 75 กมลชนก สินวรณ ์113.00 -0.73 42.70 76 กชกร โสภา 112.50 -0.75 42.50 77 ปิยะ บุญจุฬา 112.50 -0.75 42.50 78 ภัณทิรา ดีหลี 110.00 -0.85 41.48 79 พระทัยธาร นามจันทรา 109.50 -0.87 41.27 80 ศุภชัย แก้วธรรม 106.50 -1.00 40.04 81 ปณิธาร แผลติตะ 105.50 -1.04 39.63 82 พีรทัด ศรีนวล 104.00 -1.10 39.02 83 เฉกชนก คงเสือ 104.00 -1.10 39.02 84 กรกนก ไชยครุฑ 102.00 -1.18 38.20 85 เกษม สุทสนธ์ 101.50 -1.20 38.00 86 วิเศษศักดิ์ รักประเทศ 99.00 -1.30 36.97 87 พิเชฐ พิมพ์ชัย 98.00 -1.34 36.56 88 สหรัฐ เค้ามูล 97.00 -1.38 36.16 89 กิตติภูมิ พรมนาค 96.00 -1.43 35.75 90 อ าพล กองสิน 95.50 -1.45 35.54 ร้อยละของคะแนนที (T - score )ที่เพิ่มขึ้นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา คือ 0.93
๗๒การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ัตารางที่ 20 การค านวณหาค่ามาตรฐานซี ( Z - score) และ หาคะแนนที ( T - score ) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 เทียบ ปีการศึกษา 2562 ล าดับที่ ชื่อ - สกุล(นร.ปี2553) ปีการศึกษาก่อน Z -Score Score T - ปีการศึกษาปัจจุบัน Z -Score Score T - 2562 2563 91 จรูญศักดิ์ นามจันทรา 94.50 -1.49 35.13 92 ชนากร แก้วยุพา 92.00 -1.59 34.11 93 ธีรภัทร พันธุ์เจริญ 85.50 -1.86 31.45 94 เจตสุภา ทองไทย 82.00 -2.00 30.02 95 นนทวัฒน์ บุญทศ 81.00 -2.04 29.61 96 97 98 99 100 ร้อยละของคะแนนที (T - score )ที่เพิ่มขึ้นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา คือ 0.93
๗๓การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ัตารางที่ 21 การค านวณหาค่ามาตรฐานซี ( Z - score) และ หาคะแนนที (T - score ) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563 เทียบ ปีการศึกษา 2562 ล าดับ ชื่อ - สกุล(นร.ปีที่ 2552) ปีการศึกษาก่อน Z -Score Score T - ชื่อ - สกุล(นร.ปี2553) ปีการศึกษาปัจจุบัน Z -Score T - Score 2562 2563 1 ชยุตม์ จันทะยา 169.25 2.41 74.13 นิธิดา อินลุเพท 170.38 2.49 74.90 2 ธิดารัตน แสนพิม ์163.63 2.03 70.28 ขจรเกียรติ บุญลิลา 101.35 -2.23 27.70 3 นิสากร เถาว์สอน 160.88 1.84 68.40 ศตนันท์ ธุมาลา 97.10 -2.52 24.79 4 สุธินี ขันโท 154.75 1.42 64.21 ชานนท์ โรจนอ าพร 123.35 -0.73 42.74 5 อภิชญา โสชรา 143.00 0.62 56.18 จรินทร ภักดี 193.50 4.07 90.71 6 สุธิดา วงศ์เหลา 156.75 1.56 65.58 กนกรัตน สังข์ประเสริฐ ์170.30 2.48 74.84 7 ธิชา สีดามาตย์ 149.88 1.09 60.88 วิลาสินี นรศรี 116.78 -1.17 38.25 8 จิตรานัน ทองนิล 144.50 0.72 57.20 ขนิษฐา พระสุพรรณ ์201.83 4.64 96.40 9 สุเทพ โสภา 154.88 1.43 64.30 เบญญทิพย์ ทองชุม 151.03 1.17 