ใบความรู้เรื่อง ระบบหน่วยระหว่างชาติหรือหน่วยเอสไอ รายวิชา ฟิสิกส์พื้นฐาน รหัสวิชา ว.31101 ปีการศึกษา 2564 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ห้อง 1-2
ช่องทางติดต่อสื่อสารกับผู้เรียน ( / ) Facebook ( / ) Line ( ) Google Hangout ( ) Zoom ( ) Google Classroom ( ) ติดต่อโดยตรง (ส่งใบงานถึงบ้าน) มาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น ม.4-6 บันทึกและอธิบายผลการส ารวจตรวจสอบอย่างมีเหตุผล ใช้พยาน หลักฐานอ้างอิงหรือค้นคว้าเพิ่มเติม เพื่อหาหลักฐานอ้างอิงที่เชื่อถือได้ และยอมรับว่าความรู้เดิมอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้เมื่อมีข้อมูลและประจักษ์พยานใหม่เพิ่มเติมหรือโต้แย้งจากเดิม ซึ่งท้าทายให้มีการตรวจสอบอย่างระมัดระวัง อันจะน า มาสู่การยอมรับเป็นความรู้ใหม ่3. กิจกรรมการเรียนรู้ 3.1 .ใหนักเรียนศกษาเนื้อหาการคนหาความรู้ทางฟิสิกส์ ้ึ้ระบบหน่วยระหว่างชาติหรือหน่วยเอสไอ ส่งในชั่วโมงแรกททาการเรียนปกติ ี่OnSite) ตอนที่ 2 ระบบหน่วยระหว่างชาติหรือหน่วยเอสไอ ระบบหน่วยระหว่างชาติหรือหน่วยเอสไอ
1. หน่วยฐาน ปริมาณฐาน ชื่อหน่วย(สัญลักษณ์) ความยาว มวล เวลา กระแสไฟฟ้า อุณหภูมิ ปริมาณของสาร ความเข้มของการส่องสว่าง เมตร (m) กิโลกรัม (kg) วินาที (s) แอมแปร์ (A) เคลวิน (k) โมล (mole) แคนเดลา ( cd) 2. หน่วยอนุพัทธ์ ปริมาณ ชื่อหน่วย(สัญลักษณ์) ความถี่ แรง ความเร็ว ความดัน พลังงาน,งาน,ปริมาณความร้อน ก าลัง,ฟลักซ์การแผ่รังสี ปริมาณไฟฟ้า,ประจุไฟฟ้า ศักย์ไฟฟ้า,ความต่างศักย์ไฟฟ้า ความจุ เฮิรตซ์( Hz) = 1s -1นิวตัน (N) = 1 kg.m.s -2เมตรต่อวินาที (m/s) พาสคาน (Pa)=1 m .kg.s -1จูล(J) = 1 m .kg.s = 1 N. m 2-2วัตต์(W) = 1m .kg.s = 1J/s 2-3คูลอมบ์(C) = 1A.s โวลต์(V) = 1 m .kg.s .A = 1W/A 2-3 -1ฟารัด(F)= 1m .kg .s . A = 1 C/V 2.-1 42หน่วยเสริม 1. เรเดียน เป็นหน่วยก าหนดว่าเป็นส่วนโค้งของวงกลมต่อรัศมี 2. สเตอเรเดียน เป็นมุมที่รองรับพื้นที่ ต่อรัศมีของวงกลมยกก าลังสอง
ตอนท 3 ค าอุปสรรค ี่นิยมเขียนน าหน้าหน่วยเอสไอ กรณีที่หน่วยฐานหรือหน่วยอนุพัทธ์มีค่ามากเกินไปหรือน้อยเกินไป ตัวพหุคูณ ค าอุปสรรค ชื่อ สัญลักษณ์ 10 1810 1510 1210 910 610 310 210 110 -110 -210 -310 -610 -910 -1210 -1510 -18เอกซะ ( exa ) เพตะ ( Peta ) เทระ ( tera ) จิกะ ( giga ) เมกะ ( mega ) กิโล ( kilo ) เฮกโต ( hecto ) เดคา ( daca ) เดซิ ( daci ) เซนติ ( centi ) มิลลิ ( milli) ไมโคร ( micro ) นาโน ( nano ) ฟิโก ( pico) เฟมโต ( femto) อัตโต (atto) E P T G M k h da d c m n p f a 3.1 การเปลี่ยนหน่วยจากไม่มีค าอุปสรรคเป็นหน่วยที่มีค าอุปสรรค ให้น าค่าตัวพหุคูณที่มีค่าเทียบกับค าอุปสรรคนั้นมาหารกับปริมาณนั้น ตัวอย่างที่ 1 1 เมตร เท่ากับกี่กิโลเมตร วิธีท า 1 เมตร = = 31011 x 10 กิโลเมตร-3 ตอบ