61.67 10 จิติพล สมบูรณ ์138.88 0.34 53.36 ศุภาทิพย์ เจริญบุญ 209.53 5.17 101.67 11 ฐิติมา โสภาลุน 142.88 0.61 56.10 ธรรมนูญ ค าพลแสง 148.15 0.97 59.70 12 พีระพงษ์ ค าตัน 149.88 1.09 60.88 ภูมรินทร ศรีค า ์125.85 -0.55 44.45 13 สิทธิ์สักดิ์ อุติ 141.63 0.52 55.24 อรัญญา เสนาดี 177.73 2.99 79.92 14 จันทร์จิรา มาระแสง 141.00 0.48 54.81 ณัฏฐนิชา สุขทองหลาง 153.75 1.35 63.53 15 เปรมกมล ปางชาติ 147.75 0.94 59.43 สรศักดิ์ สุยะดา 121.30 -0.87 41.34 16 พิมจันทร์ รัฐชัย 140.13 0.42 54.22 ปิยะดา เจริญสุข 153.98 1.37 63.69 17 ธนพร สุภาสอน 145.13 0.76 57.63 จุฑามาศ แสวงศรี 147.13 0.90 59.00 18 จุฑามาศ ฤาชัย 129.63 -0.30 47.04 เฉลิมชัย ภูษา 193.95 4.10 91.01 19 สุจิตรา สุยะดา 128.00 -0.41 45.92 ขจรเกียรติ ตั้งจิตร 192.50 4.00 90.02 20 พงศ์ธร นักธรรม 141.25 0.50 54.98 ดลฤดี ทวีชัย 148.10 0.97 59.67 21 วรัญญา ศรีหาสาร 132.75 -0.08 49.17 จุฑารัตน เข็มพันธ์ ์131.30 -0.18 48.18 22 ประภัสสร ปะเทสัง 133.00 -0.07 49.34 วิจิตรา ไชยครุฑ 153.05 1.30 63.05 23 นันทิกา แสงจันทร์ 153.25 1.32 63.19 จิราภา พันโสรี 147.13 0.90 59.00 24 พรพิมล สาทาวงศ ์131.50 -0.17 48.32 คณิศร ลาภาพันธ์ 183.75 3.40 84.04 25 ถมยา จารุสิทธิ์ 141.63 0.52 55.24 ธวัชชัย แก่นจันทร์ 137.73 0.26 52.57 26 วัชระ นรศรี 137.25 0.22 52.25 จิราวรรณ อยู่มั่น 175.85 2.86 78.64 27 ไพจิตร สุขส่ง 122.25 -0.80 41.99 กัญญาณัฐ ภูษา 187.55 3.66 86.64 28 สุพัตรา ผลกอง 147.25 0.91 59.08 เจนจิรา โพธิ์หล้า 213.95 5.47 104.69 29 ธนาภรณ สร้างสุข ์121.50 -0.85 41.48 พิชาภพ กาหาวงศ ์114.78 -1.31 36.88 30 พนิดา ค านนท์ 135.50 0.10 51.05 พิณทิรา สมบูรณ ์112.55 -1.46 35.36 ร้อยละของคะแนนที (T - score )ที่เพิ่มขึ้นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา คือ 32.41
๗๔การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ัตารางที่ 21 การค านวณหาค่ามาตรฐานซี ( Z - score) และ หาคะแนนที (T - score ) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563 เทียบ ปีการศึกษา 2562 ล าดับที่ ชื่อ - สกุล(นร.ปี2552) ปีการศึกษาก่อน Z -Score Score T - ชื่อ - สกุล(นร.ปี2553) ปีการศึกษาปัจจุบัน Z -Score T - Score 2562 2563 31 ผยุง ขุมค า 118.75 -1.04 39.60 ศุภพล นนทะชัย 177.90 3.00 80.04 32 ศุฑิมา ฉันวิจิตร 117.63 -1.12 38.83 กานต์สินี สุทธิ์ฤทธิ์ 192.73 4.02 90.18 33 ลิขิต บุญทน 139.00 0.34 53.44 ละอองดาว วงศ์ละคร 131.65 -0.16 48.42 34 ภัทธพล ทองโท 137.50 0.24 52.42 นลินนิภา อุ่นอก 132.08 -0.13 48.71 35 พลอยชมพู มะโนราช 138.00 0.28 52.76 ปิยะราช บุพชาติ 145.05 0.76 57.58 36 อิสระ ดอกไม้ 131.75 -0.15 48.49 ธนการ ศรีณะลา 226.05 6.30 112.96 37 คุลิกา สังคฤกษ์ 124.88 -0.62 43.79 ภานุวัฒน์ ยอดธรรม 131.93 -0.14 48.61 38 ภานุวัฒน นรศรี ์143.75 0.67 56.69 อนุสรา สันตะวงค ์222.45 6.05 110.50 39 มินตรา พันทอง 149.75 1.08 60.79 จิฬาวรรณ ขุนอินทร์ 184.20 3.43 84.35 40 รัตนพล โพธิจันทร์ 139.25 0.36 53.61 ยุวลักษณ์ ทานะลัย 94.18 -2.72 22.80 41 เจริญพร ศรีสุพรรณ 123.25 -0.73 42.67 อัจฉรา กันหาคุณ 211.10 5.27 102.74 42 อัญธิกา สมบูรณ์ 121.63 -0.84 41.57 ชัยยา ไชยพรม 143.13 0.63 56.27 43 นิทัศน์ สังฆพันธ ์121.75 -0.84 41.65 ปราโมทย์ เถาว์สอน 103.33 -2.09 29.05 44 ศิริลักษณ์ นาดี 124.25 -0.66 43.36 คามิน บัวพันธ์ 190.13 3.84 88.40 45 ชิดชนก ฤาชัย 129.38 -0.31 46.87 นิภาวรรณ มะณีวรรณ ์153.93 1.37 63.65 46 วิชุดา เอี่ยมยอด 117.25 -1.14 38.57 47 อรรถพล ชวลิต 124.63 -0.64 43.62 48 มารุต เชิดช ู125.25 -0.60 44.04 49 อิสระ พิลไชย 123.50 -0.72 42.85 50 วลัยพร วงค์โสภา 125.25 -0.60 44.04 51 อภิสิทธ ตุ่มงาม ิ์123.88 -0.69 43.10 52 เอ็ม สุยะทา 123.88 -0.69 43.10 53 ลลิตา ศรีสุพรรณ 120.25 -0.94 40.62 54 มลฤดี แซ่ลี้ 107.25 -1.83 31.73 55 สุรกิตย์ ปัญญานันท ์106.38 -1.89 31.14 56 จริยา สุวะไกร 107.63 -1.80 31.99 57 พัชรี บุญพุฒ 130.25 -0.25 47.46 58 บรรลุ นรศรี 124.50 -0.65 43.53 59 ตะวัน วงค์ละคร 109.88 -1.65 33.53 60 ขนิษฐา ศรีหาสาร 108.00 -1.78 32.25 ร้อยละของคะแนนที (T - score )ที่เพิ่มขึ้นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา คือ 32.41
๗๕การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ั+รางวัลของครูที่บรรลุตัวชี้วัด
๗๖การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ั
๗๗การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ัผลงานดีเด่น ปีการศึกษา 25631) ผลงานดีเด่นของโรงเรียน ได้รับประกาศนียบัตรเป็นสถานศึกษาที่มีส่วนร่วมในการประเมินพฤติกรรมเด็กและเยาวชนที่ยึดมั่นในความซื่อสัตย์สุจริตและการประเมินผลสัมฤทธิ์ในการใช้หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา ผลงานดีเด่นของนักเรียน นางสาวเยาวลักษณ์ ธรรมวงศ์การ ได้รับโล่รางวัลสุดยอดเด็กดีเด่นแห่งปี (Best Child of the Year ๒๐๒๑) เนื่องในวันเด็กแห่งชาติ ประจ าปี ๒๕๖๔ จากองค์กรสาธารณประโยชน์ เลขที่ ๒๔๒๗ นางสาวเยาวลักษณ์ ธรรมวงศ์การ ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นเด็กประพฤติดี “วัฒนธรรมวินิต” (ผู้น าทางวัฒนธรรม) เนื่องในวันเด็กแห่งชาติ ประจ าปี ๒๕๖๔ จากจังหวัดอ านาจเจริญ นายเหนือเมฆ วริวงษ์ ได้รับรางวัลชมเชย ระดับมัธยมศึกษา โครงการประกวดเรียงความ ในหัวข้อ “ความประทับใจของฉันได้ท าดี จุดประทีปออนไลน์ จากเครือข่ายส่งเสริมกิจกรรมสร้างสรรค์เพอื่เยาวชน
๗๘การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ัมีผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-Net ในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 สูงเป็นอันดับ 9 ของโรงเรียนทั้งหมด 81 โรงเรียน จากส านักงานเขตพื้นที่การศกษามัธยมศึกษาึอุบลราชธานี อ านาจเจริญได้รับเกียรติบัตรโรงเรียนที่ประสบความส าเร็จในการจัดการศึกษา เป็นกลุ่มเป้าหมาย ในการถอดบทเรียน การยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน จากส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศกษาอุบลราชธานี อ านาจเจริญ ึเว็บไซต์วิเคราะห์ผลโอเน็ตปีการศึกษา 2559-2563 URL : https://wow.in.th/fPOVV
๗๙การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ั2) ผลงานดีเด่นของผู้บริหาร 2.๑ ผลงานของผู้บริหาร 2.๑.๑ นายโชติชัย กิ่งแก้ว ได้รับรางวัลเสมา ป.ป.ส. ระดับทอง (ผลงานระดับชาติ) 2.๑.๒ นายโชติชัย กิ่งแก้ว ได้รับเกียรติบัตรผู้บริหารดีเด่นจากกลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษามัธยมศึกษา จังหวัดอ านาจเจริญ 2.๑.๓ นายโชติชัย กิ่งแก้ว ได้รับเกียรติบัตร ผู้บริการดีเด่นด้านเศรษฐกิจพอเพยงจากีส านักงานส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา จังหวัดอ านาจเจริญ 2.๑.๔ นายวิทยา ทรวงดอน ได้รับรางวัลรองผู้อานวยการสถานศึกษาดีเด่นจากส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๙ 2.๑.๕ นายวิทยา ทรวงดอน ได้รับรางวัลรองผู้อานวยการดีเด่นจากกลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษามัธยมศึกษา จังหวัดอ านาจเจริญ 2.๒ ผลงานดีเด่นของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2.๒.๑ นายเถลิงศักดิ์ เถาว์โท ได้รับรางวัล “เสมามิ่งมงคล” ประเภทครู จากส านักงานศึกษาธิการจังหวัดอ านาจเจริญ URL : https://online.pubhtml5.com/ylqa/ezms/ 2.๒.๒ ว่าที่ ร.ต.สุดสาคร นามสุวรรณ ได้รับรางวัลครูผู้สอนดีเด่นกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา และพลศึกษาจากส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๙ . ๒.๓ นางรัชนีย์ ทองโพธิ์ศรี ได้รับรางวัลครูผู้สอนดีเด่นกลุ่มสาระการเรียนรู้2ภาษาต่างประเทศจากส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๙ 2.๒.๔ นายบรรจบ บุพชาติ ได้รับรางวัลครูผู้สอนดีเด่นกิจกรรมพฒนาผู้เรียนจากส านักงานัเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๙ 2.๒.๕ นางสาวพรทิพย์ ค าเพราะ ได้รับรางวัลครูผู้สอนดีเด่นกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยจากส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๙ 2.๒.๖ นายวิฑูรย์ ท่อนเงิน ได้รับรางวัลพนักงานราชการและครูจ้างสอนดีเด่นจากส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๙ 2.๒.๗ นายสมภพ คูณเลี้ยง ได้รับรางวัลครูผู้สอนดีเด่นกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปศึกษาจากส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๙ 2.๒.๘ นายณรงค์ฤทธิ์ ประดิษฐ์แท่น ได้รับรางวัลครูผู้สอนดีเด่นกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมของส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๙ 2.๒.๙ นางสาวธิติมา ชื่นสุภัค ได้รับรางวัลครูผู้มีจิตอาสาจากส านักงานเขตพนที่การศึกษาื้มัธยมศึกษา เขต ๒๙ 2.๒.๑๐ นายสมัคร อนลุเพท ได้รับรางวัลลูกจ้างประจ าดีเด่นจากส านักงานเขตพนที่ิื้การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๙
๘๐การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ั2.๒.๑๑ นางสาวนันท์พร สองสี ได้รับรางวัลลูกจ้างสนับสนุนการสอนดีเด่นจากส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๙ 2.๒.๑๒ นางขวัญใจ จันทนะชาติ ได้รับรางวัลครูผู้สอนดีเด่นกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์จากกลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศกษามัธยมศึกษา จังหวัดอ านาจเจริญ ึ 2.๒.๑๓ นายไกรสร ค าชีลอง ได้รับรางวัลครูผู้สอนดีเด่นกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพจากกลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศกษามัธยมศึกษา จังหวัดอ านาจเจริญ ึ2.๒.๑๔ นายยุทธนาวี เมืองซอง ได้รับรางวัลครูผู้สอนดีเด่นกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปศึกษาจากกลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศกษามัธยมศึกษา จังหวัดอ านาจเจริญ ึ2.๒.๑๕ นางมณีรัตน์ สุทธการ ได้รับรางวัลครูผู้สอนดีเด่นกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมจากกลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษามัธยมศกษา จังหวัดอ านาจเจริญ ึ2.๒.๑๖ นายรัตน์ แสนชาติ ได้รับรางวัลลูกจ้างประจ าดีเด่นจากกลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษามัธยมศึกษา จังหวัดอ านาจเจริญ 2.๒.๑๗ นายประดิษฐ จิตรมาศ ได้รับรางวัลกรรมการศึกษาดีเด่นจากกลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษามัธยมศึกษา จังหวัดอ านาจเจริญ 2.๒.๑๘ นางสาวจารุวัลย์ ประพณ ได้รับรางวัลครูผู้มีจิตอาสาดีเด่นจากกลุ่มเครือข่ายิส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษามัธยมศึกษา จังหวัดอ านาจเจริญ 2.๒.๑๙ นางกัญญาวีร์ เศวตวงศ์ ได้รับรางวัลครูที่ปฏิบัติตามหลักเศรษฐกิจพอเพยงจากีส านักงานส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา จังหวัดอ านาจเจริญ 2.๒.๒๐ นายณรงค์ฤทธิ์ ประดิษฐ์แท่น ได้รับเกียรติบัตรครูผู้มีผลงานการวิจัยในชั้นเรียนดีเด่น ประจ าปี ๒๕๖๓ 2.๒.๒๑ นางรัชนีย์ ทองโพธิ์ศรี ได้รับเกียรติบัตรครูผู้มีผลงานการวิจัยในชั้นเรียนดีเด่น ประจ าปี ๒๕๖๓ 2.๒.๒๒ นางสาวภักดินันท์ สมรักษ์ ได้รับเกียรติบัตรครูผู้มีผลงานการวิจัยในชั้นเรียนดีเด่น ประจ าปี ๒๕๖๓ 2.๒.๒๓ นางขวัญใจ จันทนะชาติ ได้รับเกียรติบัตรครูผู้มีผลงานการวิจัยในชั้นเรียนดีเด่น ประจ าปี ๒๕๖๓ 2.๒.๒๔ นางกฤตพร จันทร์แดง ได้รับเกียรติบัตรครูผู้มีผลงานการวิจัยในชั้นเรียนดีเด่น ประจ าปี ๒๕๖๓ 2.๒.๒๕ นางเสงี่ยม หิรัญสิงห์ ได้รับเกียรติบัตรครูผู้มีผลงานการวิจัยในชั้นเรียนดีเด่น ประจ าปี ๒๕๖๓ 2.๒.๒๖ นางสาวภัทริยา โพธิ์ศรีคุณ ได้รับเกียรติบัตรครูผู้มีผลงานการวิจัยในชั้นเรียนดีเด่น ประจ าปี ๒๕๖๓
๘๑การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ั2.๒.๒๗ นางสาวกฤษณา นนทพจน์ ได้รับเกียรติบัตรครูผู้มีผลงานการวิจัยในชั้นเรียนดีเด่น ประจ าปี ๒๕๖๓ 2.๒.๒๘ นางสาวพรทิพย์ ค าเพราะ ได้รับเกียรติบัตรครูผู้มีผลงานการวิจัยในชั้นเรียนดีเด่น ประจ าปี ๒๕๖๓ 2.๒.๒๙ นางลาวัลย์ สีหะวงษ์ ได้รับเกียรติบัตรครูผู้มีผลงานการวิจัยในชั้นเรียนดีเด่น ประจ าปี ๒๕๖๓ 2.๒.๓๐ นางสาวจารุวัลย์ ประพณ ได้รับเกียรติบัตรครูผู้มีผลงานการวิจัยในชั้นเรียนดีเด่น ิประจ าปี ๒๕๖๓ 2.๒.๓๑ นางสาวบุษบา มูลเพญ ได้รับเกียรติบัตรครูผู้มีผลงานการวิจัยในชั้นเรียนดีเด่น ็ประจ าปี ๒๕๖๓ 2.๒.๓๒ นายวิฑูรย์ ท่อนเงิน ได้รับเกียรติบัตรครูผู้มีผลงานการวิจัยในชั้นเรียนดีเด่น ประจ าปี ๒๕๖๓ 2.๒.๓๓ นางวรรณี บุญสุภากุล ได้รับเกียรติบัตรครูผู้มีผลงานการวิจัยในชั้นเรียนดีเด่น ประจ าปี ๒๕๖๓ 2.๒.๓๔ นางสาวสุนิษา ค าแหน ได้รับเกียรติบัตรครูผู้มีผลงานการวิจัยในชั้นเรียนดีเด่น ประจ าปี ๒๕๖๓ 2.๓ ผลงานดีเด่นของนักเรียน 2.๓.๑ นางสาวเยาวลักษณ์ ธรรมวงศ์การ ได้รับโล่รางวัลสุดยอดเด็กดีเด่นแห่งปี (Best Child of the Year ๒๐๒๑) เนื่องในวันเด็กแห่งชาติ ประจ าปี ๒๕๖๔ จากองค์กรสาธารณประโยชน์ เลขที่ ๒๔๒๗ 2.๓.๒ นางสาวเยาวลักษณ์ ธรรมวงศ์การ ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นเด็กประพฤติดี “วัฒนธรรมวินิต” (ผู้น าทางวัฒนธรรม) เนื่องในวันเด็กแห่งชาติ ประจ าปี ๒๕๖๔ จากจังหวัดอ านาจเจริญ 2.๓.๓ นายเหนือเมฆ วริวงษ์ ได้รับรางวัลชมเชย ระดับมัธยมศึกษา โครงการประกวดเรียงความ ในหัวข้อ “ความประทับใจของฉันได้ท าดี จุดประทีปออนไลน์ จากเครือข่ายส่งเสริมกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อเยาวชน
๘๒การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ั
Search