ตัวอย่างที่ 2 2 เมตร เท่ากับกี่เซนติเมตร วิธีท า 2 เมตร =2102= 2 x 10 เซนติเมตร2 ตอบ ตัวอย่างที่ 3 5 g เท่ากับกี่ g วิธีท า 5 g =6105= 5 x 10 g 6 ตอบ ตัวอย่างที่ 4 8 F เท่ากับกี่ MF วิธีท า 8 F = = 61088 x 10 MF -6 ตอบ 3.2 การเปลี่ยนหน่วยจากมีค าอุปสรรคเป็นหน่วยที่ไม่มีค าอุปสรรค ให้น าค่าตัวพหุคูณที่มีค่าเทียบกับค าอุปสรรคนั้นมาคูณกับปริมาณนั้น ตัวอย่างที่ 5 9 นาโนวัตต์ เท่ากับ กี่วัตต์ วิธีท า 9 นาโนวัตต์ = 9 x 10 วัตต์-9 ตอบ ตัวอย่างที่ 6 5 km เท่ากับ กี่ m วิธีท า 5 km = 5 x 10 m 3 ตอบ ตัวอย่างที่ 7 7 TA เท่ากับ กี่ A วิธีท า 7 TA = 7 x 10 A 12 ตอบ ตัวอย่างที่ 8 1.5 ns เท่ากับ กี่ s วิธีท า 1.5 ns = 5 x 10 s -9 ตอบ
3.3 การเปลี่ยนหน่วยจากมีค าอุปสรรคเป็นหน่วยที่มีค าอุปสรรคอื่น ให้น าค่าตัวพหุคูณที่มีค่าเทียบเท่ากับค าอุปสรรคเดิมมาหารกับตัวพหุคูณที่มีค่าเทียบเท่ากับค าอุปสรรคใหม่ แล้วจึงน ามาคูณกับปริมาณนั้น ตัวอย่างที่ 9 9 กิโลเมตร เท่ากับ กี่ นาโนเมตร วิธีท า 9 กิโลเมตร = 931010 9x= 9 x 10 นาโนเมตร12ตอบ ตัวอย่างที่ 10 1.5 MHz เท่ากับ กี่ kHz วิธีท า 1.5 MHz = 361010 5 . 1x= 1.5 x 10 kHz 3ตอบตัวอย่างที่ 11 5 J เท่ากับ กี่ kJ วิธีท า 5 J = 361010 5x= 5 x 10 kJ -9ตอบตัวอย่างที่ 12 9 ns เท่ากับ กี่ Gs วิธีท า 9 ns = 991010 9x= 9 x 10 Gs -18ตอบ*** นักเรียนให้ไปท่องจ าตัวพหุคูณกับค าอุปสรรคให้ได้ เพราะในการเรียนต่อไปนั้นเมื่อครูกล่าวถึงค าอุปสรรค นักเรียนต้องทราบว่าค าอุปสรรคนั้น แทนด้วยตัวพหุคูณเท่าใด ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนประสบความส าเร็จในการเรียนมากยิ่งขึ้น
แบบฝึกหัด ค าชี้แจง ให้นักเรียนแสดงวิธีเปลี่ยนหน่วย เหมือนเช่นตัวอย่างท าลงในสมุด(ด้านหลังสมุด)แล้วใช้โทรศัพท์ถ่ายภาพอัพโหลดลงใน Google Form
เข้าดูการใช้ความรู้ทางฟิสิกส์ อธิบายการวัดและการบนทึกผลค านวณัClickใบงาน 1.ให้นกเรียนสรุปเนอหาลงในสมุด แล้วใช้กล้องโทรศพท์ของัื้ันกเรียนถ่ายอัพโหลดลงใน Google Form ั2.ท าแบบฝกหัด เรื่อง ึระบบหน่วยระหว่างชาติหรือหน่วยเอสไอ นกเรียนถ่ายอัพโหลดลงใน Google Formั
ห้องส่งงาน 1.ให้นักเรียนสรุปเนื้อหาลงในสมุดเล่ม แล้วใช้กล้องโทรศัพท์ของนักเรียนถ่ายอัพโหลดลงใน Google Form ก าหนดส่งวัน วันพฤหัสบดีที่ 1 กรกฎาคม 2564 แบบส่งงานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 Click++ ตรวจสอบการส่งงานชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 Click แบบส่งงานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2 Click++ ตรวจสอบการส่งงานชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2 Click2.ท าแบบทดสอบวัดความรู้ (ท าการทดสอบไม่จ ากัดจ านวนครั้ง จนกว่าจะพอใจคะแนน) ก าหนดส่งวัน วันพฤหัสบดีที่ 1 กรกฎาคม 2564 แบบทดสอบและตรวจสอบคะแนน เข้าท าแบบทดสอบนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 Click++ ตรวจสอบคะแนนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4/1 ีClick เข้าท าแบบทดสอบนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2 Click++ ตรวจสอบคะแนนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4/2 ีClick
เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง Nampleeksuksa School ClickPhysicsNampleeksuksa ClickVDO Physicslearning Click
Search
Read the Text Version
- 1 - 10
Pages: